ภาษาแต้จิ๋ว (潮州話, เตี่ยจิวอ่วย) เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาจีน หมิ่น-หนาน จัดเป็นหนึ่งในตระกูลภาษาของฮกเกี้ยน และ เป็นหนึ่งในภาษาที่พูดกันในภูมิภาคของจีน คำว่าแต้จิ๋วในภาษาอังกฤษจะใช้คำว่า Teochew (Diojiu, Teochiu, Tiuchiu, Teochew เขียนสะกดได้หลายแบบ) หรือ Chaozhou (เฉาโจว อ่านตามภาษาจีนกลาง)
ภาษาแต้จิ๋ว | |
---|---|
เตี่ยจิวอ่วย, เฉาโจวฮว่า | |
潮州話 / 潮汕話 / 潮語 | |
ประเทศที่มีการพูด | |
ภูมิภาค | มณฑลกวางตุ้งตะวันออก (), ประเทศไทย, ประเทศเวียดนามตอนใต้กับกัมพูชา, ประเทศอินโดนีเซีย (จังหวัดจัมบีและจังหวัดกาลีมันตันตะวันตก), ประเทศสิงคโปร์ |
ชาติพันธุ์ | |
จำนวนผู้พูด | ประมาณ 14 ล้านคนใน (2004) โพ้นทะเลมากกว่า 5 ล้านคน[] (ไม่พบวันที่) |
ตระกูลภาษา | จีน-ทิเบต
|
รูปแบบก่อนหน้า |
|
ภาษาถิ่น | (แต้จิ๋วกลาง) (Shantou) |
ระบบการเขียน | |
รหัสภาษา | |
ISO 639-3 | (มีการเสนอ tws ) |
79-AAA-ji | |
ภาษาแต้จิ๋ว (Teo-Swa) ในกลุ่มภาษาหมิ่นใต้ | |
ภาษาแต้จิ๋ว | |||||||||||||||||||||||||||||
อักษรจีนตัวเต็ม | 潮州話 | ||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
อักษรจีนตัวย่อ | 潮州话 | ||||||||||||||||||||||||||||
|
ภาษาแต้จิ๋วรักษาการออกเสียงและคำศัพท์หลายคำที่สูญหายไปจากสมัยใหม่บางภาษา ทำให้ภาษานี้ได้รับการอธิบายเป็นหนึ่งในภาษากลุ่มจีนที่ยังคงเดิมมากที่สุด
ชื่อเรียก
ภาษาแต้จิ๋วมีชื่อเรียกในประเทศจีนแตกต่างกันหลายอย่าง ชาวแต้จิ๋วเองเรียกชื่อภาษาตัวเองว่า เตี่ยจิวอ่วย ส่วนในภาษาจีนกลางจะออกเสียงว่า เฉาซ่านฮว่า ต่อมาเมื่อเมืองซัวเถาเจริญรุ่งเรื่องขึ้นเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและการเมืองแทนเมืองแต้จิ๋ว คนต่างถิ่นจึงนิยมเรียกภาษานี้ว่า ซ่านโถวฮว่า หรือ ซัวเถาอ่วย ในภาษาแต้จิ๋ว หมายถึงภาษาพูดถิ่นซัวเถา ต่อมานิยมเรียกว่า เฉาซ่านฮว่า (เตี่ยซัวอ่วย) หมายถึง ภาษาพูดถิ่นแต้จิ๋ว-ซัวเถา เพื่อให้ครอบคลุมท้องถิ่นที่พูดภาษานี้ชัดเจนยิ่งขึ้น ในแวดวงวิชาภาษาศาสตร์และภาษาถิ่นจีนนิยมเรียกว่า เฉาซ่านฟางเอี๋ยน (เตี่ยซัวฮวงงั้ง) หมายถึงภาษาถิ่นแต้จิ๋ว อีกชื่อหนึ่งที่นิยมใช้เป็นภาษาหนังสือเรียกภาษาถิ่นนี้คือ เฉาอี่ว์ (เตี่ยงื่อ) หมายถึงภาษาของจีนแต้จิ๋วหรือภาษาแต้จิ๋วนั่นเอง
มีอีกชื่อหนึ่งที่ชาวจีนแคะใช้เรียกภาษานี้จนเป็นที่รู้จักคือภาษาฮกล่อ (ภาษาแคะว่า ฮกล่อฝ่า) เนื่องจากคำว่าฮกล่อเป็นชื่อกลุ่มชาติพันธุ์ที่ใช้ภาษาหมิ่นใต้ที่แพร่หลายอีกชื่อหนึ่ง
