ระบบพิกัดศูนย์สูตร (อังกฤษ: equatorial coordinate system) เป็นระบบพิกัดทรงกลมท้องฟ้าที่แสดงถึงตำแหน่งของวัตถุทางดาราศาสตร์ ที่ใช้กันอย่างแพร่หลายที่สุด
พิกัดเส้นศูนย์สูตรประกอบด้วยค่าพิกัดสองค่าต่อไปนี้
- ไรต์แอสเซนชัน () หรือ มุมชั่วโมง ()
- เดคลิเนชัน ()
ระบบพิกัดศูนย์สูตรมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับละติจูดและลองจิจูดของพื้นผิวโลกในระบบพิกัดท้องฟ้า เนื่องจากระบบพิกัดศูนย์สูตรมีระนาบอ้างอิงและขั้วเดียวกันกับระบบละติจูดและลองจิจูด เส้นวงกลมใหญ่ที่เทียบเท่ากับเส้นศูนย์สูตรของโลกบนทรงกลมท้องฟ้าเรียกว่า เส้นศูนย์สูตรท้องฟ้า ในทำนองเดียวกัน จุดที่เทียบเท่ากับขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้ของโลกเรียกว่า ขั้วท้องฟ้าเหนือ และ ขั้วท้องฟ้าใต้
มุมในระบบพิกัดศูนย์สูตรที่สอดคล้องกับละติจูดของระบบพิกัดผิวโลกคือ เดคลิเนชัน มีหน่วยเป็นองศาโดยนับ 0 องศาที่เส้นศูนย์สูตรท้องฟ้า ในขณะที่ค่ามุมในแนวรอบแกนหมุน (สอดคล้องกับลองจิจูด) ของระบบพิกัดศูนย์สูตรนั้นมีการใช้อยู่ 2 แบบ อาจใช้ ไรต์แอสเซนชัน หรือใช้ มุมชั่วโมง แล้วแต่ความสะดวก ทั้งสองมีความแตกต่างกันดังต่อไปนี้
- ระบบมุมชั่วโมงจะขึ้นอยู่กับพื้นโลก นั่นคือเมื่อสังเกตจุดหนึ่งบนทรงกลมท้องฟ้าจากผู้สังเกตการณ์ที่ลองจิจูดและละติจูดจุดหนึ่ง ค่าของมุมชั่วโมงจะคงที่เสมอ
- ไรต์แอสเซนชันจะหมุนไปตามการหมุนรอบตัวเองของโลก นั่นคือค่าของไรต์แอสเซนชันนั้นคงที่เมื่อเทียบกับวัตถุบนทรงกลมท้องฟ้า (แม้ว่าที่จริงก็ไม่ได้คงที่อย่างสมบูรณ์ เนื่องจากมีการเคลื่อนถอยของวิษุวัต และ ) ดังนั้น ไรต์แอสเซนชันบนทรงกลมท้องฟ้าจึงดูเหมือนมีการเคลื่อนที่ไปพร้อมกับดาว
ไรต์แอสเซนชันแสดงถึงระยะทางเชิงมุมระหว่างเทห์ฟากฟ้ากับจุดวสันตวิษุวัต โดยทิศตะวันออกมีค่าเป็นบวก
โดยปกติแล้วไรต์แอสเซนชันจะวัดเป็นหน่วยชั่วโมงแทนที่จะเป็นองศา ซึ่งแตกต่างจากลองจิจูดของโลก ที่กำหนดแบบนี้เพราะการเคลื่อนที่ในตอนกลางวันที่ชัดเจนของระบบพิกัดเส้นศูนย์สูตรนั้นสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับเวลาและมุมชั่วโมงของดาวฤกษ์ เนื่องจากทรงกลมท้องฟ้าหมุนครบหนึ่งรอบใน 24 ชั่วโมง ดังนั้น 1 ชั่วโมงไรต์แอสเซนชันจึงมีค่าเท่ากับ (360 องศา / 24 ชั่วโมง) = 15 องศา
เนื่องจากแกนหมุนของโลกเปลี่ยนแปลงไปเรื่อย ๆ เพราะมีการหมุนควงของแกน เมื่อต้องจัดการกับข้อมูลการสังเกตการณ์ที่ห่างกันเป็นระยะเวลาหลายปี จึงจำเป็นต้องระบุต้นยุคอ้างอิงเมื่อระบุตำแหน่งพิกัดของเทห์ฟากฟ้า เช่น ดาวเคราะห์ ดาวฤกษ์ และ ดาราจักร ในปัจจุบันมักใช้ J2000.0 แต่ในการสังเกตการณ์ในยุคเก่ากว่านั้นมักใช้ B1950.0
การนิยามใหม่
แค่เดิมนั้นค่าไรต์แอสเซนชันถูกนิยามโดยจุดวสันตวิษุวัต ดังนั้นการนิยามจุดวสันตวิษุวัตนี้ให้แน่ชัดจึงมีความสำคัญเป็นอย่างมาก แต่จุดนี้ถูกนิยามขึ้นจากความสัมพันธ์ระหว่างเส้นศูนย์สูตรท้องฟ้ากับระนาบสุริยวิถีซึ่งเปลี่ยนแปลงไปเนื่องจากการหมุนควงของโลก
เพื่อแก้ปัญหานี้ สหพันธ์ดาราศาสตร์สากล ได้กำหนดให้ใช้ (ICRS) ซึ่งทำให้สามารถระบุไรต์แอสเซนชันได้โดยไม่ต้องสนระนาบสุริยวิถี ICRS ถูกกำหนดโดยวัตถุท้องฟ้าที่ปล่อยคลื่นวิทยุที่อยู่ห่างไกล (ส่วนใหญ่เป็นเควซาร์) การเปลี่ยนแปลงคำจำกัดความนี้ได้เริ่มใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2009 และลองจิจูดสุริยคติของเทห์ฟากฟ้าต่าง ๆ ตามคำนิยามใหม่นี้ใหม่จะมีค่ามากกว่าแบบเก่าไป 50 มิลลิพิลิปดาเสมอ
อ้างอิง
- "片山他『暦象年表の改訂について』国立天文台報第11巻, 57-67 (2008)" (PDF). 国立天文台. สืบค้นเมื่อ 2020-09-22.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
