ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
บทความเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตนี้ เนื่องจากไม่มีชื่อสามัญเป็นภาษาไทย |
Clostridium botulinum | |
---|---|
Clostridium botulinum ย้อมด้วยเจนเชียนไวโอเลต | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
โดเมน: | Bacteria |
ชั้น: | |
อันดับ: | |
วงศ์: | |
สกุล: | |
สปีชีส์: | C. botulinum |
ชื่อทวินาม | |
Clostridium botulinum van Ermengem, 1896 |
Clostridium botulinum เป็นแบคทีเรียชนิดแกรมบวก รูปร่างเซลล์เป็น หายใจโดยไม่ใช้ออกซิเจน แบคทีเรียนี้เป็นประเภท obligate anaerobe เนื่องจากแก๊สออกซิเจนถือว่าเป็นพิษต่อเซลล์แบคทีเรียชนิดนี้ อย่างไรก็ตาม C. botulinum สามารถทนต่อสภาวะที่มีออกซิเจนได้บ้างเพราะว่ามีการพัฒนาเอนไซม์ superoxide dismutase (SOD) และสืบพันธุ์ด้วยการสร้างสปอร์
ลักษณะทั่วไปของ Botulinum
เป็นแบคทีเรียชนิดแกรมบวก รูปร่างเป็นท่อน สร้างสปอร์ซึ่งทนต่ออุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส ได้นาน 5-10 ชั่วโมง เจริญเติบโตได้ที่อุณหภูมิ 30-37 องศาเซลเซียส ในสภาวะที่ไม่มีอากาศ พบทั่วไปในสิ่งแวดล้อม เช่น ดิน น้ำ น้ำทะเล บ่อปลา อาหารสด เป็นแบคทีเรียที่มีบทบาทสำคัญในอาหารกระป๋องไม่ถูกสุขลักษณะนั้น ก็อาจได้รับอันตรายได้ จากสภาพความเป็นกรดที่ต่ำในอาหารกระป๋อง ซึ่งอาจก่อให้เกิดโรคจาก botulinum ที่สามารถสร้างสารพิษที่มีผลต่อระบบประสาท ระบบหายใจถึงขั้นเสียชีวิตได้
การจัดจำแนก
จากการศึกษาในทางอนุกรมวิธาน สามารถแยกกลุ่ม (phenotype) ของ C. botulinum ได้เป็น 4 กลุ่ม (I–IV) โดยแบ่งตามความสามารถในการสลายโปรตีนโครงสร้างใหญ่ต่างชนิดกัน การศึกษาสารพันธุกรรมก็สนับสนุนข้อสรุปนี้เช่นกัน C. botulinum ที่ก่อโรคในมนุษย์ได้แก่กลุ่มที่ I และ II ส่วนกลุ่มที่ III พบว่าสามารถก่อโรคได้ในสัตว์อื่นๆ หลายประเภท
พบแบคทีเรียนี้ได้ทั่วไปในธรรมชาติ ทั้งในดินและในน้ำทะเล สามารถเจริญได้ดีในสภาพแวดล้อมที่มีความเป็นกรดอ่อนๆ (pH อยู่ในช่วง 4.8 – 7) เชื้อนี้มีความสามารถในการแพร่จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้ง่าย เช่น ผ่านการปนเปื้อนในดินที่เพาะปลูกพืช ในเศษดินที่ติดมากับผัก หรือในลำไส้ของปลา รวมทั้งในสัตว์ปีกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม แต่แบคทีเรียชนิดนี้จะสามารถผลิตสารพิษ botulinum toxin ได้เฉพาะช่วงสร้างสปอร์ ซึ่งจะเกิดในภาวะที่ไม่มีออกซิเจนเท่านั้น นอกจากนี้มีสิ่งมีชีวิตอีกหลายชนิดที่สามารถสร้าง neurotoxin ลักษณะเดียวกันนี้ได้ เช่น สิ่งมีชีวิตที่จัดอยู่ในวงศ์ Clostridium และสิ่งมีชีวิตที่แม้จะมีลักษณะภายนอกที่ต่างกัน ก็สามารถสร้างพิษชนิดนี้ได้เช่นกัน กลุ่มของ C. botulinum และสายพันธุ์ใกล้เคียงที่สร้างสาร ได้มีดังตารางนี้
I | II | III | IV* | C. buritii | C. butyricum | |
---|---|---|---|---|---|---|
ชนิดสารพิษ | A, B, F | B, E, F | C, D | G | F | E |
อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเจริญ (°C) | 35-40 | 18-25 | 40 | 37 | 30-37 | 30-45 |
อุณหภูมิต่ำสุดที่จะเจริญได้ (°C) | 12 | 3.3 | 15 | 10 |
C. argentinense has been proposed for VI group (Hatheway, 1995).
โรคจากโบตูลินัม
เรียกว่า โรคโบทูลิซึม (Botulism|Botulism) ทำให้มองเห็นภาพซ้อน คลื่นไส้ อาเจียน หน้ามืด เป็นอัมพาต หายใจขัด และ เสียชีวิตเนื่องจากระบบหายใจล้มเหลว ผู้ได้รับเชื้ออาการจะเกิดภายใน 12-36 ชั่วโมง หลังการบริโภคอาหาร และอาจ เสียชีวิตภายใน 3-6 วันซึ่งโบทูลิสซึมเป็นโรคที่มีความรุนแรง แต่พบได้ไม่บ่อย เกิดจากทอกซินหรือสารพิษ ทอกซินนี้จะมีผลต่อระบบ ประสาท (neurotoxin) ทำให้เกิดโรคแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ โรคอาหารเป็นพิษโบทูลิสซึม (foodborne botulism) โรคโบทูลิสซึมในลำไส้ (intestinal botulism) และโรคโบทูลิสซึมที่บาดแผล (wound botulism)
กลไกการเกิดพิษของ Botulinum toxin
สารพิษจากโบตูลินัมจะมีผลยับยั้งการทำงานที่ปลายประสาทของเซลล์ประสาทก่อนไซแนปส์ (presynaptic nerve terminal) โดยไปยับยั้งการปล่อยสารสื่อประสาท (Neurotransmitter) หรือไปลดการหลั่งสาร acetylcholine (ซึ่งเป็นสารสื่อประสาท) ที่ปลายประสาท ทำให้ไม่สามารถสร้างกระแสประสาทส่งต่อไปยังเซลล์ต่าง ๆ ทำให้เซลล์ต่าง ๆ ทำงานไม่ได้ ซึ่งกลไกนี่เองที่ทำให้กล้ามเนื้อในร่างกายไม่สามารถทำงานได้ (หมดแรง อ่อนล้า) จะเห็นว่าผู้ป่วยที่ได้รับพิษเข้าไปมาก ๆ จะทำให้กล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้องกับระบบหายใจทำงานติดขัดด้วย ต้องใช้เครื่องช่วยหายใจกับผู้ป่วยเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถหายใจได้
การป้องกันการสร้างพิษของเชื้อคลอสตริเดียม โบทูลินัม
ทำได้โดยการทำลายเซลล์และสปอร์ของเชื้อให้หมด หรือยับยั้งสปอร์ไม่ให้งอกเป็นเซลล์ ทำให้ไม่มีการเพิ่มจำนวนของเซลล์ และไม่มีการสร้างสารพิษปนเปื้อนสู่อาหาร ซึ่งในขบวนการผลิตอาหารกระป๋องสามารถป้องกันการสร้างสารพิษ ได้แก่ การให้ความร้อน การใช้ความเป็นกรด การควบคุมค่าวอเตอร์แอคติวิตี้ (aw) การควบคุมโดยใช้ความเย็น
เนื่องจากเชื้อแบคทีเรียชนิดนี้มักจะพบได้ทั้งในน้ำและในดิน ควรระวังในเรื่องความสะอาด สำหรับอาหารที่มีการพบเชื้อแบคทีเรียชนิดนี้บ่อยครั้ง ก็คือ ในอาหารกระป๋อง ดังนั้นในการรับประทานอาหารกระป๋อง ควรนำอาหารกระป๋องออกจากกระป๋อง ใส่ภาชนะอื่น ๆ และนำมาปรุงเพื่อผ่านความร้อนฆ่าเชื้อก่อนรับประทาน ไม่ควรชิมอาการกระป๋องหลังจากเปิดกระป๋องทันที และควรหลีกเลี่ยงการกินอาหารกระป๋องที่เมื่อเปิดกระป๋องแล้วพบว่ามี หรือมีกลิ่นเหม็นแปลก ๆ
อ้างอิง
- [1]."คลอสตริเดียม โบทูลินัม" เชื้อโรคร้ายในอาหารกระป๋อง
- [2] 2016-03-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.ภัยที่มากับอาหาร
- [3] 2016-03-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.โรคโบทูลิสซึม (Botulism)
- [4].Botulinum Toxin สารพิษจากเชื้อแบคทีเรียใน
- [5]."คลอสตริเดียม โบทูลินัม" เชื้อโรคร้ายในอาหารกระป๋อง
- [6].Botulinum Toxin สารพิษจากเชื้อแบคทีเรียในหน่อไม้ปี๊บ
แหล่งข้อมูลอื่น
- Jeremy Sobel (2005). "Botulism". Clinical Infectious Diseases. 41 (8): 1167–1173. doi:10.1086/444507. PMID 16163636.
- Current research on Clostridium botulinum at the Norwich Research Park 2012-02-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudbthkhwamekiywkbsingmichiwitnimichuxbthkhwamepnchuxwithyasastr enuxngcakimmichuxsamyepnphasaithyClostridium botulinumClostridium botulinum yxmdwyecnechiyniwoxeltkarcaaenkchnthangwithyasastrodemn Bacteriachn xndb wngs skul spichis C botulinumchuxthwinamClostridium botulinum van Ermengem 1896 Clostridium botulinum epnaebkhthieriychnidaekrmbwk ruprangesllepn hayicodyimichxxksiecn aebkhthieriyniepnpraephth obligate anaerobe enuxngcakaeksxxksiecnthuxwaepnphistxesllaebkhthieriychnidni xyangirktam C botulinum samarththntxsphawathimixxksiecnidbangephraawamikarphthnaexnism superoxide dismutase SOD aelasubphnthudwykarsrangspxrlksnathwipkhxng Botulinumepnaebkhthieriychnidaekrmbwk ruprangepnthxn srangspxrsungthntxxunhphumi 100 xngsaeslesiys idnan 5 10 chwomng ecriyetibotidthixunhphumi 30 37 xngsaeslesiys insphawathiimmixakas phbthwipinsingaewdlxm echn din na nathael bxpla xaharsd epnaebkhthieriythimibthbathsakhyinxaharkrapxngimthuksukhlksnann kxacidrbxntrayid caksphaphkhwamepnkrdthitainxaharkrapxng sungxackxihekidorkhcak botulinum thisamarthsrangsarphisthimiphltxrabbprasath rabbhayicthungkhnesiychiwitidkarcdcaaenk source source source source Clostridium botulinum cakkarsuksainthangxnukrmwithan samarthaeykklum phenotype khxng C botulinum idepn 4 klum I IV odyaebngtamkhwamsamarthinkarslayoprtinokhrngsrangihytangchnidkn karsuksasarphnthukrrmksnbsnunkhxsrupniechnkn C botulinum thikxorkhinmnusyidaekklumthi I aela II swnklumthi III phbwasamarthkxorkhidinstwxun hlaypraephth phbaebkhthieriyniidthwipinthrrmchati thngindinaelainnathael samarthecriyiddiinsphaphaewdlxmthimikhwamepnkrdxxn pH xyuinchwng 4 8 7 echuxnimikhwamsamarthinkaraephrcakthihnungipyngxikthihnungidngay echn phankarpnepuxnindinthiephaaplukphuch inessdinthitidmakbphk hruxinlaiskhxngpla rwmthnginstwpikaelastweliynglukdwynm aetaebkhthieriychnidnicasamarthphlitsarphis botulinum toxin idechphaachwngsrangspxr sungcaekidinphawathiimmixxksiecnethann nxkcaknimisingmichiwitxikhlaychnidthisamarthsrang neurotoxin lksnaediywknniid echn singmichiwitthicdxyuinwngs Clostridium aelasingmichiwitthiaemcamilksnaphaynxkthitangkn ksamarthsrangphischnidniidechnkn klumkhxng C botulinum aelasayphnthuiklekhiyngthisrangsar idmidngtarangni I II III IV C buritii C butyricumchnidsarphis A B F B E F C D G F Exunhphumithiehmaasmtxkarecriy C 35 40 18 25 40 37 30 37 30 45xunhphumitasudthicaecriyid C 12 3 3 15 10 