ภาษาโฑครี (อักษรโฑครี: 𑠖𑠵𑠌𑠤𑠮; อักษรเทวนาครี: डोगरी; : ڈوگری; ) เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยันที่มีผู้พูดในประเทศอินเดียประมาณห้าล้านคน ส่วนใหญ่อยู่ในในชัมมูและกัศมีร์ และยังมีผู้พูดในรัฐหิมาจัลประเทศตะวันตก และภูมิภาคปัญจาบตอนบน เป็นภาษาของ ภาษานี้เป็นภาษาในกลุ่มภาษา และมี ซึ่งไม่ค่อยพบในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน ภาษานี้มีสำเนียงบางสำเนียงที่ทั้งหมดมีศัพท์ที่คล้ายกันมากกว่า 80% (ในชัมมูและกัศมีร์)
ภาษาโฑครี | |
---|---|
𑠖𑠵𑠌𑠤𑠮, डोगरी, ڈوگری | |
[[File: ศัพท์ "โฑครี" ในอักษรโฑครีและอักษรเทวนาครี | |
ประเทศที่มีการพูด | อินเดีย, ปากีสถาน |
ภูมิภาค | , รัฐหิมาจัลประเทศตะวันตก, รัฐปัญจาบ |
ชาติพันธุ์ | |
จำนวนผู้พูด | 2.6 ล้านคน (2011 สำมะโน) |
ตระกูลภาษา | |
ระบบการเขียน | อักษรฏากรีแบบDogra Akkhar อักษรเทวนาครี อักษรเปอร์เซีย-อาหรับ () |
สถานภาพทางการ | |
ภาษาทางการ | อินเดีย |
รหัสภาษา | |
ISO 639-2 | doi |
ISO 639-3 | doi – รหัสเอกเทศ: dgo – Dogri properxnr – |
โฑครีเป็นหนึ่งใน 22 โดยได้รับการบรรจุลงในกำหนดรายการที่แปดของรัฐธรรมนูญใน ค.ศ. 2003
อักษร
แต่ก่อนถือว่าเป็นภาษาถิ่นของภาษาปัญจาบ แต่ปัจจุบันได้รับการยอมรับว่าเป็นอีกภาษาหนึ่งในอดีตเขียนด้วยอักษรฏากรี ซึ่งคล้ายกับอักษรศารทาที่ใช้เขียนภาษากัศมีร์ ปัจจุบันเขียนด้วยอักษรเทวนาครีหรืออักษรเปอร์เซีย-อาหรับแบบแนสแทอ์ลีก
ศัพท์ทั่วไป
ภาษาโฑครี | ภาษาโฑครี | คำแปล | เปรียบเทียบ |
---|---|---|---|
آہ / ऑह | Ah | ใช่ | Haan (ฮินดี,อูรดู,ปัญจาบ), Aa (กัศมีร์), Ho (ภาษาปาทาน) |
کنے / कन्ने | Kanne | กับ | Saath (ฮินดี/อูรดู), Sityə (กัศมีร์), Naal (ปัญจาบ) |
نکے / नुक्के | Nukke | รองเท้า | Jootey (ฮินดี,อูรดู), Chhittar/Juttiaan (ปัญจาบ) |
پت / पित्त | Pit | ประตู | Darwaza (ฮินดี/อูรดู/ปัญจาบ/กัศมีร์), Buha (ปัญจาบ), Bar (กัศมีร์) |
کے / के | Ke | อะไร | Kya (ฮินดี/อูรดู/กัศมีร์), Kee (ปัญจาบ) |
کى / की | Kī | ทำไม | Kyon (ฮินดี/อูรดู/ปัญจาบ), Kyazi (กัศมีร์), Kate/Kanu (ปัญจาบ ในบางที่) |
ادوانہ / अद्वाना | Adwana | แตงโม | Tarbooz (ฮินดี/อูรดู), Hadwana (ปัญจาบ/ภาษาเปอร์เซีย), Indwanna (ปาทาน) |
دنيہ / दुनिया | Duniyā | โลก | Duniya (อูรดู/ปัญจาบ/แคชเมียร์/เปอร์เซีย/ภาษาอาหรับ) |
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
ปูโตมีชาวกรีกในสมัยพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชได้กล่าวถึงชาวโฑครีว่า “ครอบครัวชาวโฑครีผู้กล้าหาญที่อยู่ใน ใน พ.ศ. 1860 อามีร์ ขุสโร กวีที่มีชื่อเสียงในภาษาฮินดีและภาษาเปอร์เซียได้กล่าวถึงภาษาโฑครีในการอธิบายถึงภาษาและสำเนียงในอินเดีย
ทฤษฎีเกี่ยวกับที่มาของชื่อ
นักปราชญ์ในสมัยแห่งรัฐชัมมูและกัศมีร์ อธิบายคำว่า Duggar ว่ามาจากคำว่า Dwigart หมายถึงผ่านไปทั้งสอง ซึ่งอาจจะอ้างถึงและสรุอินสัร
มีนักภาษาศาสตร์ได้เชื่อมโยงคำว่า Duggar เข้ากับคำว่า Doonger ในภาษาราชสถาน ซึ่งหมายถึงเนินเขาและ Dogra กับคำว่า Dongar ความเห็นนี้ขาดการสนับสนุนเท่าที่ควรเพราะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจนระหว่างภาษาราชสถานกับภาษาโฑครี และขาดเหตุผลว่าทำไมจึงเปลี่ยนแปลงไปเช่นนั้น
ข้อสันนิษฐานอีกข้อหนึ่งคือมาจากศัพท์ Durger ซึ่งคำนี้หมายถึงไม่พ่ายแพ้ในหลายภาษาทางอินเดียเหนือ และอาจจะกลายมาเป็นคำที่ชาวโฑครียืมมาใช้ เพื่อสื่อถึงความเข้มแข็งและประวัติศาสตร์ด้านการทหารและการปกครองตนเองในสังคมชาวโฑครี
ใน พ.ศ. 2519 ในการประชุมวิชาการเรื่องอินเดียแห่งตะวันออกทั้งหมด ได้ปฏิเสธสมมติฐาน Dwigart และสมมติฐาน Durger แต่ยอมรับสมมติฐาน Doonger-Duggar ในการประชุมต่อมาใน พ.ศ. 2525 นักภาษาศาสตร์ยอมรับว่าวัฒนธรรม ภาษา และประวัติศาสตร์ของชาวราชสถานและชาวโฑครีมีบางส่วนคล้ายคลึงกัน ศัพท์ Duggar และ Dogra เป็นศัพท์ทั่วไปในภาษาราชสถาน
ประวัติ
การแปลภาษาสันสกฤตเป็นภาษาโฑครี เขียนด้วยอักษรโฑครีเริ่มปรากฏเมื่อ พ.ศ. 1657 ภาษาโฑครีเองมีกวีนิพนธ์ นิยาย และละครพื้นเมืองเป็นของตนเองเช่นกันโดยมีประวัติสืบค้นได้ถึงพุทธศตวรรษที่ 23 มีสถานีวิทยุและโทรทัศน์ออกอากาศเป็นภาษาโฑครีในรัฐชัมมูและกัศมีร์ เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2512 ภาษาโฑครีได้รับการยอมรับให้เป็นภาษาเขียนเอกเทศในอินเดีย เป็นภาษาประจำรัฐภาษาหนึ่งของรัฐชัมมูและกัษมีระ ต่อมาในวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2546 ภาษาโฑครีได้รับการยอมรับให้เป็นภาษาประจำชาติของอินเดีย ในปากีสถาน ภาษานี้มีชื่อว่าภาษาปาหารี ยังมีผู้ใช้อยู่มากแต่ยังไม่ได้รับการยอมรับให้เป็นภาษาราชการ
การเป็นภาษาหรือสำเนียง