rabbphikdsunysutr xngkvs equatorial coordinate system epnrabbphikdthrngklmthxngfathiaesdngthungtaaehnngkhxngwtthuthangdarasastr thiichknxyangaephrhlaythisudesnsunysutrthxngfainrabbphikdsunysutr esnsinatal ethiybkbsuriywithi esnsiehluxng phikdesnsunysutrprakxbdwykhaphikdsxngkhatxipni irtaexsesnchn a displaystyle alpha hrux mumchwomng h displaystyle h edkhlienchn d displaystyle delta rabbphikdsunysutrmikhwamsmphnthxyangiklchidkblaticudaelalxngcicudkhxngphunphiwolkinrabbphikdthxngfa enuxngcakrabbphikdsunysutrmiranabxangxingaelakhwediywknkbrabblaticudaelalxngcicud esnwngklmihythiethiybethakbesnsunysutrkhxngolkbnthrngklmthxngfaeriykwa esnsunysutrthxngfa inthanxngediywkn cudthiethiybethakbkhwolkehnuxaelakhwolkitkhxngolkeriykwa khwthxngfaehnux aela khwthxngfait muminrabbphikdsunysutrthisxdkhlxngkblaticudkhxngrabbphikdphiwolkkhux edkhlienchn mihnwyepnxngsaodynb 0 xngsathiesnsunysutrthxngfa inkhnathikhamuminaenwrxbaeknhmun sxdkhlxngkblxngcicud khxngrabbphikdsunysutrnnmikarichxyu 2 aebb xacich irtaexsesnchn hruxich mumchwomng aelwaetkhwamsadwk thngsxngmikhwamaetktangkndngtxipni rabbmumchwomngcakhunxyukbphunolk nnkhuxemuxsngektcudhnungbnthrngklmthxngfacakphusngektkarnthilxngcicudaelalaticudcudhnung khakhxngmumchwomngcakhngthiesmx irtaexsesnchncahmuniptamkarhmunrxbtwexngkhxngolk nnkhuxkhakhxngirtaexsesnchnnnkhngthiemuxethiybkbwtthubnthrngklmthxngfa aemwathicringkimidkhngthixyangsmburn enuxngcakmikarekhluxnthxykhxngwisuwt aela dngnn irtaexsesnchnbnthrngklmthxngfacungduehmuxnmikarekhluxnthiipphrxmkbdaw irtaexsesnchnaesdngthungrayathangechingmumrahwangethhfakfakbcudwsntwisuwt odythistawnxxkmikhaepnbwk odypktiaelwirtaexsesnchncawdepnhnwychwomngaethnthicaepnxngsa sungaetktangcaklxngcicudkhxngolk thikahndaebbniephraakarekhluxnthiintxnklangwnthichdecnkhxngrabbphikdesnsunysutrnnsmphnthxyangiklchidkbewlaaelamumchwomngkhxngdawvks enuxngcakthrngklmthxngfahmunkhrbhnungrxbin 24 chwomng dngnn 1 chwomngirtaexsesnchncungmikhaethakb 360 xngsa 24 chwomng 15 xngsa enuxngcakaeknhmunkhxngolkepliynaeplngiperuxy ephraamikarhmunkhwngkhxngaekn emuxtxngcdkarkbkhxmulkarsngektkarnthihangknepnrayaewlahlaypi cungcaepntxngrabutnyukhxangxingemuxrabutaaehnngphikdkhxngethhfakfa echn dawekhraah dawvks aela darackr inpccubnmkich J2000 0 aetinkarsngektkarninyukhekakwannmkich B1950 0karniyamihmaekhedimnnkhairtaexsesnchnthukniyamodycudwsntwisuwt dngnnkarniyamcudwsntwisuwtniihaenchdcungmikhwamsakhyepnxyangmak aetcudnithukniyamkhuncakkhwamsmphnthrahwangesnsunysutrthxngfakbranabsuriywithisungepliynaeplngipenuxngcakkarhmunkhwngkhxngolk ephuxaekpyhani shphnthdarasastrsakl idkahndihich ICRS sungthaihsamarthrabuirtaexsesnchnidodyimtxngsnranabsuriywithi ICRS thukkahndodywtthuthxngfathiplxykhlunwithyuthixyuhangikl swnihyepnekhwsar karepliynaeplngkhacakdkhwamniiderimichtngaetwnthi 1 mkrakhm 2009 aelalxngcicudsuriykhtikhxngethhfakfatang tamkhaniyamihmniihmcamikhamakkwaaebbekaip 50 milliphilipdaesmxxangxing 片山他 暦象年表の改訂について 国立天文台報第11巻 57 67 2008 PDF 国立天文台 subkhnemux 2020 09 22