ประวัติและท้องถิ่นที่พูด
ภาษาแต้จิ๋วในปัจจุบัน เป็นภาษาที่พัฒนามาจากภาษาจีนโบราณของตระกูลหมิ่นหนาน เมื่อประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 9–15 มีกลุ่มชาว หมิ่น (หมิ่น) ได้อพยพลงใต้จากมณฑลฝูเจี้ยน (หรือฮกเกี้ยน) มาที่ทางตะวันออกของมณฑลกวางตุ้ง ในเขตที่เรียกว่า เตี่ยซัว การอพยพดังกล่าวมีสาเหตุมาจากประชากรที่มากขึ้นในมณฑลฝูเจี้ยน เนื่องจากภูมิประเทศใหม่ที่ค่อนข้างตัดขาดจากมณฑลฮกเกี้ยนเดิม ภาษาแต้จิ๋วจึงได้กลายมาเป็นภาษาเอกเทศในภายหลัง ภาษาแต้จิ๋วนั้นจะพูดในเขตที่เรียกรวมกันว่า "เตี่ยซัว" ซึ่งมีเมืองแต้จิ๋ว (หรือเฉาโจวในภาษาจีนกลาง) และซัวเถา (หรือ ซั่นโถว ในภาษาจีนกลาง) เป็นหลัก ซึ่งเป็นที่มาของชื่อ "เตี่ยซัว" ดังกล่าว นอกจากนั้น ยังพูดกันในเมืองกิ๊กเอี๊ย เตี่ยเอี๊ยะ โผวเล้ง เตี่ยอัง เหยี่ยวเพ้ง ฮุ่ยไล้ และ เถ่งไฮ่ เขตเตี่ยซัวเคยเป็นเขตหนึ่งที่มีคนจีนอพยพออกนอกประเทศเป็นอันมากไปยังเอเชียอาคเนย์ในคริสต์ศตวรรษที่ 18–20 ซึ่งทำให้ภาษาแต้จิ๋วเป็นภาษาหลักหนึ่งในภาษาที่พูดกันมากในกลุ่ม ชาวจีนอพยพ โดยเฉพาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ประเทศไทย กัมพูชา สิงคโปร์ เวียดนาม มาเลเซีย อินโดนีเซีย และ ฮ่องกง และยังมีในทวีปยุโรป และ ทวีปอเมริกา ที่มีชาวจีนแต้จิ๋วอพยพไป
อย่างไรก็ตาม ในยุคโลกาภิวัตน์นั้นภาษาแต้จิ๋วได้ลดความนิยมลงไปมากในหมู่ชาวแต้จิ๋ว เช่น ในสิงคโปร์ เยาวชนที่เดิมพูดแต้จิ๋วได้เปลี่ยนไปพูดภาษาอังกฤษมากขึ้น เนื่องจากวัฒนธรรมส่วนใหญ่และอิทธิพลของสื่อสารมวลชน
สัทศาสตร์
อักษรละตินตัวเอนหมายถึงอักษรที่นิยมใช้ทับศัพท์แทนเสียง อักษรไทยในวงเล็บคือเสียงอักษรที่ใกล้เคียง
เสียงพยัญชนะ
นาสิก | /m/ m (ม) | /n/ n (น) | /ŋ/ ng (ง) | ||
---|---|---|---|---|---|
กัก | /pʰ/ p (พ) | /tʰ/ t (ท) | /kʰ/ k (ค) | ||
/p/ b (ป) | /t/ d (ต) | /k/ g (ก) | /ʔ/ - (อ) | ||
/b/ bh (บ) | /ɡ/ gh (ก̃) | ||||
/tsʰ/ c (ช) | |||||
/ts/ z (จ) | |||||
/dz/ j/r (จ̃) | |||||
/s/ s (ซ) | /h/ h (ฮ) | ||||
/l/ l (ล) |
เสียงสระและพยัญชนะสะกด
เสียงสระอาจเป็นเสียงสั้นหรือเสียงยาวก็ได้ แต่สำหรับเสียงสระ+สะกดกักแสดงด้วยเสียงสั้นเท่านั้น คล้ายวิธีอ่านสระเสียงสั้นในภาษาไทย สระขึ้นจมูกมิได้หมายความว่าสะกดด้วย น แต่เวลาออกเสียงสระให้ปล่อยลมทางจมูกด้วย
กลุ่มสระ | อ้าปาก | แย้มฟัน | ห่อปาก |
