วอยเอจเจอร์ 2 (อังกฤษ: Voyager 2) คือยานสำรวจอวกาศแบบไม่มีคนบังคับที่เดินทางระหว่างดาวเคราะห์ ขึ้นสู่อวกาศเมื่อ 20 สิงหาคม ค.ศ. 1977 เป็นยานสำรวจอวกาศในโครงการวอยเอจเจอร์ ซึ่งมียานพี่อีกลำหนึ่งคือยานวอยเอจเจอร์ 1
วอยเอจเจอร์ 2 | |
---|---|
โมเดลของยาน "วอยเอจเจอร์ | |
ประเภทภารกิจ | สำรวจดาวเคราะห์ |
ผู้ดำเนินการ | NASA / JPL |
COSPAR ID | 1977-076A |
SATCAT no. | 10271 |
เว็บไซต์ | voyager |
ระยะภารกิจ | 46 ปี 10 เดือน 24 วัน ผ่านไป ภารกิจดาวเคราะห์: 12 ปี, 1 เดือน, 12 วัน ภารกิจระหว่างดวงดาว: 34 ปี 9 เดือน 12 วัน ผ่านไป (ดำเนินต่อ) |
ข้อมูลยานอวกาศ | |
ผู้ผลิต | Jet Propulsion Laboratory |
มวลขณะส่งยาน | 825.5 กิโลกรัม (1,820 ปอนด์) |
กำลังไฟฟ้า | 470 วัตต์ (ตอนปล่อยยาน) |
เริ่มต้นภารกิจ | |
วันที่ส่งขึ้น | August 20, 1977, 14:29:00 | UTC
จรวดนำส่ง | |
ฐานส่ง | Cape Canaveral |
บินผ่านดาวพฤหัส | |
เข้าใกล้สุด | 9 กรกฎาคม ค.ศ.1979, 22:29:00 UTC |
ระยะทาง | 570,000 กิโลเมตร (350,000 ไมล์)(*) |
บินผ่านดาวเสาร์ | |
เข้าใกล้สุด | 26 สิงหาคม ค.ศ.1981, 03:24:05 UTC |
ระยะทาง | 101,000 km (63,000 mi) |
บินผ่านดาวยูเรนัส | |
เข้าใกล้สุด | 24 มกราคม ค.ศ.1986, 17:59:47 UTC |
ระยะทาง | 81,500 km (50,600 mi) |
บินผ่านดาวเนปจูน | |
เข้าใกล้สุด | 25 สิงหาคม ค.ศ.1989, 03:56:36 UTC |
ระยะทาง | 4,951 km (3,076 mi) |
ยานวอยเอจเจอร์ 2 ถูกส่งขึ้นไปให้โคจรเป็นเส้นโค้งตามระนาบสุริยวิถี โดยเตรียมการให้สามารถเดินทางเข้าใกล้ดาวยูเรนัสและดาวเนปจูน ด้วยการอาศัยแรงเหวี่ยงจากแรงโน้มถ่วงของดาวเสาร์ซึ่งมันจะต้องเดินทางผ่านในปี ค.ศ. 1981 จากเส้นทางโค้งนี้ทำให้วอยเอจเจอร์ 2 ไม่สามารถมองเห็นดวงจันทร์ไททันในระยะใกล้ได้เหมือนกับยานวอยเอจเจอร์ 1 แต่มันก็ได้เป็นยานเพียงลำเดียวที่ได้เดินทางไปใกล้ดาวยูเรนัสกับดาวเนปจูน ซึ่งเป็นการบรรลุภารกิจของ (Planetary Grand Tour) เส้นการเดินทางนี้สามารถทำได้เพียงครั้งเดียวในรอบ 176 ปี
จากสถิติ วอยเอจเจอร์ 2 อาจเป็นยานสำรวจอวกาศที่มีประสิทธิผลมากที่สุด ด้วยผลงานคือการไปเยือนดาวเคราะห์ 4 ดวงพร้อมกับดวงจันทร์ของมัน โดยเฉพาะดาวเคราะห์ 2 ใน 4 ดวงนั้นเป็นดาวเคราะห์ที่ยังไม่เคยมีการสำรวจมาก่อน บนยานติดตั้งกล้องถ่ายภาพและเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ขั้นสูง โดยใช้งบประมาณเพียงเสี้ยวเดียวของเงินงบประมาณที่ทุ่มให้กับยานสำรวจอวกาศในชั้นหลัง เช่น ยานกาลิเลโอ ยานกัสซีนี–เฮยเคินส์
ตำแหน่งปัจจุบัน
หลังจากสิ้นสุดภารกิจการสำรวจดาวเคราะห์ชั้นนอกของระบบสุริยะ ยานวอยเอจเจอร์ 2 ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติภารกิจระหว่างดาวฤกษ์ เพื่อค้นหาว่าระบบสุริยะมีหน้าตาเป็นอย่างไรเมื่อมองจากภายนอกเฮลิโอสเฟียร์ เดือนตุลาคม ค.ศ. 2007 วอยเอจเจอร์ 2 ได้เดินทางออกไปยังเฮลิโอชีท ซึ่งเป็นด่านสุดท้ายของเฮลิโอสเฟียร์ก่อนจะออกไปสู่ห้วงอวกาศระหว่างดาว ยานวอยเอจเจอร์ทั้ง 2 ลำได้นำแผ่นดิสค์ทองคำบันทึกภาพและเสียงติดไปบนยานด้วย เผื่อในกรณีที่ว่าลำใดลำหนึ่งอาจได้พบกับสิ่งมีชีวิตอื่นที่มีสติปัญญาในจักรวาล แผ่นดิสค์นี้มีภาพของโลก สิ่งมีชีวิตบนโลก ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ และเสียงบันทึกแบบเมดเล่ย์ของ "เสียงแห่งโลก" เช่นเสียงของวาฬ เสียงเด็กทารก เสียงคลื่นกระทบฝั่ง และบทเพลงอีกจำนวนมาก
26 กันยายน ค.ศ. 2008 วอยเอเจอร์ 2 อยู่ในเขตแดนไกลโพ้นของแถบหินกระจาย ที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ราว 87.03 AU (13,019 ล้านกิโลเมตร) และเคลื่อนที่ห่างออกไปด้วยความเร็วประมาณ 3.28 AU ต่อปี ซึ่งอยู่ไกลกว่าระยะห่างระหว่างดาวพลูโตกับดวงอาทิตย์มากกว่า 2 เท่า ไกลยิ่งกว่าจุดไกลดวงอาทิตย์ที่สุดของเซดนา
ข้อมูล ณ วันที่ 17 มกราคม ค.ศ. 2009 วอยเอจเจอร์ 2 อยู่ที่เดคลิเนชัน -53.84° และไรต์แอสเซนชัน 19.783 ชม. ในบริเวณกลุ่มดาวกล้องโทรทรรศน์เมื่อมองจากโลก ยานวอยเอจเจอร์ 2 ไม่ได้ตั้งเป้าหมายมุ่งไปยังดาวฤกษ์ดวงใดเป็นการเฉพาะ แต่มันจะเดินทางผ่านดาวซิริอุสที่ระยะห่างประมาณ 1.32 พาร์เซกในอีก 296,000 ปี ยานจะยังคงส่งสัญญาณกลับมายังโลกอย่างน้อยจนถึงปี ค.ศ. 2025 ซึ่งจะเป็นเวลากว่า 48 ปีหลังจากขึ้นสู่อวกาศ
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- . NASA. 1989. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-02-20. สืบค้นเมื่อ January 2, 2011.
- "Voyager 2". US National Space Science Data Center. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 20, 2009. สืบค้นเมื่อ August 25, 2013.
- "VOYAGER 2". N2YO. สืบค้นเมื่อ August 25, 2013.
- Planetary Voyage NASA Jet Propulsion Laboratory - California Institute of Technology. 23 มีนาคม 2004. เก็บข้อมูลเมื่อ 8 เมษายน 2007.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-09-22. สืบค้นเมื่อ 2009-02-08.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-09-17. สืบค้นเมื่อ 2009-02-08.
- Voyager Mission Operations Status Report # 2008-05-09, Week Ending May 9, 2008. เก็บข้อมูลเมื่อ 20 June 2008.
- "Voyager - Mission - Interstellar Mission". NASA. 2007-06-22. สืบค้นเมื่อ 2008-11-27.
- "Voyager – Spacecraft – Spacecraft Lifetime". NASA Jet Propulsion Laboratory. 2008-03-15. สืบค้นเมื่อ 2008-05-25.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
wxyexcecxr 2 xngkvs Voyager 2 khuxyansarwcxwkasaebbimmikhnbngkhbthiedinthangrahwangdawekhraah khunsuxwkasemux 20 singhakhm kh s 1977 epnyansarwcxwkasinokhrngkarwxyexcecxr sungmiyanphixiklahnungkhuxyanwxyexcecxr 1wxyexcecxr 2omedlkhxngyan wxyexcecxrpraephthpharkicsarwcdawekhraahphudaeninkarNASA JPLCOSPAR ID1977 076ASATCAT no 10271ewbistvoyager wbr jpl wbr nasa wbr govrayapharkic46 pi 10 eduxn 24 wn phanip pharkicdawekhraah 12 pi 1 eduxn 12 wn pharkicrahwangdwngdaw 34 pi 9 eduxn 12 wn phanip daenintx khxmulyanxwkasphuphlitJet Propulsion Laboratorymwlkhnasngyan825 5 kiolkrm 1 820 pxnd kalngiffa470 wtt txnplxyyan erimtnpharkicwnthisngkhunAugust 20 1977 14 29 00 1977 08 20UTC14 29Z UTCcrwdnasngthansngCape Canaveralbinphandawphvhsekhaiklsud9 krkdakhm kh s 1979 22 29 00 UTCrayathang570 000 kiolemtr 350 000 iml binphandawesarekhaiklsud26 singhakhm kh s 1981 03 24 05 UTCrayathang101 000 km 63 000 mi binphandawyuernsekhaiklsud24 mkrakhm kh s 1986 17 59 47 UTCrayathang81 500 km 50 600 mi binphandawenpcunekhaiklsud25 singhakhm kh s 1989 03 56 36 UTCrayathang4 951 km 3 076 mi wxyexcecxr 1 yanwxyexcecxr 2 thuksngkhunipihokhcrepnesnokhngtamranabsuriywithi odyetriymkarihsamarthedinthangekhaikldawyuernsaeladawenpcun dwykarxasyaerngehwiyngcakaerngonmthwngkhxngdawesarsungmncatxngedinthangphaninpi kh