พลเอกพิเศษ มอริส กาเมอแล็ง (ฝรั่งเศส: Maurice Gamelin) เป็นนายทหารบกฝรั่งเศสดำรงตำแหน่งเป็นผู้บัญชาการสูงสุดกองทัพฝรั่งเศสในช่วงต้นสงครามโลกครั้งที่สอง กาเมอแล็งได้รับการยอมรับเป็นผู้บัญชาการมือดีและมีความสามารถ เคยโต้กลับพวกเยอรมันจนได้รับชัยชนะในยุทธการที่แม่น้ำมาร์นในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เขาก้าวขึ้นเป็นเสนาธิการกองทัพฝรั่งเศสใน ค.ศ. 1931 รับผิดชอบกำกับการปรับปรุงกองทัพฝรั่งเศสให้ทันสมัย รวมถึงการสร้างแนวป้องกันเส้นมาฌีโน ชื่อเสียงทั้งหมดก็ต้องพังทลายลงในยุทธการที่ฝรั่งเศส (10 พฤษภาคม – 22 มิถุนายน ค.ศ. 1940) ในสงครามโลกครั้งที่สอง
มอริส กาเมอแล็ง | |
---|---|
เกิด | 20 กันยายน ค.ศ. 1872 ปารีส ฝรั่งเศส |
เสียชีวิต | 18 เมษายน ค.ศ. 1958 ปารีส ฝรั่งเศส | (85 ปี)
รับใช้ | สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 |
แผนก/ | กองทัพฝรั่งเศส |
ประจำการ | 1893–1940 |
ชั้นยศ | พลเอกพิเศษ (Général d'armée) |
การยุทธ์ | |
บำเหน็จ | เลฌียงดอเนอร์ชั้นมหากางเขน |
ประวัติ
เขาเกิดเมื่อ ค.ศ. 1872 ที่กรุงปารีส บิดาเป็นนายทหารซึ่งเคยรบในสงครามเอกราชอิตาลี เขาเติบโตมาด้วยความคิดจะแก้แค้นเยอรมนีที่ช่วงชิงอาลซัส-ลอแรนไปในสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย กาเมอแล็งเข้าศึกษาโรงเรียนทหารในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1891 และจบการศึกษาเป็นที่หนึ่งของรุ่นใน ค.ศ. 1893 เขาได้รับหน้าที่แรกในกรมทหารฝรั่งเศสประจำตูนิเซีย และกลับมายังปารีสใน ค.ศ. 1897 เขารับการศึกษาต่อที่วิทยาลัยการทหารชั้นสูง (École Supérieure de Guerre) อันเลื่องชื่อและจบเป็นอันดับสองของรุ่น และกลายเป็นหนึ่งในสิบแปดทหารหนุ่มดาวรุ่งของกองทัพฝรั่งเศส
สงครามโลกครั้งที่สอง
เมื่อสงครามโลกครั้งที่สองปะทุขึ้น กาเมอแล็งก็รับตำแหน่งผู้บัญชาการกองทัพฝรั่งเศสคนแรกในเดือนกันยายน ค.ศ. 1939 และบัญชาให้กองพลฝรั่งเศสข้ามชายแดนเข้าไปในเยอรมนีเพื่อบุกซาร์ลันท์ พวกเขารุกเข้าไปได้เพียง 8 กิโลเมตรและหยุดก่อนถึงแนวซีคฟรีทของเยอรมนีที่ยังสร้างไม่เสร็จ กาแมแล็งสั่งถอนทัพกลับมาหลังเส้นมาฌีโน แต่กลับบอกชาติพันธมิตรอย่างโปแลนด์ไปว่าฝรั่งเศสทำลายแนวซีคฟรีทแล้ว ยุทธศาสตร์ของกาเมอแล็งคือรอจนกระทั่งกองทัพฝรั่งเศสและอังกฤษมีความพรั่งพร้อมด้านยุทธภัณฑ์อย่างเต็มที่เสียก่อน ซึ่งนักวิชาการเคยประเมินไว้ว่ายุทธศาสตร์ดังกล่าวต้องรอจนถึง ค.ศ. 1941 ทีเดียว นายพลเว็สท์พาลของกองทัพเยอรมันเคยวิเคราะห์ไว้ว่า ฝรั่งเศสตัดสินใจบุกเข้ามาในตอนนั้นเยอรมนีคงต้านทานได้ไม่เกินสองสัปดาห์ เนื่องจากกำลังพลเยอรมันส่วนใหญ่กำลังติดพันอยู่กับการบุกครองโปแลนด์ทางด้านตะวันออก