ภาษาโฑครี ภาษากัศมีร์ ภาษาปัญจาบ ภาษาอูรดู และภาษาฮินดี ต่างเป็นภาษาที่ใช้พูดในบริเวณที่มีความขัดแย้งสูง ทำให้เกิดปัญหาว่าภาษาเหล่านี้เป็นภาษาเอกเทศหรือสำเนียง ในบางครั้งถือว่าภาษาปาหารีตะวันตกเป็นสำเนียงของภาษาปัญจาบ ภาษาปาหารีตะวันตกบางสำเนียงเช่นรัมบานี เคยถูกจัดเป็นสำเนียงของภาษากัศมีร์ ในบางครั้งภาษาปัญจาบก็เคยถูกจัดเป็นสำเนียงของภาษาฮินดี นักภาษาศาสตร์สมัยใหม่จัดให้ภาษาโฑครี ภาษาแคชเมียร์ ภาษาปัญจาบ ภาษาอูรดู และภาษาฮินดีเป็นภาษาเอกเทศในภาษากลุ่มอินโด-อิเรเนียน ภาษาเหล่านี้จะมีภาษามาตรฐานที่ใช้ในการเขียนและมีสำเนียงย่อย ๆ อีกมาก
ตัวอย่าง
ข้อความข้างล่างมาจากปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนข้อที่ 1
โฑครี (อักษรโฑครี) | 𑠩𑠬𑠤𑠳 𑠢𑠝𑠯𑠊𑠹𑠋 𑠢𑠴𑠪𑠹𑠢𑠬 𑠙𑠳 𑠪𑠊𑠹𑠊𑠳𑠷 𑠛𑠳 𑠠𑠭𑠧𑠳 𑠏 𑠑𑠝𑠢 𑠚𑠢𑠬𑠷 𑠩𑠯𑠙𑠴𑠷𑠙𑠤 𑠙𑠳 𑠠𑠤𑠬𑠠𑠤 𑠝। 𑠄'𑠝𑠳𑠷 𑠌𑠮 𑠙𑠤𑠹𑠊 𑠙𑠳 𑠑𑠺𑠢𑠮𑠤 𑠛𑠮 𑠩𑠌𑠬𑠙 𑠢𑠭𑠥𑠮 𑠇 𑠙𑠳 𑠄'𑠝𑠳𑠷 𑠌𑠮 𑠁𑠞𑠰𑠷-𑠠𑠭𑠏𑠹𑠏𑠳𑠷 𑠡𑠬𑠃𑠏𑠬𑠤𑠳 𑠛𑠳 𑠡𑠬𑠦 𑠊𑠝𑠹𑠝𑠴 𑠠𑠤𑠙𑠬ऽ 𑠊𑠤𑠝𑠬 𑠏𑠬𑠪𑠭𑠛𑠬 𑠇। |
---|---|
โฑครี (อักษรเทวนาครี) | सारे मनुक्ख मैह्मा ते हक्कें दे बिशे च जनम थमां सुतैंतर ते बराबर न। उ'नें गी तर्क ते ज़मीर दी सगात मिली ऐ ते उ'नें गी आपूं-बिच्चें भाईचारे दे भाव कन्नै बरताऽ करना चाहिदा ऐ। |
โฑครี (อักษรเปอร์เซีย-อาหรับ) | سارے منکّھ میہما تے ہکّیں دے بشے چ جنم تھماں ستیںتر تے برابر ن۔ ا'نیں گی ترک تے زمیر دی سگات ملی اے تے ا'نیں گی آپوں-بچّیں بھائیچارے دے بھاو کنّے برتا کرنا چاہدا اے۔ |
ทับศัพท์โฑครี () | Sārē manukkh maihmā tē hakkēṁ dē biśē ca janam thamāṁ sutaintar tē barābar na. U'nēṁ gī tark tē zamīr dī sagāt milī ai tē u'nēṁ gī āpūṁ-biccēṁ bhāīcārē dē bhāv kannai bartā' karnā cāhidā ai. |
สัทอักษรสากลโฑครี | [saːɾeː mənʊkːʰə mɛ́ːmaː t̪eː ə̀kːẽː d̪eː biʃeː ʧə ʤənəm t̪ʰəmãː sut̪ɛːnt̪əɾ t̪eː bəɾaːbəɾ nə ‖ ʊ́nẽː giː t̪əɾk t̪eː zəmiːɾ d̪iː səgaːt̪ mɪliː ɛː t̪eː ʊ́nẽː giː aːpũːbɪʧːẽː pàːiːʧaːɾeː d̪eː pàːv kənːɛː bəɾt̪aː kəɾnaː ʧaːɪ́d̪aː ɛː ‖] |
แปลไทย | มนุษย์ทั้งปวงเกิดมามีอิสระและเสมอภาคกันในศักดิ์ศรี และสิทธิ ต่างในตนมีเหตุผลและมโนธรรม และควรปฏิบัติต่อกันด้วยจิตวิญญาณแห่งภราดรภาพ |
อ้างอิง
- Census India, Statement 1: Abstract of Speakers' Strength of Languages and Mother Tongues 2011
- "The Jammu and Kashmir Official Languages Bill, 2020". prsindia. 23 กันยายน 2020. สืบค้นเมื่อ 23 กันยายน 2020.
- Sharma, Sita Ram (1992). Encyclopaedia of Teaching Languages in India, v. 20. Anmol Publications. p. 6. ISBN .
