รังสีไมโครเวฟพื้นหลังของเอกภพ (อังกฤษ: cosmic microwave background; CMB หรือ CMBR) เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ารูปแบบหนึ่งที่แผ่อยู่ในเอกภพ กล่าวให้เข้าใจง่าย เมื่อเรามองดูท้องฟ้าด้วยกล้องโทรทรรศน์วิทยุ ห้วงอวกาศระหว่างดาวและดาราจักรต่าง ๆ จะไม่เป็นสีดำ แต่กลับมีการเรืองแสงน้อย ๆ อยู่ที่เกือบจะเป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยเส้นเรืองแสงนั้นไม่ได้มาจากดาวฤกษ์หรือดาราจักรใด ๆ เลย เส้นเรืองแสงนี้จะเข้มที่สุดในย่านคลื่นไมโครเวฟของสเปกตรัมวิทยุ มันจึงได้ชื่อว่า รังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาล ส่วนที่เกี่ยวข้องกับรังสีก็เนื่องมาจากทฤษฎีซึ่งเป็นที่แพร่หลายที่อธิบายว่า การแผ่รังสีนี้เป็นสิ่งหลงเหลือจากเอกภพยุคแรกเริ่ม การตรวจวัดการแผ่รังสีพื้นหลังของจักรวาลอย่างแม่นยำมีความสำคัญมากในการศึกษาจักรวาลวิทยา เพราะแบบจำลองของเอกภพใด ๆ ก็ตามจะต้องสามารถอธิบายการแผ่รังสีที่ตรวจพบนี้ได้ด้วย
การค้นพบเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1965 ที่ว่ากันว่าเป็นรังสีที่แผ่ปกคลุมทั้งเอกภพ มีสเปกตรัมคล้ายกับวัตถุดำที่มีอุณหภูมิ 2.725 เคลวิน ในช่วงความถี่ 160.2 กิโลเฮิร์ตซ์ หรือคำนวณเป็นความยาวคลื่น ประมาณ 1.9 มิลลิเมตร นักจักรวาลวิทยาส่วนใหญ่คิดว่าไมโครเวฟพื้นหลังนี้เป็นหลักฐานที่ดีที่สุดสำหรับการสนับสนุนทฤษฎีบิ๊กแบง อันเป็นทฤษฎีการกำเนิดเอกภพที่ได้รับความเชื่อถือมากที่สุดในปัจจุบัน
อ้างอิง
- A.A. Penzias and R.W. Wilson (1965). "A Measurement of Excess Antenna Temperature at 4080 Mc/s". Astrophysical Journal. 142: 419–421. doi:10.1086/148307.
แหล่งข้อมูลอื่น
- จง "ฟัง" เสียงสะท้อนของบิกแบง
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
rngsiimokhrewfphunhlngkhxngexkphph xngkvs cosmic microwave background CMB hrux CMBR epnkhlunaemehlkiffarupaebbhnungthiaephxyuinexkphph klawihekhaicngay emuxeramxngduthxngfadwyklxngothrthrrsnwithyu hwngxwkasrahwangdawaeladarackrtang caimepnsida aetklbmikareruxngaesngnxy xyuthiekuxbcaepnipinthisthangediywkn odyesneruxngaesngnnimidmacakdawvkshruxdarackrid ely esneruxngaesngnicaekhmthisudinyankhlunimokhrewfkhxngsepktrmwithyu mncungidchuxwa rngsiimokhrewfphunhlngkhxngckrwal swnthiekiywkhxngkbrngsikenuxngmacakthvsdisungepnthiaephrhlaythixthibaywa karaephrngsiniepnsinghlngehluxcakexkphphyukhaerkerim kartrwcwdkaraephrngsiphunhlngkhxngckrwalxyangaemnyamikhwamsakhymakinkarsuksackrwalwithya ephraaaebbcalxngkhxngexkphphid ktamcatxngsamarthxthibaykaraephrngsithitrwcphbniiddwy karkhnphbekidkhuninpi kh s 1965 thiwaknwaepnrngsithiaephpkkhlumthngexkphph misepktrmkhlaykbwtthudathimixunhphumi 2 725 ekhlwin inchwngkhwamthi 160 2 kiolehirts hruxkhanwnepnkhwamyawkhlun praman 1 9 milliemtr nkckrwalwithyaswnihykhidwaimokhrewfphunhlngniepnhlkthanthidithisudsahrbkarsnbsnunthvsdibikaebng xnepnthvsdikarkaenidexkphphthiidrbkhwamechuxthuxmakthisudinpccubnxangxingA A Penzias and R W Wilson 1965 A Measurement of Excess Antenna Temperature at 4080 Mc s Astrophysical Journal 142 419 421 doi 10 1086 148307 aehlngkhxmulxuncng fng esiyngsathxnkhxngbikaebngbthkhwamdarasastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk