รอยโรคที่เซลล์ประสาทสั่งการล่าง (อังกฤษ: lower motor neuron lesion) เป็นรอยโรคที่มีผลต่อใยประสาทที่ส่งไปจากเซลล์ประสาทสั่งการล่างที่ปีกหน้า (anterior horn, anterior grey column) ของไขสันหลัง หรือที่นิวเคลียสประสาทสั่งการ (motor nuclei) ของประสาทสมองไปยังกล้ามเนื้อ อาการหลักอย่างหนึ่งที่ใช้ระบุโรคนี้ก็คือ อัมพาตอ่อนเปียก (flaccid paralysis) เป็นอัมพาตที่เกิดพร้อมกับกล้ามเนื้อที่ปวกเปียก (คือไม่รักษาความตึง) นี้เทียบกับรอยโรคที่เซลล์ประสาทสั่งการบน (upper motor neuron lesion) ซึ่งบ่อยครั้งมีอาการเป็นอัมพาตหดเกร็ง (spastic paralysis) คือ อัมพาตที่เกิดพร้อมกับภาวะกล้ามเนื้อตึงตัวมาก (hypertonia)
รอยโรคที่เซลล์ประสาทสั่งการล่าง (Lower motor neuron lesion) | |
---|---|
เซลล์ประสาทสั่งการล่างมีสีแดง |
อาการ
- อัมพฤกษ์หรืออัมพาตกล้ามเนื้อ
- กล้ามเนื้อระริก (fibrillation)
- กล้ามเนื้อกระตุก (fasciculation) คือกล้ามเนื้อเฉพาะจุดเล็ก ๆ กระตุกแล้วคลายตัวซึ่งอาจมองเห็นได้ผ่านผิวหนัง มีเหตุจากหน่วยรับของกล้ามเนื้อที่เพิ่มขึ้นเพื่อชดเชยการไร้กระแสประสาท
- ภาวะกล้ามเนื้อตึงตัวน้อย (hypotonia) หรือการขาดความตึงตัว (atonia) โดยไม่ได้ขึ้นอยู่กับความเร็วการขยับกล้ามเนื้อ
- รีเฟล็กซ์น้อยเกิน (hyporeflexia) นอกจากรีเฟล็กซ์ที่เริ่มจากปลายประสาทส่วนลึกในร่างกาย (เช่น stretch reflex และ ) ที่มีปัญหาแล้ว รีเฟล็กซ์แม้ที่เริ่มจากปลายประสาทที่ผิวหนังก็อาจลดลงหรือหายไปด้วย
- อ่อนกำลัง โดยจะอ่อนแอตรงเฉพาะระดับไขสันหลังที่มีปัญหา
รีเฟล็กซ์ฝ่าเท้าของกล้ามเนื้อยืดไม่ทำการ กล้ามเนื้ออัมพฤกษ์/อัมพาต ตึงตัวน้อยหรือไม่ตึงตัว และรีเฟล็กซ์น้อยเกินหรือไม่มี ปกติจะเกิดทันทีหลังจากบาดเจ็บ กล้ามเนื้อฝ่อ กล้ามเนื้อกระตุก และกล้ามเนื้อระริก เป็นอาการในระยะสุดท้ายของกล้ามเนื้อซึ่งเสียเส้นประสาทที่ส่งไปเลี้ยง จึงเห็นเป็นระยะนานกว่า ลักษณะอีกอย่างก็คือการจำกัดอาการที่เฉพาะระดับไขสันหลัง คือเฉพาะกล้ามเนื้อที่ได้เส้นประสาทอันเสียหายจะเกิดอาการ
เหตุ
เหตุสามัญที่สุดของความเสียหายที่เซลล์ประสาทสั่งการล่างก็คือประสาทส่วนปลายได้รับบาดเจ็บ หรือติดเชื้อไวรัสที่ทำลายเซลล์ประสาทในปีกหน้าของไขสันหลังโดยเฉพาะ ๆ กล้ามเนื้อจะฝ่อเพราะไม่ได้ใช้การ คือเส้นใยกล้ามเนื้อจะหดแล้วในที่สุดก็จะถูกแทนที่ด้วยเนื้อเยื่อเส้นใย เหตุอื่น ๆ รวมทั้งกลุ่มอาการกิลแลง-บาร์เร, แบคทีเรียที่ก่อโรคโบทูลิซึมคือ Clostridium botulinum, โรคโปลิโอ และ cauda equina syndrome เหตุสามัญอีกอย่างสำหรับการเสื่อมเซลล์ประสาทสั่งการล่างก็คือ อะไมโอโทรฟิก แลเทอรัล สเกลอโรซิส
วินิจฉัยต่าง
- โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงชนิดร้าย เป็นการเสียการสื่อประสาทที่
- อะไมโอโทรฟิก แลเทอรัล สเกลอโรซิส ทำให้เซลล์ประสาทสั่งการตาย แม้จะยังไม่รู้เหตุ แต่ก็เสนอว่า การสะสมโปรตีนอย่างผิดปกติเป็นพิษต่อเซลล์ประสาท
ดูเพิ่ม
เชิงอรรถและอ้างอิง
- Fix, James D (2007-10-01). Neuroanatomy. Lippincott Williams & Wilkins. pp. 120-. ISBN . สืบค้นเมื่อ 2010-11-17.