- Billawaria, Anita K. (1978). History and Culture of Himalayan States, v.4. Light & Life Publishers.
- Masica, Colin P. (1993). The Indo-Aryan Languages. Cambridge University Press. p. 427. ISBN .
- Ghai, Ved Kumari (1991). Studies in Phonetics and Phonology: With Special Reference to Dogri. Ariana Publishing House. ISBN .
non-Dogri speakers, also trained phoneticians, tend to hear the difference as one of length only, perceiving the second syllable as stressed
- Brightbill, Jeremy D.; Turner, Scott B. (2007). "A Sociolinguistic Survey of the Dogri Language, Jammu and Kashmir" (PDF). SIL International. สืบค้นเมื่อ 11 มีนาคม 2016.
- Pandey, Anshuman (4 พฤศจิกายน 2015). "L2/15-234R: Proposal to encode the Dogra script in Unicode" (PDF).
- Shastri, Balkrishan (1981). Dogri in the family of world languages (Translated). Dogri Research Centre, Jammu University.
- Shastri, Ram Nath (1981). Dogri Prose Writing before Independence (Translated). Dogri Research Centre, Jammu University.
- Datta, Amaresh (1987). Encyclopaedia of Indian Literature. Sahitya Akademi.
- Pathik, Jyoteeshwar (1980). Cultural Heritage of the Dogras. Light & Life Publishers.
- Bahri, Ujjal Singh (2001). Dogri: Phonology and Grammatical Sketch. Bahri Publications.
- Rao, S. (2004). Five Decades: The National Academy of Letters, India : a Short History of Sahitya Akademi. Sahitya Akademi.Indian Express, New Delhi, 3rd August, 1969
- , Daily Excelsior, Jammu and Kashmir, 23 ธันวาคม 2003, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 ธันวาคม 2008, สืบค้นเมื่อ 31 ตุลาคม 2008,
Dogri among other three languages has been included in the Eighth Schedule of the Constitution when Lok Sabha unanimously approved an amendment in the Constitution
- Tsui, Amy (2007). Language Policy, Culture, and Identity in Asian Contexts. Routledge. ISBN .
- , คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 พฤศจิกายน 2008, สืบค้นเมื่อ 31 ตุลาคม 2008
- Itagi, N.H. (1994). Spatial Aspects of Language. Central Institute of Indian Languages. p. 70. ISBN .
บรรณานุกรม
- Gopal Haldar (2000). Languages of India. New Delhi: National Book Trust
แหล่งข้อมูลอื่น
- , บทความโดย Ved Kumari Ghai
- , ข้อมูลเพิ่มเติมของภาษาโฑครี, วรรณกรรม และนักเขียน
- , "One Hundredth Amendment," รายงานข่าวการยอมรับภาษาโฑครีเป็นภาษาประจำชาติ
- , Alami Pahari Adabi Sangat (Global Pahari Cultural Association)
- Ancientscripts.com, อักษรฏากรี
- , เอกสารเกี่ยวกับวรรณยุกต์และการออกเสียง ในภาษาปัญจาบ
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phasaothkhri xksrothkhri xksrethwnakhri ड गर ڈوگری epnphasaklumxinod xarynthimiphuphudinpraethsxinediypramanhalankhn swnihyxyuininchmmuaelaksmir aelayngmiphuphudinrthhimaclpraethstawntk aelaphumiphakhpycabtxnbn epnphasakhxng phasaniepnphasainklumphasa aelami sungimkhxyphbintrakulphasaxinod yuorepiyn phasanimisaeniyngbangsaeniyngthithnghmdmisphththikhlayknmakkwa 80 inchmmuaelaksmir phasaothkhri ड गर ڈوگری File 200px sphth othkhri inxksrothkhriaelaxksrethwnakhripraethsthimikarphudxinediy pakisthanphumiphakh rthhimaclpraethstawntk rthpycabchatiphnthucanwnphuphud2 6 lankhn 2011 samaon trakulphasaxinod yuorepiyn xinod xiereniynxinod xarynphasaothkhrirabbkarekhiynxksrtakriaebbDogra Akkhar xksrethwnakhri xksrepxresiy xahrb sthanphaphthangkarphasathangkar xinediy chmmuaelaksmirrhsphasaISO 639 2doiISO 639 3doi rhsexkeths a href https iso639 3 sil org code dgo class extiw title iso639 3 dgo dgo a Dogri proper a href https iso639 3 sil org code xnr class extiw title iso639 3 xnr xnr a othkhriepnhnungin 22 odyidrbkarbrrculnginkahndraykarthiaepdkhxngrththrrmnuyin kh s 2003xksraetkxnthuxwaepnphasathinkhxngphasapycab aetpccubnidrbkaryxmrbwaepnxikphasahnunginxditekhiyndwyxksrtakri sungkhlaykbxksrsarthathiichekhiynphasaksmir pccubnekhiyndwyxksrethwnakhrihruxxksrepxresiy xahrbaebbaensaethxliksphththwipphasaothkhri phasaothkhri khaaepl epriybethiybآہ ऑह Ah ich Haan hindi xurdu pycab Aa ksmir Ho phasapathan کنے कन न Kanne kb Saath hindi xurdu Sitye ksmir Naal pycab نکے न क क Nukke rxngetha Jootey hindi xurdu Chhittar Juttiaan pycab پت प त त Pit pratu Darwaza hindi xurdu pycab ksmir Buha pycab Bar ksmir کے क Ke xair Kya hindi xurdu ksmir Kee pycab کى क Ki thaim Kyon hindi xurdu pycab Kyazi ksmir Kate Kanu pycab inbangthi ادوانہ अद व न Adwana aetngom Tarbooz hindi xurdu Hadwana pycab phasaepxresiy Indwanna pathan دنيہ द न य Duniya olk Duniya xurdu pycab aekhchemiyr epxresiy phasaxahrb hlkthanthangprawtisastrpuotmichawkrikinsmyphraecaxelksanedxrmharachidklawthungchawothkhriwa khrxbkhrwchawothkhriphuklahaythixyuin in ph s 1860 xamir khusor kwithimichuxesiynginphasahindiaelaphasaepxresiyidklawthungphasaothkhriinkarxthibaythungphasaaelasaeniynginxinediythvsdiekiywkbthimakhxngchuxnkprachyinsmyaehngrthchmmuaelaksmir xthibaykhawa Duggar wamacakkhawa Dwigart hmaythungphanipthngsxng sungxaccaxangthungaelasruxinsr minkphasasastridechuxmoyngkhawa Duggar ekhakbkhawa Doonger inphasarachsthan sunghmaythungeninekhaaela Dogra kbkhawa Dongar khwamehnnikhadkarsnbsnunethathikhwrephraamikarepliynaeplngxyangchdecnrahwangphasarachsthankbphasaothkhri aelakhadehtuphlwathaimcungepliynaeplngipechnnn khxsnnisthanxikkhxhnungkhuxmacaksphth Durger sungkhanihmaythungimphayaephinhlayphasathangxinediyehnux aelaxaccaklaymaepnkhathichawothkhriyummaich ephuxsuxthungkhwamekhmaekhngaelaprawtisastrdankarthharaelakarpkkhrxngtnexnginsngkhmchawothkhri in ph s 2519 inkarprachumwichakareruxngxinediyaehngtawnxxkthnghmd idptiesthsmmtithan Dwigart aelasmmtithan Durger aetyxmrbsmmtithan Doonger Duggar inkarprachumtxmain ph s 2525 nkphasasastryxmrbwawthnthrrm phasa aelaprawtisastrkhxngchawrachsthanaelachawothkhrimibangswnkhlaykhlungkn sphth Duggar aela Dogra epnsphththwipinphasarachsthanprawtikaraeplphasasnskvtepnphasaothkhri ekhiyndwyxksrothkhrierimpraktemux ph s 1657 phasaothkhriexngmikwiniphnth niyay aelalakhrphunemuxngepnkhxngtnexngechnknodymiprawtisubkhnidthungphuththstwrrsthi 23 misthaniwithyuaelaothrthsnxxkxakasepnphasaothkhriinrthchmmuaelaksmir emuxwnthi 2 singhakhm ph s 2512 phasaothkhriidrbkaryxmrbihepnphasaekhiynexkethsinxinediy epnphasapracarthphasahnungkhxngrthchmmuaelaksmira txmainwnthi 22 thnwakhm ph s 2546 phasaothkhriidrbkaryxmrbihepnphasapracachatikhxngxinediy inpakisthan phasanimichuxwaphasapahari yngmiphuichxyumakaetyngimidrbkaryxmrbihepnphasarachkarkarepnphasahruxsaeniyngphasaothkhri phasaksmir phasapycab phasaxurdu aelaphasahindi tangepnphasathiichphudinbriewnthimikhwamkhdaeyngsung thaihekidpyhawaphasaehlaniepnphasaexkethshruxsaeniyng inbangkhrngthuxwaphasapaharitawntkepnsaeniyngkhxngphasapycab phasapaharitawntkbangsaeniyngechnrmbani ekhythukcdepnsaeniyngkhxngphasaksmir inbangkhrngphasapycabkekhythukcdepnsaeniyngkhxngphasahindi nkphasasastrsmyihmcdihphasaothkhri phasaaekhchemiyr phasapycab phasaxurdu aelaphasahindiepnphasaexkethsinphasaklumxinod xiereniyn phasaehlanicamiphasamatrthanthiichinkarekhiynaelamisaeniyngyxy xikmaktwxyangkhxkhwamkhanglangmacakptiyyasaklwadwysiththimnusychnkhxthi 1 othkhri xksrothkhri ऽ othkhri xksrethwnakhri स र मन क ख म ह म त हक क द ब श च जनम थम स त तर त बर बर न उ न ग तर क त ज म र द सग त म ल ऐ त उ न ग आप ब च च भ ईच र द भ व कन न बरत ऽ करन च ह द ऐ othkhri xksrepxresiy xahrb سارے منک ھ میہما تے ہک یں دے بشے چ جنم تھماں ستیںتر تے برابر ن ا نیں گی ترک تے زمیر دی سگات ملی اے تے ا نیں گی آپوں بچ یں بھائیچارے دے بھاو کن ے برتا کرنا چاہدا اے thbsphthothkhri Sare manukkh maihma te hakkeṁ de bise ca janam thamaṁ sutaintar te barabar na U neṁ gi tark te zamir di sagat mili ai te u neṁ gi apuṁ bicceṁ bhaicare de bhav kannai barta karna cahida ai sthxksrsaklothkhri saːɾeː menʊkːʰe mɛ ːmaː t eː e kːẽː d eː biʃeː ʧe ʤenem t ʰemaː sut ɛːnt eɾ t eː beɾaːbeɾ ne ʊ nẽː giː t eɾk t eː zemiːɾ d iː segaːt mɪliː ɛː t eː ʊ nẽː giː aːpũːbɪʧːẽː paːiːʧaːɾeː d eː paːv kenːɛː beɾt aː keɾnaː ʧaːɪ d aː ɛː aeplithy