s 1981 cakesnthangokhngnithaihwxyexcecxr 2 imsamarthmxngehndwngcnthriththninrayaiklidehmuxnkbyanwxyexcecxr 1 aetmnkidepnyanephiynglaediywthiidedinthangipikldawyuernskbdawenpcun sungepnkarbrrlupharkickhxng Planetary Grand Tour esnkaredinthangnisamarththaidephiyngkhrngediywinrxb 176 pi caksthiti wxyexcecxr 2 xacepnyansarwcxwkasthimiprasiththiphlmakthisud dwyphlngankhuxkaripeyuxndawekhraah 4 dwngphrxmkbdwngcnthrkhxngmn odyechphaadawekhraah 2 in 4 dwngnnepndawekhraahthiyngimekhymikarsarwcmakxn bnyantidtngklxngthayphaphaelaekhruxngmuxthangwithyasastrkhnsung odyichngbpramanephiyngesiywediywkhxngenginngbpramanthithumihkbyansarwcxwkasinchnhlng echn yankalielox yankssini ehyekhinstaaehnngpccubnhlngcaksinsudpharkickarsarwcdawekhraahchnnxkkhxngrabbsuriya yanwxyexcecxr 2 idrbmxbhmayihptibtipharkicrahwangdawvks ephuxkhnhawarabbsuriyamihnataepnxyangiremuxmxngcakphaynxkehlioxsefiyr eduxntulakhm kh s 2007 wxyexcecxr 2 idedinthangxxkipyngehlioxchith sungepndansudthaykhxngehlioxsefiyrkxncaxxkipsuhwngxwkasrahwangdaw yanwxyexcecxrthng 2 laidnaaephndiskhthxngkhabnthukphaphaelaesiyngtidipbnyandwy ephuxinkrnithiwalaidlahnungxacidphbkbsingmichiwitxunthimistipyyainckrwal aephndiskhnimiphaphkhxngolk singmichiwitbnolk khxmulthangwithyasastr aelaesiyngbnthukaebbemdelykhxng esiyngaehngolk echnesiyngkhxngwal esiyngedkthark esiyngkhlunkrathbfng aelabthephlngxikcanwnmak 26 knyayn kh s 2008 wxyexecxr 2 xyuinekhtaedniklophnkhxngaethbhinkracay thirayahangcakdwngxathityraw 87 03 AU 13 019 lankiolemtr aelaekhluxnthihangxxkipdwykhwamerwpraman 3 28 AU txpi sungxyuiklkwarayahangrahwangdawphluotkbdwngxathitymakkwa 2 etha iklyingkwacudikldwngxathitythisudkhxngesdna khxmul n wnthi 17 mkrakhm kh s 2009 wxyexcecxr 2 xyuthiedkhlienchn 53 84 aelairtaexsesnchn 19 783 chm inbriewnklumdawklxngothrthrrsnemuxmxngcakolk yanwxyexcecxr 2 imidtngepahmaymungipyngdawvksdwngidepnkarechphaa aetmncaedinthangphandawsirixusthirayahangpraman 1 32 phareskinxik 296 000 pi yancayngkhngsngsyyanklbmayngolkxyangnxycnthungpi kh s 2025 sungcaepnewlakwa 48 pihlngcakkhunsuxwkasduephimokhrngkarwxyexcecxr wxyexcecxr 1xangxing NASA 1989 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2017 02 20 subkhnemux January 2 2011 Voyager 2 US National Space Science Data Center khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux March 20 2009 subkhnemux August 25 2013 VOYAGER 2 N2YO subkhnemux August 25 2013 Planetary Voyage NASA Jet Propulsion Laboratory California Institute of Technology 23 minakhm 2004 ekbkhxmulemux 8 emsayn 2007 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2010 09 22 subkhnemux 2009 02 08 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2010 09 17 subkhnemux 2009 02 08 Voyager Mission Operations Status Report 2008 05 09 Week Ending May 9 2008 ekbkhxmulemux 20 June 2008 Voyager Mission Interstellar Mission NASA 2007 06 22 subkhnemux 2008 11 27 Voyager Spacecraft Spacecraft Lifetime NASA Jet Propulsion Laboratory 2008 03 15 subkhnemux 2008 05 25