ยานอวกาศเซลีนี (อังกฤษ: SELENE; กรีก: Σελήνη หมายถึง ดวงจันทร์) หรือที่รู้จักกันในชื่อ คางุยะ (ญี่ปุ่น: かぐや; โรมาจิ: Kaguya; : ชื่อองค์หญิงคางุยะ ผู้ที่มาจากดวงจันทร์ตามตำนานพื้นบ้านญี่ปุ่น) เป็นยานอวกาศลำที่สองของญี่ปุ่น ที่ส่งขึ้นสู่ดวงจันทร์ ชื่อเซลีนีย่อมาจาก Selenological and Engineering Explorer หรือ ยานสำรวจทางวิศวกรรมและศึกษาดวงจันทร์ ยานถูกปล่อยขึ้นจากฐานปล่อยจรวดใน (種子島宇宙センター, Tanegashima Space Center) จังหวัดคะโงะชิมะ ประเทศญี่ปุ่น เมื่อเวลา 01:31:01 น. วันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2550 (UTC) แล่นเข้าสู่วงโคจรรอบดวงจันทร์สำเร็จเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม ปีเดียวกัน ยานสำรวจลำนี้มีภารกิจสำรวจดวงจันทร์ในเชิงธรณีวิทยา ทั้งการกำเนิด วิวัฒนาการ และสภาพของดวงจันทร์ โดยตัวยานจะแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ยานโคจรหลัก และดาวเทียมอีกสองดวงที่มีชื่อว่า "โอกินะ" และ "โออุนะ" ซึ่งมีน้ำหนักเพียงดวงละ 53 กิโลกรัม ยานเซลีนีปฏิบัติภารกิจเสร็จสิ้นและถูกปรับวงโคจรให้เข้าชนดวงจันทร์ในวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2552 เวลา 18:25 น. (UTC) บริเวณใกล้หลุมอุกกาบาตกิลล์ (Gill) รวมระยะเวลาปฏิบัติภารกิจทั้งสิ้น 1 ปี 8 เดือน การส่งยานอวกาศครั้งนี้ถือได้ว่าเป็นการส่งยานอวกาศของโครงการสำรวจดวงจันทร์ที่ใหญ่ที่สุดรองจากโครงการอะพอลโล
เซลีนี | |
---|---|
COSPAR ID | 2007-039A |
SATCAT no. | 32054 |
จุดมุ่งหมาย
ภารกิจหลักของยานสำรวจดวงจันทร์ลำนี้คือ
- ศึกษาเกี่ยวกับการกำเนิด พัฒนาการทางธรณีวิทยาและสภาพภูมิศาสตร์ของดวงจันทร์
- รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสภาพบนพื้นผิวดวงจันทร์
- ทดลองการส่งคลื่นวิทยุบนวงโคจรของดวงจันทร์
อุปกรณ์
ยานเซลีนีได้ติดตั้งอุปกรณ์วิทยาศาสตร์เพื่อใช้ในการสำรวจทั้งสิ้น 13 ตัว ดังนี้
- กล้องถ่ายภาพภูมิประเทศ (Terrain camera, TC) ความละเอียด 10 เมตรต่อพิกเซล
- เอกซ์เรย์ สเปกโตรมิเตอร์ (X-Ray fluorescence spectrometer, XRS)
- สำหรับดวงจันทร์ (Lunar magnetometer, LMAG)
- Spectral profiler (SP) (ความละเอียด 562 x 400 เมตร ต่อพิกเซล)
- Multi-band imager (MI) (ความละเอียด — 20 เมตรต่อพิกเซลสำหรับคลื่นแสงที่ตามองเห็น — 62 เมตรต่อพิกเซลสำหรับคลื่นใกล้ย่านอินฟราเรด)
- (laser altimeter, LALT)
- Lunar radar sounder (LRS)
- สเปกโตรมิเตอร์ตรวจรังสีแกมมา (Gamma ray spectrometer, GRS)
- สเปกโตรมิเตอร์ตรวจ (Charged particle spectrometer, CPS)
- เครื่องวิเคราะห์พลาสมา (Plasma analyzer, PACE)
- Upper atmosphere and plasma imager (UPI)
- เครื่องทวนสัญญาณคลื่นวิทยุ (Radio wave repeater, RSAT) ติดตั้งบนดาวเทียม "โอกินะ"
- ต้นทางคลื่นวิทยุสำหรับ VLBI (VRAD) ติดตั้งบนดาวเทียม "โอกินะ" และ "โออุนะ"
อ้างอิง
- KAGUYA Lunar Impact, องค์การสำรวจอวกาศญี่ปุ่น (JAXA).
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-10-24. สืบค้นเมื่อ 2007-09-15.
- Kaguya (SELENE), JAXA.
