บทความนี้ยังต้องการเพิ่มเพื่อ |
ยานลูนาร์ออร์บิเตอร์ 1 เป็นยานอวกาศลำที่หนึ่งจากห้าลำในโครงการที่ถูกส่งขึ้นไปโคจรรอบดวงจันทร์โดยองค์การนาซา สหรัฐอเมริกา เพื่อภารกิจในการทำแผนผังพื้นผิวดวงจันทร์ ก่อนที่ยานอพอลโลจะทำการร่อนลง
ลูนาร์ออร์บิเตอร์ 1 | |
---|---|
ประเภทภารกิจ | Lunar |
ผู้ดำเนินการ | NASA |
COSPAR ID | 1966-073A |
SATCAT no. | 2394 |
ระยะภารกิจ | ข้อผิดพลาดนิพจน์: มีตัวดำเนินการ < ซึ่งไม่ควรมี |
ข้อมูลยานอวกาศ | |
ผู้ผลิต | The Boeing Co. |
มวลขณะส่งยาน | 385.6 kg (850 lb) |
เริ่มต้นภารกิจ | |
วันที่ส่งขึ้น | August 10, 1966, 19:31 | UTC
จรวดนำส่ง | |
ฐานส่ง | Cape Canaveral |
สิ้นสุดภารกิจ | |
การกำจัด | หลุดจากวงโคจร |
เข้าสู่ชั้นบรรยากาศ | "ประมาณ 13:29 GMT" |
ลักษณะวงโคจร | |
ระบบอ้างอิง | |
กึ่งแกนเอก | 2,694 km (1,674 mi) |
ความเยื้อง | 0.33 |
ระยะใกล้สุด | 189.1 ถึง 40.5 km (117.5 ถึง 25.2 mi) |
ระยะไกลสุด | 1,866.8 km (1,160.0 mi) |
ความเอียง | 12 องศา |
คาบการโคจร | 208.1 นาที |
ยานอวกาศโคจรรอบ ดวงจันทร์ | |
แทรกวงโคจร | 14 สิงหาคม ค.ศ.1966 |
ตำแหน่งปะทะ | |
วงโคจร | 577 |
ภารกิจทั้งห้าครั้งประสบความสำเร็จเป็นอย่างดี โดนพื้นผิวของดวงจันทร์กว่า 90 เปอร์เซ็นต์ถูกถ่ายภาพไว้โดยความละเอียดระดับ 60 เมตร หรือละเอียดกว่านั้น ภารกิจแรกของยานลูนาร์ออร์บิเตอร์ 1 ก็คือการสำรวจพื้นที่ 20 แห่งที่ยานอพอลโลจะสามารถร่อนลงได้
ยานลูนาร์ออร์บิเตอร์ 1 มีอุปกรณ์สำหรับถ่ายภาพแบบความสามารถสูงซึ่งประกอบไปด้วยกล้องแบบเลนส์คู่ โดนเป็นเลนส์มุมแคบขนาด 610 มิลลิเมตร และ เลนส์มุมกว้างขนาด 80 มิลลิเมตร หน่วยประมวลผลฟิล์ม สแกนเนอร์ และอุปกรณ์เฉพาะสำหรับจัดการเกี่ยวกับฟิล์ม ฟิล์มที่ใช้เป็นขนาด 70 มิลลิเมตร
อ้างอิง
- Lunar Orbiter I: Extended Mission Spacecraft Subsystem Performance (PDF) (Report). NASA. The Boeing Company. September 1967. p. 37. NASA CR-870.
- https://www.drewexmachina.com/2016/08/14/lunar-orbiter-1-americas-first-lunar-satellite/
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxngkhunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxk haaehlngkhxmul lunarxxrbietxr 1 khaw hnngsuxphimph hnngsux skxlar JSTOR eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir yanlunarxxrbietxr 1 epnyanxwkaslathihnungcakhalainokhrngkarthithuksngkhunipokhcrrxbdwngcnthrodyxngkhkarnasa shrthxemrika ephuxpharkicinkarthaaephnphngphunphiwdwngcnthr kxnthiyanxphxlolcathakarrxnlnglunarxxrbietxr 1praephthpharkicLunarphudaeninkarNASACOSPAR ID1966 073ASATCAT no 2394rayapharkickhxphidphladniphcn mitwdaeninkar lt sungimkhwrmikhxmulyanxwkasphuphlitThe Boeing Co mwlkhnasngyan385 6 kg 850 lb erimtnpharkicwnthisngkhunAugust 10 1966 19 31 1966 08 10UTC19 31 UTCcrwdnasngthansngCape Canaveralsinsudpharkickarkacdhludcakwngokhcrekhasuchnbrryakas praman 13 29 GMT lksnawngokhcrrabbxangxingkungaeknexk2 694 km 1 674 mi khwameyuxng0 33rayaiklsud189 1 thung 40 5 km 117 5 thung 25 2 mi rayaiklsud1 866 8 km 1 160 0 mi khwamexiyng12 xngsakhabkarokhcr208 1 nathiyanxwkasokhcrrxb dwngcnthraethrkwngokhcr14 singhakhm kh s 1966taaehnngpathawngokhcr577 immi pharkicthnghakhrngprasbkhwamsaercepnxyangdi odnphunphiwkhxngdwngcnthrkwa 90 epxresntthukthayphaphiwodykhwamlaexiydradb 60 emtr hruxlaexiydkwann pharkicaerkkhxngyanlunarxxrbietxr 1 kkhuxkarsarwcphunthi 20 aehngthiyanxphxlolcasamarthrxnlngid yanlunarxxrbietxr 1 mixupkrnsahrbthayphaphaebbkhwamsamarthsungsungprakxbipdwyklxngaebbelnskhu odnepnelnsmumaekhbkhnad 610 milliemtr aela elnsmumkwangkhnad 80 milliemtr hnwypramwlphlfilm saeknenxr aelaxupkrnechphaasahrbcdkarekiywkbfilm filmthiichepnkhnad 70 milliemtrxangxingLunar Orbiter I Extended Mission Spacecraft Subsystem Performance PDF Report NASA The Boeing Company September 1967 p 37 NASA CR 870 https www drewexmachina com 2016 08 14 lunar orbiter 1 americas first lunar satellite bthkhwamkarbinxwkasniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmul duephimthi sthaniyxy karbinxwkasdkhk