C argentinense has been proposed for VI group Hatheway 1995 orkhcakobtulinmeriykwa orkhobthulisum Botulism Botulism thaihmxngehnphaphsxn khlunis xaeciyn hnamud epnxmphat hayickhd aela esiychiwitenuxngcakrabbhayiclmehlw phuidrbechuxxakarcaekidphayin 12 36 chwomng hlngkarbriophkhxahar aelaxac esiychiwitphayin 3 6 wnsungobthulissumepnorkhthimikhwamrunaerng aetphbidimbxy ekidcakthxksinhruxsarphis thxksinnicamiphltxrabb prasath neurotoxin thaihekidorkhaebngxxkepn 3 klum idaek orkhxaharepnphisobthulissum foodborne botulism orkhobthulissuminlais intestinal botulism aelaorkhobthulissumthibadaephl wound botulism klikkarekidphiskhxng Botulinum toxinsarphiscakobtulinmcamiphlybyngkarthanganthiplayprasathkhxngesllprasathkxnisaenps presynaptic nerve terminal odyipybyngkarplxysarsuxprasath Neurotransmitter hruxipldkarhlngsar acetylcholine sungepnsarsuxprasath thiplayprasath thaihimsamarthsrangkraaesprasathsngtxipyngeslltang thaiheslltang thanganimid sungklikniexngthithaihklamenuxinrangkayimsamarththanganid hmdaerng xxnla caehnwaphupwythiidrbphisekhaipmak cathaihklamenuxthiekiywkhxngkbrabbhayicthangantidkhddwy txngichekhruxngchwyhayickbphupwyephuxihphupwysamarthhayicidkarpxngknkarsrangphiskhxngechuxkhlxstriediym obthulinmthaidodykarthalayesllaelaspxrkhxngechuxihhmd hruxybyngspxrimihngxkepnesll thaihimmikarephimcanwnkhxngesll aelaimmikarsrangsarphispnepuxnsuxahar sunginkhbwnkarphlitxaharkrapxngsamarthpxngknkarsrangsarphis idaek karihkhwamrxn karichkhwamepnkrd karkhwbkhumkhawxetxraexkhtiwiti aw karkhwbkhumodyichkhwameyn enuxngcakechuxaebkhthieriychnidnimkcaphbidthnginnaaelaindin khwrrawngineruxngkhwamsaxad sahrbxaharthimikarphbechuxaebkhthieriychnidnibxykhrng kkhux inxaharkrapxng dngnninkarrbprathanxaharkrapxng khwrnaxaharkrapxngxxkcakkrapxng isphachnaxun aelanamaprungephuxphankhwamrxnkhaechuxkxnrbprathan imkhwrchimxakarkrapxnghlngcakepidkrapxngthnthi aelakhwrhlikeliyngkarkinxaharkrapxngthiemuxepidkrapxngaelwphbwami hruxmiklinehmnaeplk xangxing 1 khlxstriediym obthulinm echuxorkhrayinxaharkrapxng 2 2016 03 05 thi ewyaebkaemchchin phythimakbxahar 3 2016 03 05 thi ewyaebkaemchchin orkhobthulissum Botulism 4 Botulinum Toxin sarphiscakechuxaebkhthieriyin 5 khlxstriediym obthulinm echuxorkhrayinxaharkrapxng 6 Botulinum Toxin sarphiscakechuxaebkhthieriyinhnximpibaehlngkhxmulxunJeremy Sobel 2005 Botulism Clinical Infectious Diseases 41 8 1167 1173 doi 10 1086 444507 PMID 16163636 Current research on Clostridium botulinum at the Norwich Research Park 2012 02 20 thi ewyaebkaemchchin