- LISM [TC, MI, SP], JAXA
แหล่งข้อมูลอื่น
- เว็บไซต์อย่างเป็นทางการของโครงการเซลีนี — ญี่ปุ่น, อังกฤษ
- (อังกฤษ) [https://web.archive.org/web/20100806112815/http://solarsystem.nasa.gov/missions/profile.cfm?Sort=Target&Target=Moon&MCode=Kaguya เก็บถาวร 2010-08-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน โครงการคางุยะ], Solar System Exploration, โดยองค์การนาซา
- (อังกฤษ) [https://web.archive.org/web/20130718094036/http://ltvt.wikispaces.com/Kaguya+Impact เก็บถาวร 2013-07-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Kaguya Impact — การชนดวงจันทร์ของยานคางุยะ]
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
yanxwkaseslini xngkvs SELENE krik Selhnh hmaythung dwngcnthr hruxthiruckkninchux khanguya yipun かぐや ormaci Kaguya thbsphth chuxxngkhhyingkhanguya phuthimacakdwngcnthrtamtananphunbanyipun epnyanxwkaslathisxngkhxngyipun thisngkhunsudwngcnthr chuxesliniyxmacak Selenological and Engineering Explorer hrux yansarwcthangwiswkrrmaelasuksadwngcnthr yanthukplxykhuncakthanplxycrwdin 種子島宇宙センター Tanegashima Space Center cnghwdkhaongachima praethsyipun emuxewla 01 31 01 n wnthi 14 knyayn ph s 2550 UTC aelnekhasuwngokhcrrxbdwngcnthrsaercemuxwnthi 3 tulakhm piediywkn yansarwclanimipharkicsarwcdwngcnthrinechingthrniwithya thngkarkaenid wiwthnakar aelasphaphkhxngdwngcnthr odytwyancaaebngxxkepn 3 swn idaek yanokhcrhlk aeladawethiymxiksxngdwngthimichuxwa oxkina aela oxxuna sungminahnkephiyngdwngla 53 kiolkrm yanesliniptibtipharkicesrcsinaelathukprbwngokhcrihekhachndwngcnthrinwnthi 10 mithunayn ph s 2552 ewla 18 25 n UTC briewniklhlumxukkabatkill Gill rwmrayaewlaptibtipharkicthngsin 1 pi 8 eduxn karsngyanxwkaskhrngnithuxidwaepnkarsngyanxwkaskhxngokhrngkarsarwcdwngcnthrthiihythisudrxngcakokhrngkarxaphxlolesliniCOSPAR ID2007 039ASATCAT no 32054 cudmunghmaypharkichlkkhxngyansarwcdwngcnthrlanikhux suksaekiywkbkarkaenid phthnakarthangthrniwithyaaelasphaphphumisastrkhxngdwngcnthr rwbrwmkhxmulekiywkbsphaphbnphunphiwdwngcnthr thdlxngkarsngkhlunwithyubnwngokhcrkhxngdwngcnthrxupkrnyanesliniidtidtngxupkrnwithyasastrephuxichinkarsarwcthngsin 13 tw dngni klxngthayphaphphumipraeths Terrain camera TC khwamlaexiyd 10 emtrtxphikesl exksery sepkotrmietxr X Ray fluorescence spectrometer XRS sahrbdwngcnthr Lunar magnetometer LMAG Spectral profiler SP khwamlaexiyd 562 x 400 emtr txphikesl Multi band imager MI khwamlaexiyd 20 emtrtxphikeslsahrbkhlunaesngthitamxngehn 62 emtrtxphikeslsahrbkhluniklyanxinfraerd laser altimeter LALT Lunar radar sounder LRS sepkotrmietxrtrwcrngsiaekmma Gamma ray spectrometer GRS sepkotrmietxrtrwc Charged particle spectrometer CPS ekhruxngwiekhraahphlasma Plasma analyzer PACE Upper atmosphere and plasma imager UPI ekhruxngthwnsyyankhlunwithyu Radio wave repeater RSAT tidtngbndawethiym oxkina tnthangkhlunwithyusahrb VLBI VRAD tidtngbndawethiym oxkina aela oxxuna xangxingKAGUYA Lunar Impact xngkhkarsarwcxwkasyipun JAXA khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2013 10 24 subkhnemux 2007 09 15 Kaguya SELENE JAXA LISM TC MI SP JAXAaehlngkhxmulxunewbistxyangepnthangkarkhxngokhrngkareslini yipun xngkvs xngkvs https web archive org web 20100806112815 http solarsystem nasa gov missions profile cfm Sort Target amp Target Moon amp MCode Kaguya ekbthawr 2010 08 06 thi ewyaebkaemchchin okhrngkarkhanguya Solar System Exploration odyxngkhkarnasa xngkvs https web archive org web 20130718094036 http ltvt wikispaces com Kaguya Impact ekbthawr 2013 07 18 thi ewyaebkaemchchin Kaguya Impact karchndwngcnthrkhxngyankhanguya 0