กาเมอแล็งปฏิเสธการส่งเครื่องบินไปทิ้งระเบิดพื้นที่อุตสาหกรรมในภูมิภาครัวร์ของเยอรมนี เพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้เยอรมนีหันมาตอบโต้ในช่วงที่เขากำลังเร่งเสริมสร้างแสนยานุภาพฝรั่งเศส นอกจากนี้ กาเมอแล็งและนายทหารระดับสูงในกองบัญชาการฝรั่งเศสหลายคนยังติดอยู่กับความเชื่อเก่าที่ว่าอาร์แดนไม่มีวันแตก เขาเลือกที่จะป้องกันอาร์แดนด้วยป้อมปราการไม่กี่แห่งและทหารกองหนุนเพียงสิบกองพล เขาวางกำลังส่วนใหญ่ไว้ทางตะวันตกเฉียงเหนือที่ติดกับชายแดนเบลเยียม นายพลฮัสโซ ฟ็อน มันท็อยเฟิล ผู้บัญชาการยานเกราะเยอรมันเคยระบุว่า ฝรั่งเศสมียานเกราะที่ดีกว่าและมากกว่าเยอรมนีเสียอีกในตอนนั้น แต่กลับเลือกแตกกำลังยานเกราะไปทั่ว
ในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง นักยุทธศาสตร์ทหารฝรั่งเศสต่างคาดการณ์กันตั้งแต่ ค.ศ. 1914 แล้วถึงแผนการที่เยอรมนีจะบุกเข้าเบลเยียม และพวกเขาก็ได้ร่างแผนรับมือสำหรับการนี้ไว้แล้ว แผนนี้ถูกตั้งชื่อว่า "แผนดี" (Dyle Plan) โดยให้กองทัพฝรั่งเศสบุกอย่างดุดันเข้าไปปะทะกับกองทหารเยอรมันในเบลเยียมและเนเธอร์แลนด์ แต่ในศึกครั้งนี้ แม้ว่ากาเมอแล็งจะรู้ล่วงหน้าว่าเยอรมนีกำลังเสริมสร้างแสนยานุภาพ ถึงขนาดที่ล่วงรู้กำหนดวันเข้าโจมตีของเยอรมนี แต่กาเมอแล็งกลับเลือกจะนิ่งเฉยจนถึงเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1940 โดยเอาแต่บอกว่าเขากำลัง "รอดูสถานการณ์" และเมื่อเยอรมนีเข้าโจมตีเบลเยียมตามที่คาดไว้ กาเมอแล็งกลับปฏิเสธที่จะส่ง 40 กองพลที่ดีที่สุดเข้าปฏิบัติการตามแผนดีล
วันแรก ๆ ของยุทธการที่เบลเยียม เครื่องบินรบสัมพันธมิตรถูกกองทัพอากาศเยอรมันทำลายเกือบหมด กองทหารฝรั่งเศสและอังกฤษกลัวว่าจะถูกโอบล้อมจากสองด้าน จึงถอนกำลังจากแนวป้องกันเบลเยียม แต่ก็ยังช้าเกินไปที่จะหนีพ้นจากวงล้อมของกองพลยานเกราะเยอรมัน ทางด้านใต้ แม้สะพานข้ามแม่น้ำเมิซจะถูกฝรั่งเศสทำลายไปหมดแล้ว แต่กองพลยานเกราะเยอรมันของพลเอกอาวุโสกูเดรีอันกลับข้ามแม่น้ำได้เร็วกว่าที่คาดไว้มาก กาเมอแล็งรีบถอนทหารไปป้องกันกรุงปารีส ด้วยเชื่อว่าปารีสคือเป้าหมายของกูเดรีอัน โดยไม่ได้ฉุกคิดเลยว่าแท้จริงแล้วกูเดรีอันกำลังมุ่งหน้าไปที่ทะเล ขณะเดียวกัน ทางด้านเหนือ (ฝั่งเบลเยียม) กองพลยานเกราะของพลตรีร็อมเมิลก็รุกไปทางตะวันตกอย่างรวดเร็วจนไปถึงทะเลและปิดล้อมกองกำลังฝ่ายสัมพันธมิตรกว่า 330,000 นาย (เป็นฝรั่งเศส 120,000 นาย) ไว้ที่เมืองอารัสและเดิงแกร์ก ฝรั่งเศสและอังกฤษไม่อยู่ในสภาพที่จะโต้กลับหรือฝ่าวงล้อมได้อีกต่อไป
ฝรั่งเศสยอมจำนนต่อเยอรมนีในวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1940 กาเมอแล็งถูกรัฐบาลฝรั่งเศสเขตวีชีซึ่งเป็นหุ่นเชิดของเยอรมนีตั้งข้อหาขบถต่อชาติ ตลอดการพิจารณาเขาเอาแต่นิ่งเงียบไม่แก้ต่างใด ๆ เขาถูกจองจำไว้ที่ป้อมปราการปอร์ตาแลในเทือกเขาพิรินี และต่อมาถูกคุมตัวไปคุมขังที่ปราสาทอิทเทอร์ทางเหนือของทีโรล เขาเป็นอิสระในวันสุดท้ายของสงครามโลกครั้งที่สองบนทวีปยุโรป
อ้างอิง
- Alexander, Martin S. (1 November 2003). The Republic in Danger: General Maurice Gamelin and the Politics of French Defence, 1933–1940. Cambridge University Press. p. 13. ISBN . สืบค้นเมื่อ 26 July 2013.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phlexkphiess mxris kaemxaelng frngess Maurice Gamelin epnnaythharbkfrngessdarngtaaehnngepnphubychakarsungsudkxngthphfrngessinchwngtnsngkhramolkkhrngthisxng kaemxaelngidrbkaryxmrbepnphubychakarmuxdiaelamikhwamsamarth ekhyotklbphwkeyxrmncnidrbchychnainyuththkarthiaemnamarninsngkhramolkkhrngthihnung ekhakawkhunepnesnathikarkxngthphfrngessin kh s 1931 rbphidchxbkakbkarprbprungkxngthphfrngessihthnsmy rwmthungkarsrangaenwpxngknesnmachion chuxesiyngthnghmdktxngphngthlaylnginyuththkarthifrngess 10 phvsphakhm 22 mithunayn kh s 1940 insngkhramolkkhrngthisxngmxris kaemxaelngekid20 knyayn kh s 1872 1872 09 20 paris frngessesiychiwit18 emsayn kh s 1958 1958 04 18 85 pi paris frngessrbichsatharnrthfrngessthi 3aephnk wbr sngkdkxngthphfrngesspracakar1893 1940chnysphlexkphiess General d armee karyuththsngkhramolkkhrngthihnung sngkhramolkkhrngthisxng yuththkarthifrngessbaehncelchiyngdxenxrchnmhakangekhnprawtiekhaekidemux kh s 1872 thikrungparis bidaepnnaythharsungekhyrbinsngkhramexkrachxitali ekhaetibotmadwykhwamkhidcaaekaekhneyxrmnithichwngchingxalss lxaernipinsngkhramfrngess prsesiy kaemxaelngekhasuksaorngeriynthharineduxntulakhm kh s 1891 aelacbkarsuksaepnthihnungkhxngrunin kh s 1893 ekhaidrbhnathiaerkinkrmthharfrngesspracatuniesiy aelaklbmayngparisin kh s 1897 ekharbkarsuksatxthiwithyalykarthharchnsung Ecole Superieure de Guerre xneluxngchuxaelacbepnxndbsxngkhxngrun aelaklayepnhnunginsibaepdthharhnumdawrungkhxngkxngthphfrngesssngkhramolkkhrngthisxngkaemxaelngin kh s 1936 emuxsngkhramolkkhrngthisxngpathukhun kaemxaelngkrbtaaehnngphubychakarkxngthphfrngesskhnaerkineduxnknyayn kh s 1939 aelabychaihkxngphlfrngesskhamchayaednekhaipineyxrmniephuxbuksarlnth phwkekharukekhaipidephiyng 8 kiolemtraelahyudkxnthungaenwsikhfrithkhxngeyxrmnithiyngsrangimesrc kaaemaelngsngthxnthphklbmahlngesnmachion aetklbbxkchatiphnthmitrxyangopaelndipwafrngessthalayaenwsikhfrithaelw yuththsastrkhxngkaemxaelngkhuxrxcnkrathngkxngthphfrngessaelaxngkvsmikhwamphrngphrxmdanyuththphnthxyangetmthiesiykxn sungnkwichakarekhypraeminiwwayuththsastrdngklawtxngrxcnthung kh s 1941 thiediyw nayphlewsthphalkhxngkxngthpheyxrmnekhywiekhraahiwwa frngesstdsinicbukekhamaintxnnneyxrmnikhngtanthanidimekinsxngspdah enuxngcakkalngphleyxrmnswnihykalngtidphnxyukbkarbukkhrxngopaelndthangdantawnxxk kaemxaelngptiesthkarsngekhruxngbinipthingraebidphunthixutsahkrrminphumiphakhrwrkhxngeyxrmni ephuxhlikeliyngimiheyxrmnihnmatxbotinchwngthiekhakalngerngesrimsrangaesnyanuphaphfrngess