บทความนี้ไม่มีจาก |
ยาโกบึส กอร์เนลียึส กัปไตน์ (ดัตช์: Jacobus Cornelius Kapteyn; 19 มกราคม ค.ศ. 1851 - 18 มิถุนายน ค.ศ. 1922) เป็นนักดาราศาสตร์ชาวดัตช์ มีชื่อเสียงจากการศึกษาดาราจักรทางช้างเผือก โดยเป็นผู้แรกที่ค้นพบหลักฐานการหมุนตัวของดาราจักร
ยาโกบึส กัปไตน์ | |
---|---|
เกิด | 19 มกราคม ค.ศ. 1851 , เนเธอร์แลนด์ |
เสียชีวิต | 18 มิถุนายน ค.ศ. 1922 อัมสเตอร์ดัม, เนเธอร์แลนด์ |
สัญชาติ | ชาวดัตช์ |
อาชีพ | นักดาราศาสตร์ |
มีชื่อเสียงจาก | รางวัลเหรียญทองคำ ราชสมาคมดาราศาสตร์ |
ปี ค.ศ. 1897 เขาค้นพบดาวกัปไตน์ ต่อมาปี ค.ศ. 1904 ระหว่างการศึกษาการเคลื่อนที่ของดาวฤกษ์ กัปไตน์พบว่าการเคลื่อนที่ของดาวไม่ได้เป็นไปอย่างสุ่มดังที่เชื่อกันอยู่ในเวลานั้น เขาพบว่ากลุ่มดาวฤกษ์แบ่งออกเป็นสองสายธารที่เคลื่อนที่ไปในทิศทางตรงข้ามกัน ในเวลาต่อมาจึงได้ทราบกันว่า หลักฐานการศึกษาของกัปไตน์ในคราวนั้นเป็นหลักฐานชิ้นแรกของโลกที่แสดงการหมุนตัวของดาราจักร ซึ่งได้ค้นพบในเวลาต่อมาโดย กับ
เกียรติคุณและอนุสรณ์
รางวัลที่ได้รับ
- Gold Medal of the Royal Astronomical Society (1902)
- James Craig Watson Medal (1913)
- Bruce Medal (1913)
อนุสรณ์
- แอ่งกัปไตน์ (Kapteyn crater) บนดวงจันทร์
- ดาวเคราะห์น้อย
- สถาบันดาราศาสตร์กัปไตน์ ที่มหาวิทยาลัยโครนิงเงิน (Groningen)
- กล้องโทรทรรศน์ยาโกบึส กัปไตน์ (Jacobus Kapteyn Telescope (JKT)) ที่ลัสปัลมัสเดกรันกานาเรีย แคว้นกานาเรียส ประเทศสเปน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir yaokbus kxrenliyus kpitn dtch Jacobus Cornelius Kapteyn 19 mkrakhm kh s 1851 18 mithunayn kh s 1922 epnnkdarasastrchawdtch michuxesiyngcakkarsuksadarackrthangchangephuxk odyepnphuaerkthikhnphbhlkthankarhmuntwkhxngdarackryaokbus kpitnekid19 mkrakhm kh s 1851 enethxraelndesiychiwit18 mithunayn kh s 1922 xmsetxrdm enethxraelndsychatichawdtchxachiphnkdarasastrmichuxesiyngcakrangwlehriyythxngkha rachsmakhmdarasastr pi kh s 1897 ekhakhnphbdawkpitn txmapi kh s 1904 rahwangkarsuksakarekhluxnthikhxngdawvks kpitnphbwakarekhluxnthikhxngdawimidepnipxyangsumdngthiechuxknxyuinewlann ekhaphbwaklumdawvksaebngxxkepnsxngsaytharthiekhluxnthiipinthisthangtrngkhamkn inewlatxmacungidthrabknwa hlkthankarsuksakhxngkpitninkhrawnnepnhlkthanchinaerkkhxngolkthiaesdngkarhmuntwkhxngdarackr sungidkhnphbinewlatxmaody kbekiyrtikhunaelaxnusrnrangwlthiidrb Gold Medal of the Royal Astronomical Society 1902 James Craig Watson Medal 1913 Bruce Medal 1913 xnusrn aexngkpitn Kapteyn crater bndwngcnthr dawekhraahnxy sthabndarasastrkpitn thimhawithyalyokhrningengin Groningen klxngothrthrrsnyaokbus kpitn Jacobus Kapteyn Telescope JKT thilsplmsedkrnkanaeriy aekhwnkanaeriys praethssepnbthkhwamchiwprawtiniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk