ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
บทความนี้ยังต้องการเพิ่มเพื่อ |
ภาษาศาสตร์ (อังกฤษ: linguistics) คือ การศึกษาเกี่ยวกับภาษาโดยใช้แนวคิด ทฤษฎีและวิธีการวิจัยที่เป็นวิทยาศาสตร์ เพื่อให้เข้าใจธรรมชาติหรือระบบของภาษามนุษย์ ผู้ที่ศึกษาในด้านนี้เรียกว่า
ประเภทของการศึกษาภาษาศาสตร์
การศึกษาด้านภาษาศาสตร์สามารถแบ่งออกได้หลายมุมมอง ได้แก่
- ภาษาศาสตร์เชิงประวัติศาสตร์ (Dichotomies and language) แบ่งได้เป็น
- การศึกษาเชิงประวัติศาสตร์เน้นเฉพาะยุคสมัย (synchronic study) เป็นการศึกษา (linguistic feature) ของภาษาในช่วงยุคสมัยต่าง ๆ
- ภาษาศาสตร์เชิงประวัติศาสตร์เปรียบเทียบ (diachronic study) เป็นการศึกษาประวัติศาสตร์ของภาษาและกลุ่มของภาษา และความเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างที่เกิดขึ้นในยุคต่าง ๆ
- ภาษาศาสตร์เชิงทฤษฎีและเชิงประยุกต์
- ภาษาศาสตร์เชิงทฤษฎี (หรือภาษาศาสตร์ทั่วไป) จะเป็นการกำหนดอรรถาธิบายให้กับภาษาแต่ละภาษา และกำหนดทฤษฎีเกี่ยวกับมุมมองต่าง ๆ ของภาษาให้ครอบคลุม
- ภาษาศาสตร์เชิงประยุกต์จะเป็นการประยุกต์ใช้ทฤษฎีทางภาษาศาสตร์ต่าง ๆ กับงานด้านอื่น ๆ
- ภาษาศาสตร์แบบพึ่งพาบริบทและแบบไม่พึ่งพาบริบท (Contextual and Independent Linguistics)
- ภาษาศาสตร์แบบพึ่งพาบริบท เป็นการสร้างอรรถาธิบายเกี่ยวกับการใช้ภาษาโดยมนุษย์ เช่น หน้าที่เชิงสังคมในภาษา วิธีการใช้งานภาษา และวิธีการสร้างและรับรู้ภาษาของมนุษย์
- ภาษาศาสตร์แบบไม่พึ่งพาบริบท เป็นการศึกษาที่ตัวภาษาเอง โดยไม่พิจารณาปัจจัยภายนอกต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
- อย่างไรก็ตามคำทั้งสองนี้ยังไม่มีการแบ่งแยกอย่างชัดเจน ในหนังสือ (Encyclopædia Britannica) จึงใช้คำว่า ภาษาศาสตร์มหภาค (macrolinguistics) และภาษาศาสตร์จุลภาค (microlinguistics) แทน
จากมุมมองต่าง ๆ เหล่านี้ นักภาษาศาสตร์ หรือนักภาษาศาสตร์เชิงทฤษฎี โดยทั่วไป มักจะศึกษาภาษาศาสตร์แบบไม่พึ่งพาบริบท ในเชิงทฤษฎี เฉพาะยุคสมัย (independent theoretical synchronic linguistics) ซึ่งเป็นที่รู้กันว่าเป็นแก่นของวิชาภาษาศาสตร์
ผู้เชี่ยวชาญต่าง ๆ ได้ตั้งและทำวิจัยทางด้านภาษาศาสตร์ไว้อย่างกว้างขวาง ซึ่งบางประเด็นก็ยังหาข้อสรุปไม่ได้ ดังที่ (Russ Rymer) ได้กล่าวเอาไว้อย่างละเอียดว่า
"ภาษาศาสตร์เป็นทรัพย์สินที่มีการโต้เถียงกันอย่างเผ็ดร้อนที่สุดโดยหาจุดยุติไม่ได้ในวงการวิชาการ ภาษาศาสตร์โชกชุ่มไปด้วยหยาดโลหิตของ นักปรัชญา นักจิตวิทยา นักชีววิทยา และ รวมทั้งเลือดของนักไวยากรณ์เท่าที่จะสามารถเอาออกมาได้"
(Linguistics is arguably the most hotly contested property in the academic realm. It is soaked with the blood of poets, theologians, philosophers, philologists, psychologists, biologists, and neurologists, along with whatever blood can be got out of grammarians.) 1
แขนงวิชาของภาษาศาสตร์เชิงทฤษฎี
บ่อยครั้ง ภาษาศาสตร์เชิงทฤษฎีสามารถแบ่งออกได้เป็นหลายแขนง บางแขนงสามารถศึกษาได้โดยอิสระ บางแขนงก็ต้องศึกษาควบคู่กับแขนงอื่น อย่างไรก็ตาม เป็นที่รู้กันโดยทั่วไปว่า ภาษาศาสตร์เชิงทฤษฎีสามารถแบ่งออกเป็นแขนงต่าง ๆ ได้ดังนี้
- สัทศาสตร์ (Phonetics) เป็นการศึกษาเสียงต่าง ๆ ซึ่งใช้ร่วมกันในภาษามนุษย์ทุกภาษา
- สัทวิทยา (Phonology) เป็นการศึกษารูปแบบเสียงพื้นฐานของภาษา
- วิทยาหน่วยคำ (Morphology linguistics) เป็นการศึกษาโครงสร้างภายในของคำและการเปลี่ยนรูปของคำ
- วากยสัมพันธ์ (Syntax) เป็นการศึกษาการประกอบคำขึ้นเป็นประโยคที่ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์
- อรรถศาสตร์ (Semantics) เป็นการศึกษาความหมายของคำ (lexical semantics) และวิธีการประกอบคำขึ้นเป็นประโยคเพื่อสื่อความหมาย
- วัจนปฏิบัติศาสตร์ (Pragmatics) เป็นการศึกษาวิธีการใช้ (utterance) เพื่อสื่อความหมายในการสื่อสาร เช่น แบบตรงตัว (literal pragma) แบบอุปมาอุปไมย (figurative pragma) ฯลฯ
- ภาษาศาสตร์เชิงประวัติ (Historical linguistics) เป็นการศึกษาภาษาต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์กันในเชิงประวัติศาสตร์ ซึ่งสามารถสังเกตได้จากความใกล้เคียงของคำศัพท์ การสร้างคำ และวากยสัมพันธ์
- (Linguistic typology) เป็นการศึกษาคุณสมบัติทางไวยากรณ์ที่ใช้อยู่ในภาษาต่าง ๆ
- (Stylistics linguistics) เป็นการศึกษาลีลาในการใช้ภาษา
อย่างไรก็ตาม ความสำคัญเฉพาะของแขนงต่าง ๆ ก็ยังไม่เป็นที่ทราบโดยทั่วกัน และนักภาษาศาสตร์ทุกท่านก็เห็นพ้องกันว่า การแบ่งแขนงแบบดังกล่าวยังคงมีขอบเขตซ้อนทับกันอยู่มาก ถึงกระนั้น แขนงย่อยก็ยังคงมีคอนเซ็ปต์แก่นซึ่งสนับสนุนการตั้งประเด็นปัญหาและการวิจัยของผู้ชำนาญการได้เป็นอย่างดี
ภาษาศาสตร์เชิงประวัติศาสตร์เปรียบเทียบ (Diachronic linguistics)
ในขณะที่แก่นของภาษาศาสตร์เชิงทฤษฎีเกี่ยวข้องกับการศึกษาภาษาเฉพาะห้วงเวลาหนี่ง ๆ (ซึ่งส่วนมากจะเป็นช่วงเวลาปัจจุบัน) ภาษาศาสตร์เชิงประวัติศาสตร์เปรียบเทียบ จะเน้นไปที่การศึกษาความเปลี่ยนแปลงของภาษาตามการเปลี่ยนแปลงของเวลา ในบางครั้งอาจจะใช้เวลานับร้อยปี ภาษาศาสตร์เชิงประวัติศาสตร์จะต้องใช้ทั้งการศึกษาด้านประวัติศาสตร์อันยาวนาน (ซึ่งการศึกษาภาษาศาสตร์ก็ได้เติบโตมาจากภาษาศาสตร์เชิงประวัติศาสตร์นั่นเอง) และพื้นฐานด้านทฤษฎีที่เข้มแข็ง เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
ในมหาวิทยาลัยของอเมริกาหลายแห่ง มุมมองที่ไม่ขึ้นกับประวัติศาสตร์ (non-historic perspective) จะมีอิทธิพลมากกว่า ยกตัวอย่างเช่น ในห้องเรียนภาษาศาสตร์เบื้องต้นหลายแห่งจะครอบคลุมภาษาศาสตร์เชิงประวัติเฉพาะช่วงเวลาปัจจุบันเท่านั้น การหันเหความสนใจไปยังมุมมองที่ไม่ขึ้นกับประวัติศาสตร์เริ่มต้นจาก (Ferdinand de Saussure) และเริ่มมีอิทธิพลมากกว่าโดย โนม ช็อมสกี
มุมมองที่ขึ้นกับประวัติศาสตร์อย่างเด่นชัด ได้แก่ และ ศัพทมูลวิทยา - ศาสตร์ที่ว่าด้วยการกำเนิดและการพัฒนาของคำ)
ภาษาศาสตร์เชิงประยุกต์ (Applied linguistics)
ในขณะที่ภาษาศาสตร์เชิงทฤษฎีเกี่ยวข้องกับคุณสมบัติสากล ทั้งภายในเฉพาะภาษาหนึ่ง ๆ หรือทุกภาษา ภาษาศาสตร์เชิงประยุกต์จะนำอรรถาธิบายเหล่านั้นมาประยุกต์ใช้กับศาสตร์ด้านอื่น ๆ บ่อยครั้งทีเดียวที่ภาษาศาสตร์เชิงประยุกต์จะอ้างถึงงานวิจัยทางภาษาศาสตร์ในการสอนภาษา แต่ถึงกระนั้น ผลจากงานวิจัยด้านภาษาศาสตร์ก็ยังใช้ในศาสตร์ด้านอื่น ๆ อีกเช่นเดียวกัน
ทุกวันนี้ แขนงวิชาต่าง ๆ ของภาษาศาสตร์เชิงประยุกต์จะเกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้กับคอมพิวเตอร์อย่างชัดเจน ใน (en:Speech synthesis) และ (en:Speech recognition) มีการนำเอาความรู้ด้านสัทศาสตร์และพยางค์ (phonetic and en:phonemic knowledge) มาใช้เพื่อสร้างส่วนติดต่อคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง การประยุกต์ใช้งานภาษาศาสตร์เชิงคำนวณในการแปลภาษาด้วยเครื่อง (en:Machine translation) (en:Computer-assisted translation) และการประมวลผลภาษาธรรมชาตินั้น จัดเป็นแขนงวิชาที่เป็นประโยชน์อย่างมากของภาษาศาสตร์เชิงประยุกต์ ซึ่งเริ่มเข้ามามีบทบาทในไม่กี่ปีที่ผ่านมา ตามสมรรถนะการคำนวณของคอมพิวเตอร์ที่เพิ่มสูงขึ้น อิทธิพลของภาษาศาสตร์เชิงคำนวณได้ก่อให้เกิดผลกระทบอย่างมากต่อทฤษฎีของวากยสัมพันธ์และอรรถศาสตร์ เนื่องด้วยการออกแบบทฤษฎีทางวากยสัมพันธ์และอรรถศาสตร์บนคอมพิวเตอร์ จะจำกัดประสิทธิภาพของทฤษฎีเหล่านั้นด้วยโอเปอเรชั่นที่ (computable) และทำให้เกิดทฤษฎีพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ที่แม่นยำ (ข้อมูลเพิ่มเติมในหัวข้อ ทฤษฎีการคำนวณได้)
ภาษาศาสตร์แบบพึ่งพาบริบท (Contextual linguistics)
ภาษาศาสตร์แบบพึ่งพาบริบทเป็นวงการซึ่งหลักภาษาศาสตร์เชื่อมโยงกับศาสตร์วิชาการด้านอื่น ๆ ในขณะที่ภาษาศาสตร์เชิงทฤษฎีจะศึกษาภาษาโดยไม่คำนึงถึงปัจจัยอย่างอื่นภายนอกนั้น แขนงวิชาที่มีการผสมหลายหลักการของภาษาศาสตร์จะวิเคราะห์ภาษาว่ามีปฏิสัมพันธ์กับปัจจัยภายนอกอย่างไรบ้าง
ในภาษาศาสตร์สังคม (en:Sociolinguistics) (en:Anthropological Linguistics) และ (en:Linguistics Anthropology) จะมีการวิเคราะห์สังคมโดยใช้หลักสังคมศาสตร์ควบคู่ไปกับหลักทางภาษาศาสตร์
ใน (en:Critical Discourse Analysis) จะมีการนำ (en:Rhetoric) และปรัชญา มาประยุกต์รวมกับหลักภาษาศาสตร์
ในภาษาศาสตร์จิตวิทยา (en:Psycholinguistics) และภาษาศาสตร์เชิงประสาทวิทยา (en:Neurolinguistics) จะมีการนำหลักทางแพทยศาสตร์มาประยุกต์ใช้ร่วมกับหลักทางภาษาศาสตร์
นอกจากนี้ยังมีแขนงวิชาอื่น ๆ ที่มีการผสมหลักการทางภาษาศาสตร์เข้าไป เช่น (en:Language Acquisition), (en:Evolutionary linguistics), (en:Stratificational Linguistics) และ ปริชานศาสตร์ (en:Cognitive science)
ผู้พูด, ชุมชนทางภาษา, และเอกภพทางภาษาศาสตร์
นักภาษาศาสตร์นั้นจะแตกต่างกันออกไป ตามกลุ่มของผู้ใช้ภาษาที่นักภาษาศาสตร์เหล่านั้นศึกษา บางกลุ่มจะวิเคราะห์ภาษาเฉพาะบุคคล หรือ ถ้าจะมองให้ละเอียดลงไป บางพวกก็ศึกษาภาษาที่ยังคงใช้กันอยู่ใน ขนาดใหญ่ เช่น ภาษาถิ่น ของกลุ่มคนที่พูด หรือที่เรียกว่า บางพวกก็พยายามจะค้นหา ซึ่งจะนำมาประยุกต์ใช้เพื่ออธิบายปรากฏการณ์ทางภาษากับทุก ๆ ภาษามนุษย์ โครงการหลังสุดนี้ได้รับการสนับสนุนอย่างโด่งดังโดยโนม ช็อมสกี และทำให้นักวิจัยด้านภาษาศาสตร์จิตวิทยา และ หันมาสนใจศาสตร์ด้านนี้มากขึ้น ได้มีการคิดกันว่า เอกภพของภาษามนุษย์นั้นอาจจะนำไปสู่การไขปริศนาของเอกภพเกี่ยวกับได้
ภาษาศาสตร์แบบกำหนดและภาษาศาสตร์แบบบรรยาย
งานวิจัยทางภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่มักจะเป็นแบบบรรยายบริสุทธิ์ (purely descriptive) นั่นคือ นักภาษาศาสตร์จะหาหนทางเพื่อสร้างความกระจ่างในธรรมชาติของภาษา โดยไม่มีการกำหนดวิธีการล่วงหน้าหรือพยายามที่จะหาทิศทางของภาษาในอนาคต อย่างไรก็ตามมีทั้งนักภาษาศาสตร์มืออาชีพและมือสมัครเล่นที่กำหนดกฎเกณฑ์ล่วงหน้า (prescribe) ให้กับกฎของภาษา โดยจะมีมาตรฐานเฉพาะเพื่อให้ผู้อื่นได้ปฏิบัติตาม
นักกำหนดกฎเกณฑ์ (Prescriptivist) มักจะพบได้ในผู้สอนภาษาในระดับต่าง ๆ ผู้เชี่ยวชาญเหล่านี้จะมีกฎเกณฑ์ชัดเจนที่ตัดสินว่า อะไรถูก อะไรผิด และอาจทำหน้าที่รับผิดชอบการใช้ภาษาอย่างถูกต้องของคนในรุ่นถัดไป ส่วนมากภาษาที่ควบคุมมักจะเป็น (en:acrolect) ของภาษาหนึ่ง ๆ เหตุที่นักกำหนดกฎเกณฑ์เหล่านี้ไม่สามารถทนเห็นการใช้ภาษาผิด ๆ นั้น อาจจะเกิดจากความไม่ชอบใน (en:neologism) (en:basilect) หรือความขัดแย้งเพียงเล็กน้อยกับทฤษฎีที่เข้มงวด นักกำหนดกฎเกณฑ์สุดโต่งอาจจะพบเห็นได้ในกลุ่มนักเซ็นเซอร์ ซึ่งเป้าหมายของคนกลุ่มนี้คือกำจัดคำและโครงสร้างไวยากรณ์ที่คิดว่าจะบ่อนทำลายสังคม
ในทางกลับกัน นักอธิบายกฎเกณฑ์ (Descriptivist) จะพยายามหารากเหง้าของการใช้ภาษาไม่ถูกต้อง นักอธิบายกฎเกณฑ์จะอธิบายการใช้ภาษาแบบดังกล่าวให้เป็น (idiosyncratic usage) หรืออาจจะค้นพบกฎซึ่งอาจจะขัดกับนักกำหนดกฎเกณฑ์ (en:descriptive linguistics) ตามบริบทของ (en:fieldwork) จะหมายถึงการศึกษาภาษาโดยแนวทางของนักอธิบายกฎเกณฑ์ (มากกว่าที่จะเป็นแนวทางของนักกำหนดกฎเกณฑ์) วิธีการของนักอธิบายกฎเกณฑ์จะใกล้เคียงกับวิธีการทางวิทยาศาสตร์ในสายวิชาการอื่น ๆ มากกว่าวิธีการของกำหนดกฎเกณฑ์
ภาษาพูดและภาษาเขียน
นักภาษาศาสตร์ร่วมสมัยส่วนใหญ่มักจะทำวิจัยภายใต้สมมติฐานที่ว่า ภาษาพูด นั้นเป็นหลักพื้นฐาน และมีความสำคัญต่อการศึกษามากกว่า เหตุผลที่สนับสนุนข้อสมมติฐานดังกล่าว ได้แก่
- ภาษาพูดเป็นสิ่งสากลสำหรับมนุษย์ (human-universal) ในขณะที่หลายวัฒนธรรมและหลายชุมชนภาษาพูดไม่มีภาษาเขียน
- มนุษย์สามารถเรียนรู้การพูดและการประมวลผลภาษาพูดได้ง่ายกว่า และง่ายกว่าการเขียนมาก ๆ
- จำนวนหนึ่งอ้างว่า สมองมี โมดูลภาษาในที่นี้เป็นสัญชาตญาณซึ่ง ความรู้ที่ภายหลังสามารถเพิ่มเติมได้โดยการเรียนรู้ภาษาพูดมากกว่าเรียนรู้จากภาษาเขียน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เนื่องมาจากภาษาพูดนั้นเป็นปรับใช้ตามวิวัฒนาการ ในขณะที่ภาษาเขียนนั้น เมื่อเทียบแล้วเป็นการประดิษฐ์ที่ตามมาทีหลัง
แน่นอน นักภาษาศาสตร์ยังคงเห็นพ้องกันว่า การศึกษาภาษาเขียนก็มีคุณค่าเช่นเดียวกัน สำหรับงานวิจัยด้านภาษาศาสตร์ที่ใช้วิธีการ และภาษาศาสตร์เชิงคำนวณแล้ว ภาษาเขียนย่อมสะดวกต่อการประมวลผลข้อมูลทางภาษาศาสตร์ขนาดใหญ่มากกว่า คลังข้อมูล ขนาดใหญ่สำหรับภาษาพูดนั้น สร้างและแสวงหาได้ยาก อย่างไรก็ตามคลังเอกสารสำหรับภาษาพูดก็ยังคงใช้กันโดยทั่วไปในรูปแบบของ
นอกจากนี้ การศึกษาระบบการเขียน ก็ยังเป็นแขนงหนึ่งของภาษาศาสตร์อีกด้วย
สาขาวิจัยด้านภาษาศาสตร์
การวิจัยทางภาษาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับศาสตร์แขนงอื่น ๆ
นักภาษาศาสตร์และกลุ่มแนวคิดที่สำคัญ
ในยุคเริ่มต้น ได้แก่
- (en:Jakob Grimm) ผู้ซึ่งเสนอหลักของ (en:Consonantal shift) ในการสะกด ซึ่งเป็นที่รู้จักกันในนาม กฎของกริมม์ (en:Grimm's Law) ในปี พ.ศ. 2365 (ค.ศ. 1822)
- (en:Karl Verner) ผู้ซึ่งค้นพบ (en:Verner's Law)
- (en:August Schleicher) ผู้ซึ่งสร้าง (en:Stammbaumtheorie /ชทัม-บาว์ม-เท-โอ-รี/)
- (en:Johannes Schmidt) ผู้ซึ่งพัฒนา (en:Wellentheorie /เฟฺวล-เลน-เท-โอ-รี/) ในปี พ.ศ. 2415
(en:Ferdinand de Saussure) เป็นผู้ก่อตั้งภาษาศาสตร์เชิงโครงสร้างสมัยใหม่ แบบจำลองฟอร์มอลของภาษาของโนม ช็อมสกี (Noam Chomsky) ซึ่งก็คือ ไวยากรณ์แปลงรูปเชิงขยาย ได้รับการพัฒนาภายใต้อิทธิพลของอาจารย์ของท่าน (en:Zellig Harris) ผู้ซึ่งได้รับอิทธิพลอย่างรุนแรงมาจาก (en:Leonard Bloomfield) ไวยากรณ์แปลงรูปเชิงขยายนี้ได้เข้ามามีบทบาทต่อวงการภาษาศาสตร์ตั้งแต่
นักภาษาศาสตร์และกลุ่มแนวคิดที่สำคัญอีกกลุ่มหนึ่ง ได้แก่
- (en:Michael Halliday) ผู้พัฒนา (en:Systemic Functional Grammar) ซึ่งพัฒนาไล่ตามกันอย่างกระชั้นชิดในสหราชอาณาจักร, แคนาดา, ออสเตรเลีย, จีน และญี่ปุ่น
- (en:Dell Hymes) ผู้พัฒนาแนวทางวจันปฏิบัติศาสตร์ ซึ่งเรียกว่าชาติพันธุ์วิทยาของภาษาพูด (en:The Ethnography of Speaking)
- (en:George Lakoff) (en:Leonard Talmy) และ (en:Ronald Langacker) ผู้บุกเบิก (en:Cognitive linguistics)
- (en:Charles Fillmore) และ (en:Adele Goldberg) ผู้ร่วมกันพัฒนา (en:Construction grammar)
- (en:Talmy Givon) และ (en:Robert Van Valin, Jr.) ผู้พัฒนา (en:Functional grammar หรือ en:Functionalism)
- กิลอัด สุขเคอร์แมน (Ghil'ad Zuckermann) (Revivalistics)
รูปแทนเสียงภาษาพูด
- สัทอักษรสากล (IPA) เป็นระบบรูปแทนเสียงที่ใช้เขียน และสามารถนำมาสังเคราะห์เสียงของ
- เป็นวิธีการถอดสัทอักษรสากล โดยใช้รหัสแอสกี (ASCII) เท่านั้น ผู้เขียนหนังสือบางรายจะใช้ระบบนี้แทนสัทอักษรเพื่อสะดวกในการพิมพ์ สามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ โฮมเพจของ SAMPA
มุมมองแคบของภาษาศาสตร์
คำว่า ภาษาศาสตร์ และ นักภาษาศาสตร์ อาจจะไม่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้กว้างขวางอย่างที่ได้กล่าวไว้ข้างบนก็ได้ ในบางกรณี คำนิยามที่ดีที่สุดสำหรับคำว่า ภาษาศาสตร์ คงจะเป็น วิชาที่สอนกันในภาควิชาภาษาศาสตร์ของมหาวิทยาลัย และ นักภาษาศาสตร์ ก็คงจะเป็น ผู้ที่เป็นศาสตราจารย์ในภาควิชาภาษาศาสตร์ ภาษาศาสตร์ในมุมมองแคบมักจะไม่ได้กล่าวถึงการเรียนเพื่อพูดภาษาต่างประเทศ (ยกเว้นว่าจะช่วยให้เห็นโมเดลฟอร์มอลของภาษาได้ดีขึ้น) และก็ไม่ได้รวมเอา (Literary analysis) ไว้เลย มีเพียงบางครั้งเท่านั้นที่อาจจะมีการศึกษาเนื้อหาบางอย่างตามความจำเป็น เช่นอุปลักษณ์ บางครั้งนิยามเหล่านี้ก็ไม่สามารถนำมาใช้กับงานวิจัยในแนวกำหนดกฎเกณฑ์ได้ ดังเช่นที่พบในงาน (The Element of Style) ของ (William Strunk, Jr.) และไวท์ (E. B. White) นักภาษาศาสตร์มักจะเป็นผู้ค้นหาว่าผู้ใช้ภาษาใช้ภาษาอย่างไร มากกว่าที่จะไปกำหนดว่าผู้ใช้ภาษาควรใช้ภาษาอย่างไร การตัดสินว่าใครเป็นหรือไม่เป็นนักภาษาศาสตร์นั้นเป็นไปได้ว่าต้องใช้เวลานานในการตัดสิน
ดูเพิ่ม
- ซึ่งเป็นหน้าจอที่ออกแบบมาเพื่อจัดระเบียบข้อมูลเกี่ยวกับภาษาศาสตร์บนวิกีพีเดีย
- นิรุกติศาสตร์ ซึ่งเป็นการศึกษาและภาษาที่ใช้
- ภาษาศาสตร์จิตวิทยา
อ้างอิง
- ; Jonathan Webster (2006). On Language and Linguistics. Continuum International Publishing Group. p. vii. ISBN .
- "ภาษาศาสตร์คืออะไร". arts.chula. สืบค้นเมื่อ 2023-08-06.
บรรณานุกรม
- Akmajian, Adrian; Demers, Richard; Farmer, Ann; Harnish, Robert (2010). Linguistics: An Introduction to Language and Communication. Cambridge, MA: The MIT Press. ISBN .
- Aronoff, Mark; Rees-Miller, Janie, บ.ก. (2000). The handbook of linguistics. Oxford: Blackwell.
- Bloomfield, Leonard (1983) [1914]. An Introduction to the Study of Language: New edition. Amsterdam: John Benjamins Publishing. ISBN .
- Chomsky, Noam (1998). On Language. The New Press, New York. ISBN .
- Derrida, Jacques (1967). Of Grammatology. The Johns Hopkins University Press. ISBN .
- Hall, Christopher (2005). An Introduction to Language and Linguistics: Breaking the Language Spell. Routledge. ISBN .
- Isac, Daniela; Charles Reiss (2013). . Oxford University Press. ISBN . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-07-06. สืบค้นเมื่อ 2021-11-02.
- Pinker, Steven (1994). The Language Instinct. William Morrow and Company. ISBN .
- Crystal, David (1990). Linguistics. Penguin Books. ISBN .
แหล่งข้อมูลอื่น
- The Linguist List, a global online linguistics community with news and information updated daily
- Glossary of linguistic terms by SIL International (last updated 2004)
- Glottopedia, MediaWiki-based encyclopedia of linguistics, under construction
- – according to the Linguistic Society of America
- Linguistics and language-related wiki articles on Scholarpedia and Citizendium
- "Linguistics" section – A Bibliography of Literary Theory, Criticism and Philology, ed. J.A. García Landa (University of Zaragoza, Spain)
- Isac, Daniela; Charles Reiss (2013). I-language: An Introduction to Linguistics as Cognitive Science, 2nd edition. Oxford University Press. ISBN .
- ภาษาศาสตร์ ที่เว็บไซต์ Curlie
- สมิทธ์ ถนอมศาสนะ. (2556). Linguistic Turn กับข้อถกเถียงทางประวัติศาสตร์ของโลกตะวันตก. วารสารประวัติศาสตร์. (ฉบับครบรอบ 100 ปีชาตกาล ศาสตราจารย์ขจร สุขพานิช) : 98-119.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudbthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxngkhunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxk haaehlngkhxmul phasasastr khaw hnngsuxphimph hnngsux skxlar JSTOR eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir phasasastr xngkvs linguistics khux karsuksaekiywkbphasaodyichaenwkhid thvsdiaelawithikarwicythiepnwithyasastr ephuxihekhaicthrrmchatihruxrabbkhxngphasamnusy phuthisuksaindannieriykwapraephthkhxngkarsuksaphasasastrkarsuksadanphasasastrsamarthaebngxxkidhlaymummxng idaek phasasastrechingprawtisastr Dichotomies and language aebngidepnkarsuksaechingprawtisastrennechphaayukhsmy synchronic study epnkarsuksa linguistic feature khxngphasainchwngyukhsmytang phasasastrechingprawtisastrepriybethiyb diachronic study epnkarsuksaprawtisastrkhxngphasaaelaklumkhxngphasa aelakhwamepliynaeplngechingokhrngsrangthiekidkhuninyukhtang phasasastrechingthvsdiaelaechingprayuktphasasastrechingthvsdi hruxphasasastrthwip caepnkarkahndxrrthathibayihkbphasaaetlaphasa aelakahndthvsdiekiywkbmummxngtang khxngphasaihkhrxbkhlum phasasastrechingprayuktcaepnkarprayuktichthvsdithangphasasastrtang kbngandanxun phasasastraebbphungphabribthaelaaebbimphungphabribth Contextual and Independent Linguistics phasasastraebbphungphabribth epnkarsrangxrrthathibayekiywkbkarichphasaodymnusy echn hnathiechingsngkhminphasa withikarichnganphasa aelawithikarsrangaelarbruphasakhxngmnusy phasasastraebbimphungphabribth epnkarsuksathitwphasaexng odyimphicarnapccyphaynxktang thiekiywkhxngxyangirktamkhathngsxngniyngimmikaraebngaeykxyangchdecn inhnngsux Encyclopaedia Britannica cungichkhawa phasasastrmhphakh macrolinguistics aelaphasasastrculphakh microlinguistics aethn cakmummxngtang ehlani nkphasasastr hruxnkphasasastrechingthvsdi odythwip mkcasuksaphasasastraebbimphungphabribth inechingthvsdi echphaayukhsmy independent theoretical synchronic linguistics sungepnthiruknwaepnaeknkhxngwichaphasasastr phuechiywchaytang idtngaelathawicythangdanphasasastriwxyangkwangkhwang sungbangpraednkynghakhxsrupimid dngthi Russ Rymer idklawexaiwxyanglaexiydwa phasasastrepnthrphysinthimikarotethiyngknxyangephdrxnthisudodyhacudyutiimidinwngkarwichakar phasasastrochkchumipdwyhyadolhitkhxng nkprchya nkcitwithya nkchiwwithya aela rwmthngeluxdkhxngnkiwyakrnethathicasamarthexaxxkmaid Linguistics is arguably the most hotly contested property in the academic realm It is soaked with the blood of poets theologians philosophers philologists psychologists biologists and neurologists along with whatever blood can be got out of grammarians 1aekhnngwichakhxngphasasastrechingthvsdibxykhrng phasasastrechingthvsdisamarthaebngxxkidepnhlayaekhnng bangaekhnngsamarthsuksaidodyxisra bangaekhnngktxngsuksakhwbkhukbaekhnngxun xyangirktam epnthiruknodythwipwa phasasastrechingthvsdisamarthaebngxxkepnaekhnngtang iddngni sthsastr Phonetics epnkarsuksaesiyngtang sungichrwmkninphasamnusythukphasa sthwithya Phonology epnkarsuksarupaebbesiyngphunthankhxngphasa withyahnwykha Morphology linguistics epnkarsuksaokhrngsrangphayinkhxngkhaaelakarepliynrupkhxngkha wakysmphnth Syntax epnkarsuksakarprakxbkhakhunepnpraoykhthithuktxngtamhlkiwyakrn xrrthsastr Semantics epnkarsuksakhwamhmaykhxngkha lexical semantics aelawithikarprakxbkhakhunepnpraoykhephuxsuxkhwamhmay wcnptibtisastr Pragmatics epnkarsuksawithikarich utterance ephuxsuxkhwamhmayinkarsuxsar echn aebbtrngtw literal pragma aebbxupmaxupimy figurative pragma l phasasastrechingprawti Historical linguistics epnkarsuksaphasatang thimikhwamsmphnthkninechingprawtisastr sungsamarthsngektidcakkhwamiklekhiyngkhxngkhasphth karsrangkha aelawakysmphnth Linguistic typology epnkarsuksakhunsmbtithangiwyakrnthiichxyuinphasatang Stylistics linguistics epnkarsuksalilainkarichphasa xyangirktam khwamsakhyechphaakhxngaekhnngtang kyngimepnthithrabodythwkn aelankphasasastrthukthankehnphxngknwa karaebngaekhnngaebbdngklawyngkhngmikhxbekhtsxnthbknxyumak thungkrann aekhnngyxykyngkhngmikhxnesptaeknsungsnbsnunkartngpraednpyhaaelakarwicykhxngphuchanaykaridepnxyangdiphasasastrechingprawtisastrepriybethiyb Diachronic linguistics inkhnathiaeknkhxngphasasastrechingthvsdiekiywkhxngkbkarsuksaphasaechphaahwngewlahning sungswnmakcaepnchwngewlapccubn phasasastrechingprawtisastrepriybethiyb caennipthikarsuksakhwamepliynaeplngkhxngphasatamkarepliynaeplngkhxngewla inbangkhrngxaccaichewlanbrxypi phasasastrechingprawtisastrcatxngichthngkarsuksadanprawtisastrxnyawnan sungkarsuksaphasasastrkidetibotmacakphasasastrechingprawtisastrnnexng aelaphunthandanthvsdithiekhmaekhng ephuxsuksakarepliynaeplngkhxngphasa inmhawithyalykhxngxemrikahlayaehng mummxngthiimkhunkbprawtisastr non historic perspective camixiththiphlmakkwa yktwxyangechn inhxngeriynphasasastrebuxngtnhlayaehngcakhrxbkhlumphasasastrechingprawtiechphaachwngewlapccubnethann karhnehkhwamsnicipyngmummxngthiimkhunkbprawtisastrerimtncak Ferdinand de Saussure aelaerimmixiththiphlmakkwaody onm chxmski mummxngthikhunkbprawtisastrxyangednchd idaek aela sphthmulwithya sastrthiwadwykarkaenidaelakarphthnakhxngkha phasasastrechingprayukt Applied linguistics inkhnathiphasasastrechingthvsdiekiywkhxngkbkhunsmbtisakl thngphayinechphaaphasahnung hruxthukphasa phasasastrechingprayuktcanaxrrthathibayehlannmaprayuktichkbsastrdanxun bxykhrngthiediywthiphasasastrechingprayuktcaxangthungnganwicythangphasasastrinkarsxnphasa aetthungkrann phlcaknganwicydanphasasastrkyngichinsastrdanxun xikechnediywkn thukwnni aekhnngwichatang khxngphasasastrechingprayuktcaekiywkhxngkbkarprayuktichkbkhxmphiwetxrxyangchdecn in en Speech synthesis aela en Speech recognition mikarnaexakhwamrudansthsastraelaphyangkh phonetic and en phonemic knowledge maichephuxsrangswntidtxkhxmphiwetxrdwyesiyng karprayuktichnganphasasastrechingkhanwninkaraeplphasadwyekhruxng en Machine translation en Computer assisted translation aelakarpramwlphlphasathrrmchatinn cdepnaekhnngwichathiepnpraoychnxyangmakkhxngphasasastrechingprayukt sungerimekhamamibthbathinimkipithiphanma tamsmrrthnakarkhanwnkhxngkhxmphiwetxrthiephimsungkhun xiththiphlkhxngphasasastrechingkhanwnidkxihekidphlkrathbxyangmaktxthvsdikhxngwakysmphnthaelaxrrthsastr enuxngdwykarxxkaebbthvsdithangwakysmphnthaelaxrrthsastrbnkhxmphiwetxr cacakdprasiththiphaphkhxngthvsdiehlanndwyoxepxerchnthi computable aelathaihekidthvsdiphunthanthangkhnitsastrthiaemnya khxmulephimetiminhwkhx thvsdikarkhanwnid phasasastraebbphungphabribth Contextual linguistics phasasastraebbphungphabribthepnwngkarsunghlkphasasastrechuxmoyngkbsastrwichakardanxun inkhnathiphasasastrechingthvsdicasuksaphasaodyimkhanungthungpccyxyangxunphaynxknn aekhnngwichathimikarphsmhlayhlkkarkhxngphasasastrcawiekhraahphasawamiptismphnthkbpccyphaynxkxyangirbang inphasasastrsngkhm en Sociolinguistics en Anthropological Linguistics aela en Linguistics Anthropology camikarwiekhraahsngkhmodyichhlksngkhmsastrkhwbkhuipkbhlkthangphasasastr in en Critical Discourse Analysis camikarna en Rhetoric aelaprchya maprayuktrwmkbhlkphasasastr inphasasastrcitwithya en Psycholinguistics aelaphasasastrechingprasathwithya en Neurolinguistics camikarnahlkthangaephthysastrmaprayuktichrwmkbhlkthangphasasastr nxkcakniyngmiaekhnngwichaxun thimikarphsmhlkkarthangphasasastrekhaip echn en Language Acquisition en Evolutionary linguistics en Stratificational Linguistics aela prichansastr en Cognitive science phuphud chumchnthangphasa aelaexkphphthangphasasastrnkphasasastrnncaaetktangknxxkip tamklumkhxngphuichphasathinkphasasastrehlannsuksa bangklumcawiekhraahphasaechphaabukhkhl hrux thacamxngihlaexiydlngip bangphwkksuksaphasathiyngkhngichknxyuin khnadihy echn phasathin khxngklumkhnthiphud hruxthieriykwa bangphwkkphyayamcakhnha sungcanamaprayuktichephuxxthibaypraktkarnthangphasakbthuk phasamnusy okhrngkarhlngsudniidrbkarsnbsnunxyangodngdngodyonm chxmski aelathaihnkwicydanphasasastrcitwithya aela hnmasnicsastrdannimakkhun idmikarkhidknwa exkphphkhxngphasamnusynnxaccanaipsukarikhprisnakhxngexkphphekiywkbidphasasastraebbkahndaelaphasasastraebbbrryaynganwicythangphasasastrswnihymkcaepnaebbbrryaybrisuththi purely descriptive nnkhux nkphasasastrcahahnthangephuxsrangkhwamkracanginthrrmchatikhxngphasa odyimmikarkahndwithikarlwnghnahruxphyayamthicahathisthangkhxngphasainxnakht xyangirktammithngnkphasasastrmuxxachiphaelamuxsmkhrelnthikahndkdeknthlwnghna prescribe ihkbkdkhxngphasa odycamimatrthanechphaaephuxihphuxunidptibtitam nkkahndkdeknth Prescriptivist mkcaphbidinphusxnphasainradbtang phuechiywchayehlanicamikdeknthchdecnthitdsinwa xairthuk xairphid aelaxacthahnathirbphidchxbkarichphasaxyangthuktxngkhxngkhninrunthdip swnmakphasathikhwbkhummkcaepn en acrolect khxngphasahnung ehtuthinkkahndkdeknthehlaniimsamarththnehnkarichphasaphid nn xaccaekidcakkhwamimchxbin en neologism en basilect hruxkhwamkhdaeyngephiyngelknxykbthvsdithiekhmngwd nkkahndkdeknthsudotngxaccaphbehnidinklumnkesnesxr sungepahmaykhxngkhnklumnikhuxkacdkhaaelaokhrngsrangiwyakrnthikhidwacabxnthalaysngkhm inthangklbkn nkxthibaykdeknth Descriptivist caphyayamharakehngakhxngkarichphasaimthuktxng nkxthibaykdeknthcaxthibaykarichphasaaebbdngklawihepn idiosyncratic usage hruxxaccakhnphbkdsungxaccakhdkbnkkahndkdeknth en descriptive linguistics tambribthkhxng en fieldwork cahmaythungkarsuksaphasaodyaenwthangkhxngnkxthibaykdeknth makkwathicaepnaenwthangkhxngnkkahndkdeknth withikarkhxngnkxthibaykdeknthcaiklekhiyngkbwithikarthangwithyasastrinsaywichakarxun makkwawithikarkhxngkahndkdeknthphasaphudaelaphasaekhiynnkphasasastrrwmsmyswnihymkcathawicyphayitsmmtithanthiwa phasaphud nnepnhlkphunthan aelamikhwamsakhytxkarsuksamakkwa ehtuphlthisnbsnunkhxsmmtithandngklaw idaek phasaphudepnsingsaklsahrbmnusy human universal inkhnathihlaywthnthrrmaelahlaychumchnphasaphudimmiphasaekhiyn mnusysamartheriynrukarphudaelakarpramwlphlphasaphudidngaykwa aelangaykwakarekhiynmak canwnhnungxangwa smxngmi omdulphasainthiniepnsychatyansung khwamruthiphayhlngsamarthephimetimidodykareriynruphasaphudmakkwaeriynrucakphasaekhiyn odyechphaaxyangying enuxngmacakphasaphudnnepnprbichtamwiwthnakar inkhnathiphasaekhiynnn emuxethiybaelwepnkarpradisththitammathihlng aennxn nkphasasastryngkhngehnphxngknwa karsuksaphasaekhiynkmikhunkhaechnediywkn sahrbnganwicydanphasasastrthiichwithikar aelaphasasastrechingkhanwnaelw phasaekhiynyxmsadwktxkarpramwlphlkhxmulthangphasasastrkhnadihymakkwa khlngkhxmul khnadihysahrbphasaphudnn srangaelaaeswnghaidyak xyangirktamkhlngexksarsahrbphasaphudkyngkhngichknodythwipinrupaebbkhxng nxkcakni karsuksarabbkarekhiyn kyngepnaekhnnghnungkhxngphasasastrxikdwysakhawicydanphasasastrsphthmulwithya sphthsastr sthsastr sthwithya wcnptibtisastr xrrthsastr wakysmphnth phasasastrechingkhanwnkarwicythangphasasastrthiekiywkhxngkbsastraekhnngxun phasasastrepriybethiyb phasasastrechingkhanwn karpramwlphlphasathrrmchati ephuxkarrbrxngsiththikhxngphuich phasasastrechingprawti phasasastrechingprasathwithya phasasastrcitwithya phasasastrsngkhm rabbkarekhiynnkphasasastraelaklumaenwkhidthisakhyinyukherimtn idaek en Jakob Grimm phusungesnxhlkkhxng en Consonantal shift inkarsakd sungepnthiruckkninnam kdkhxngkrimm en Grimm s Law inpi ph s 2365 kh s 1822 en Karl Verner phusungkhnphb en Verner s Law en August Schleicher phusungsrang en Stammbaumtheorie chthm bawm eth ox ri en Johannes Schmidt phusungphthna en Wellentheorie ef wl eln eth ox ri inpi ph s 2415 en Ferdinand de Saussure epnphukxtngphasasastrechingokhrngsrangsmyihm aebbcalxngfxrmxlkhxngphasakhxngonm chxmski Noam Chomsky sungkkhux iwyakrnaeplngrupechingkhyay idrbkarphthnaphayitxiththiphlkhxngxacarykhxngthan en Zellig Harris phusungidrbxiththiphlxyangrunaerngmacak en Leonard Bloomfield iwyakrnaeplngrupechingkhyayniidekhamamibthbathtxwngkarphasasastrtngaet nkphasasastraelaklumaenwkhidthisakhyxikklumhnung idaek en Michael Halliday phuphthna en Systemic Functional Grammar sungphthnailtamknxyangkrachnchidinshrachxanackr aekhnada xxsetreliy cin aelayipun en Dell Hymes phuphthnaaenwthangwcnptibtisastr sungeriykwachatiphnthuwithyakhxngphasaphud en The Ethnography of Speaking en George Lakoff en Leonard Talmy aela en Ronald Langacker phubukebik en Cognitive linguistics en Charles Fillmore aela en Adele Goldberg phurwmknphthna en Construction grammar en Talmy Givon aela en Robert Van Valin Jr phuphthna en Functional grammar hrux en Functionalism kilxd sukhekhxraemn Ghil ad Zuckermann Revivalistics rupaethnesiyngphasaphudsthxksrsakl IPA epnrabbrupaethnesiyngthiichekhiyn aelasamarthnamasngekhraahesiyngkhxng epnwithikarthxdsthxksrsakl odyichrhsaexski ASCII ethann phuekhiynhnngsuxbangraycaichrabbniaethnsthxksrephuxsadwkinkarphimph samarthhakhxmulephimetimidthi ohmephckhxng SAMPAmummxngaekhbkhxngphasasastrkhawa phasasastr aela nkphasasastr xaccaimsamarthnamaprayuktichidkwangkhwangxyangthiidklawiwkhangbnkid inbangkrni khaniyamthidithisudsahrbkhawa phasasastr khngcaepn wichathisxnkninphakhwichaphasasastrkhxngmhawithyaly aela nkphasasastr kkhngcaepn phuthiepnsastracaryinphakhwichaphasasastr phasasastrinmummxngaekhbmkcaimidklawthungkareriynephuxphudphasatangpraeths ykewnwacachwyihehnomedlfxrmxlkhxngphasaiddikhun aelakimidrwmexa Literary analysis iwely miephiyngbangkhrngethannthixaccamikarsuksaenuxhabangxyangtamkhwamcaepn echnxuplksn bangkhrngniyamehlanikimsamarthnamaichkbnganwicyinaenwkahndkdeknthid dngechnthiphbinngan The Element of Style khxng William Strunk Jr aelaiwth E B White nkphasasastrmkcaepnphukhnhawaphuichphasaichphasaxyangir makkwathicaipkahndwaphuichphasakhwrichphasaxyangir kartdsinwaikhrepnhruximepnnkphasasastrnnepnipidwatxngichewlananinkartdsinduephimsungepnhnacxthixxkaebbmaephuxcdraebiybkhxmulekiywkbphasasastrbnwikiphiediy niruktisastr sungepnkarsuksaaelaphasathiich phasasastrcitwithyaxangxing Jonathan Webster 2006 On Language and Linguistics Continuum International Publishing Group p vii ISBN 978 0 8264 8824 4 phasasastrkhuxxair arts chula subkhnemux 2023 08 06 brrnanukrmAkmajian Adrian Demers Richard Farmer Ann Harnish Robert 2010 Linguistics An Introduction to Language and Communication Cambridge MA The MIT Press ISBN 978 0 262 51370 8 Aronoff Mark Rees Miller Janie b k 2000 The handbook of linguistics Oxford Blackwell Bloomfield Leonard 1983 1914 An Introduction to the Study of Language New edition Amsterdam John Benjamins Publishing ISBN 978 90 272 8047 3 Chomsky Noam 1998 On Language The New Press New York ISBN 978 1 56584 475 9 Derrida Jacques 1967 Of Grammatology The Johns Hopkins University Press ISBN 978 0 8018 5830 7 Hall Christopher 2005 An Introduction to Language and Linguistics Breaking the Language Spell Routledge ISBN 978 0 8264 8734 6 Isac Daniela Charles Reiss 2013 Oxford University Press ISBN 978 0 19 966017 9 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2011 07 06 subkhnemux 2021 11 02 Pinker Steven 1994 The Language Instinct William Morrow and Company ISBN 978 0 14 017529 5 Crystal David 1990 Linguistics Penguin Books ISBN 978 0 14 013531 2 aehlngkhxmulxunThe Linguist List a global online linguistics community with news and information updated daily Glossary of linguistic terms by SIL International last updated 2004 Glottopedia MediaWiki based encyclopedia of linguistics under construction according to the Linguistic Society of America Linguistics and language related wiki articles on Scholarpedia and Citizendium Linguistics section A Bibliography of Literary Theory Criticism and Philology ed J A Garcia Landa University of Zaragoza Spain Isac Daniela Charles Reiss 2013 I language An Introduction to Linguistics as Cognitive Science 2nd edition Oxford University Press ISBN 978 0 19 953420 3 phasasastr thiewbist Curlie smithth thnxmsasna 2556 Linguistic Turn kbkhxthkethiyngthangprawtisastrkhxngolktawntk warsarprawtisastr chbbkhrbrxb 100 pichatkal sastracarykhcr sukhphanich 98 119 phasasastr thiokhrngkarphinxngkhxngwikiphiediy hakhwamhmay cak wikiphcnanukrmphaphaelasux cak khxmmxnsenuxhakhaw cak wikikhawkhakhm cak wikikhakhmkhxmultnchbb cak wikisxrshnngsux cak wikitaraaehlngeriynru cak wikiwithyalykhxmul cak wikisneths