nxkcakni kaemxaelngaelanaythharradbsunginkxngbychakarfrngesshlaykhnyngtidxyukbkhwamechuxekathiwaxaraednimmiwnaetk ekhaeluxkthicapxngknxaraedndwypxmprakarimkiaehngaelathharkxnghnunephiyngsibkxngphl ekhawangkalngswnihyiwthangtawntkechiyngehnuxthitidkbchayaednebleyiym nayphlhsos fxn mnthxyefil phubychakaryanekraaeyxrmnekhyrabuwa frngessmiyanekraathidikwaaelamakkwaeyxrmniesiyxikintxnnn aetklbeluxkaetkkalngyanekraaipthw insngkhramolkkhrngthihnung nkyuththsastrthharfrngesstangkhadkarnkntngaet kh s 1914 aelwthungaephnkarthieyxrmnicabukekhaebleyiym aelaphwkekhakidrangaephnrbmuxsahrbkarniiwaelw aephnnithuktngchuxwa aephndi Dyle Plan odyihkxngthphfrngessbukxyangdudnekhaippathakbkxngthhareyxrmninebleyiymaelaenethxraelnd aetinsukkhrngni aemwakaemxaelngcarulwnghnawaeyxrmnikalngesrimsrangaesnyanuphaph thungkhnadthilwngrukahndwnekhaocmtikhxngeyxrmni aetkaemxaelngklbeluxkcaningechycnthungeduxnphvsphakhm kh s 1940 odyexaaetbxkwaekhakalng rxdusthankarn aelaemuxeyxrmniekhaocmtiebleyiymtamthikhadiw kaemxaelngklbptiesththicasng 40 kxngphlthidithisudekhaptibtikartamaephndil wnaerk khxngyuththkarthiebleyiym ekhruxngbinrbsmphnthmitrthukkxngthphxakaseyxrmnthalayekuxbhmd kxngthharfrngessaelaxngkvsklwwacathukoxblxmcaksxngdan cungthxnkalngcakaenwpxngknebleyiym aetkyngchaekinipthicahniphncakwnglxmkhxngkxngphlyanekraaeyxrmn thangdanit aemsaphankhamaemnaemiscathukfrngessthalayiphmdaelw aetkxngphlyanekraaeyxrmnkhxngphlexkxawuoskuedrixnklbkhamaemnaiderwkwathikhadiwmak kaemxaelngribthxnthharippxngknkrungparis dwyechuxwapariskhuxepahmaykhxngkuedrixn odyimidchukkhidelywaaethcringaelwkuedrixnkalngmunghnaipthithael khnaediywkn thangdanehnux fngebleyiym kxngphlyanekraakhxngphltrirxmemilkrukipthangtawntkxyangrwderwcnipthungthaelaelapidlxmkxngkalngfaysmphnthmitrkwa 330 000 nay epnfrngess 120 000 nay iwthiemuxngxarsaelaedingaekrk frngessaelaxngkvsimxyuinsphaphthicaotklbhruxfawnglxmidxiktxip frngessyxmcanntxeyxrmniinwnthi 22 mithunayn kh s 1940 kaemxaelngthukrthbalfrngessekhtwichisungepnhunechidkhxngeyxrmnitngkhxhakhbthtxchati tlxdkarphicarnaekhaexaaetningengiybimaektangid ekhathukcxngcaiwthipxmprakarpxrtaaelinethuxkekhaphirini aelatxmathukkhumtwipkhumkhngthiprasathxithethxrthangehnuxkhxngthiorl ekhaepnxisrainwnsudthaykhxngsngkhramolkkhrngthisxngbnthwipyuorpxangxingAlexander Martin S 1 November 2003 The Republic in Danger General Maurice Gamelin and the Politics of French Defence 1933 1940 Cambridge University Press p 13 ISBN 978 0 521 52429 2 subkhnemux 26 July 2013