แหล่งข้อมูลอื่น
การจำแนกโรค | D
|
---|
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
rxyorkhthiesllprasathsngkarlang xngkvs lower motor neuron lesion epnrxyorkhthimiphltxiyprasaththisngipcakesllprasathsngkarlangthipikhna anterior horn anterior grey column khxngikhsnhlng hruxthiniwekhliysprasathsngkar motor nuclei khxngprasathsmxngipyngklamenux xakarhlkxyanghnungthiichrabuorkhnikkhux xmphatxxnepiyk flaccid paralysis epnxmphatthiekidphrxmkbklamenuxthipwkepiyk khuximrksakhwamtung niethiybkbrxyorkhthiesllprasathsngkarbn upper motor neuron lesion sungbxykhrngmixakarepnxmphathdekrng spastic paralysis khux xmphatthiekidphrxmkbphawaklamenuxtungtwmak hypertonia rxyorkhthiesllprasathsngkarlang Lower motor neuron lesion esllprasathsngkarlangmisiaedngxakarxmphvkshruxxmphatklamenux klamenuxrarik fibrillation klamenuxkratuk fasciculation khuxklamenuxechphaacudelk kratukaelwkhlaytwsungxacmxngehnidphanphiwhnng miehtucakhnwyrbkhxngklamenuxthiephimkhunephuxchdechykarirkraaesprasath phawaklamenuxtungtwnxy hypotonia hruxkarkhadkhwamtungtw atonia odyimidkhunxyukbkhwamerwkarkhybklamenux rieflksnxyekin hyporeflexia nxkcakrieflksthierimcakplayprasathswnlukinrangkay echn stretch reflex aela thimipyhaaelw rieflksaemthierimcakplayprasaththiphiwhnngkxacldlnghruxhayipdwy xxnkalng odycaxxnaextrngechphaaradbikhsnhlngthimipyha rieflksfaethakhxngklamenuxyudimthakar klamenuxxmphvks xmphat tungtwnxyhruximtungtw aelarieflksnxyekinhruximmi pkticaekidthnthihlngcakbadecb klamenuxfx klamenuxkratuk aelaklamenuxrarik epnxakarinrayasudthaykhxngklamenuxsungesiyesnprasaththisngipeliyng cungehnepnrayanankwa lksnaxikxyangkkhuxkarcakdxakarthiechphaaradbikhsnhlng khuxechphaaklamenuxthiidesnprasathxnesiyhaycaekidxakarehtuehtusamythisudkhxngkhwamesiyhaythiesllprasathsngkarlangkkhuxprasathswnplayidrbbadecb hruxtidechuxiwrsthithalayesllprasathinpikhnakhxngikhsnhlngodyechphaa klamenuxcafxephraaimidichkar khuxesniyklamenuxcahdaelwinthisudkcathukaethnthidwyenuxeyuxesniy ehtuxun rwmthngklumxakarkilaelng barer aebkhthieriythikxorkhobthulisumkhux Clostridium botulinum orkhopliox aela cauda equina syndrome ehtusamyxikxyangsahrbkaresuxmesllprasathsngkarlangkkhux xaimoxothrfik aelethxrl seklxorsiswinicchytangorkhklamenuxxxnaerngchnidray epnkaresiykarsuxprasaththi xaimoxothrfik aelethxrl seklxorsis thaihesllprasathsngkartay aemcayngimruehtu aetkesnxwa karsasmoprtinxyangphidpktiepnphistxesllprasathduephimesllprasathsngkarlang esllprasathsngkarbn rxyorkhthiesllprasathsngkarbnechingxrrthaelaxangxingFix James D 2007 10 01 Neuroanatomy Lippincott Williams amp Wilkins pp 120 ISBN 978 0 7817 7245 7 subkhnemux 2010 11 17 aehlngkhxmulxunkarcaaenkorkhD 22143http library med utah edu neurologicexam html motor anatomy html 06