mnusythngpwngekidmamixisraaelaesmxphakhkninskdisri aelasiththi tangintnmiehtuphlaelamonthrrm aelakhwrptibtitxkndwycitwiyyanaehngphradrphaphxangxingCensus India Statement 1 Abstract of Speakers Strength of Languages and Mother Tongues 2011 The Jammu and Kashmir Official Languages Bill 2020 prsindia 23 knyayn 2020 subkhnemux 23 knyayn 2020 Sharma Sita Ram 1992 Encyclopaedia of Teaching Languages in India v 20 Anmol Publications p 6 ISBN 9788170415459 Billawaria Anita K 1978 History and Culture of Himalayan States v 4 Light amp Life Publishers Masica Colin P 1993 The Indo Aryan Languages Cambridge University Press p 427 ISBN 978 0 521 29944 2 Ghai Ved Kumari 1991 Studies in Phonetics and Phonology With Special Reference to Dogri Ariana Publishing House ISBN 978 81 85347 20 2 non Dogri speakers also trained phoneticians tend to hear the difference as one of length only perceiving the second syllable as stressed Brightbill Jeremy D Turner Scott B 2007 A Sociolinguistic Survey of the Dogri Language Jammu and Kashmir PDF SIL International subkhnemux 11 minakhm 2016 Pandey Anshuman 4 phvscikayn 2015 L2 15 234R Proposal to encode the Dogra script in Unicode PDF Shastri Balkrishan 1981 Dogri in the family of world languages Translated Dogri Research Centre Jammu University Shastri Ram Nath 1981 Dogri Prose Writing before Independence Translated Dogri Research Centre Jammu University Datta Amaresh 1987 Encyclopaedia of Indian Literature Sahitya Akademi Pathik Jyoteeshwar 1980 Cultural Heritage of the Dogras Light amp Life Publishers Bahri Ujjal Singh 2001 Dogri Phonology and Grammatical Sketch Bahri Publications Rao S 2004 Five Decades The National Academy of Letters India a Short History of Sahitya Akademi Sahitya Akademi Indian Express New Delhi 3rd August 1969 Daily Excelsior Jammu and Kashmir 23 thnwakhm 2003 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2 thnwakhm 2008 subkhnemux 31 tulakhm 2008 Dogri among other three languages has been included in the Eighth Schedule of the Constitution when Lok Sabha unanimously approved an amendment in the Constitution Tsui Amy 2007 Language Policy Culture and Identity in Asian Contexts Routledge ISBN 0805856943 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 21 phvscikayn 2008 subkhnemux 31 tulakhm 2008 Itagi N H 1994 Spatial Aspects of Language Central Institute of Indian Languages p 70 ISBN 8173420092 brrnanukrmGopal Haldar 2000 Languages of India New Delhi National Book Trustaehlngkhxmulxunmikarthdsxb phasaothkhri khxngwikiphiediy thiwikimiediy xinkhiwebetxr wikithxngethiyw mia phrasebooksahrb Dogri bthkhwamody Ved Kumari Ghai khxmulephimetimkhxngphasaothkhri wrrnkrrm aelankekhiyn One Hundredth Amendment rayngankhawkaryxmrbphasaothkhriepnphasapracachati Alami Pahari Adabi Sangat Global Pahari Cultural Association Ancientscripts com xksrtakri exksarekiywkbwrrnyuktaelakarxxkesiyng inphasapycab