---|---|---|---|
สระพื้นฐาน | [i] i (อี) | [u] u (อู) | |
[a] a (อา) | [ia] ia (เอีย) | [ua] ua (อัว) | |
[o] o (โอ) | [io] io (อี-โอ) | ||
[e] ê (เอ) | [ie] iê (อี-เอ) | [ue] uê (อู-เอ) | |
[ɯ] e (อือ) | |||
[ai] ai (อาย) | [uai] uai (อวย) | ||
[oi] oi (โอย) | [ui] ui (อูย) | ||
[ao] ao (อาว) | |||
[ou] ou (โอว) | [iou] iou (เอียว) | ||
[iu] iu (อีว) | |||
สระขึ้นจมูก | [ĩ] in (อีน̃) | ||
[ã] an (อาน̃) | [ĩã] ian (เอียน̃) | [ũã] uan (อวน̃) | |
[ĩõ] ion (อี-โอน̃) | |||
[ẽ] ên (เอน̃) | 【[ĩẽ] iên (อี-เอน̃)】 | [ũẽ] uên (อู-เอน̃) | |
[ɯ̃] en (อืน̃) | |||
[ãĩ] ain (อายน̃) | [ũãĩ] uain (อวยน̃) | ||
[õĩ] oin (โอยน̃) | [ũĩ] uin (อูยน̃) | ||
[ãõ] aon (อาวน̃) | |||
[õũ] oun (โอวน̃) | |||
[ĩũ] iun (อีวน̃) | |||
สระ+สะกดนาสิก | [im] im (อีม) | ||
[am] am (อาม) | [iam] iam (เอียม) | [uam] uam (อวม) | |
[iŋ] ing (อีง) | [uŋ] ung (อูง) | ||
[aŋ] ang (อาง) | [iaŋ] iang (เอียง) | [uaŋ] uang (อวง) | |
[oŋ] ong (โอง) | [ioŋ] iong (อี-โอง) | ||
[eŋ] êng (เอง) | [ieŋ] iêng (อี-เอง) | [ueŋ] uêng (อู-เอง) | |
【[ɯŋ] eng (อืง)】 | |||
สระ+สะกดกัก | [iʔ] ih (อิ) | ||
[aʔ] ah (อะ) | [iaʔ] iah (เอียะ) | [uaʔ] uah (อัวะ) | |
[oʔ] oh (โอะ) | [ioʔ] ioh (อิ-โอะ) | ||
[eʔ] êh (เอะ) | 【[ueʔ] uêh (อุ-เอะ)】 | ||
[oiʔ] oih (โอะ-อิ) | |||
[aoʔ] aoh (อะ-โอะ) | |||
[ip̚] ib (อิบ) | |||
[ap̚] ab (อับ) | [iap̚] iab (เอียบ) | [uap̚] uab (อ็วบ) | |
[ik̚] ig (อิก) | [uk̚] ug (อุก) | ||
[ak̚] ag (อัก) | [iak̚] iag (เอียก) | [uak̚] uag (อ็วก) | |
[ok̚] og (อก) | [iok̚] iog (อิ-อก) | ||
[ek̚] êg (เอ็ก) | [iek̚] iêg (อิ-เอ็ก) | [uek̚] uêg (อุ-เอ็ก) | |
[ɯek̚] eg (อึก) | |||
สระเสริม | [m] m (มฺ) | [ŋ] ng (งฺ) | [ŋʔ] ngh (งฺอ์) |
เสียงวรรณยุกต์
เสียงวรรณยุกต์มีสองกลุ่มคือ อิม (陰 หรือหยิน) กับ เอี๊ยง (陽 หรือหยาง) กลุ่มละสี่เสียง รวมแปดเสียง เสียงสระ+สะกดกักจะมีเสียงวรรณยุกต์ 4 หรือ 8 เท่านั้น
วรรณยุกต์ | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ชื่อ | อิมเพ้ง (陰平) | อิมเจี่ยน (陰上) | อิมขื่อ (陰去) | อิมยิบ (陰入) | เอี๊ยงเพ้ง (陽平) | เอี๊ยงเจี่ยน (陽上) | เอี๊ยงขื่อ (陽去) | เอี๊ยงยิบ (陽入) |
ระดับเสียง | ˧˧ 33 | ˥˨ 52 | ˨˩˧ 213 | ˨ʔ 2 | ˥˥ 55 | ˧˥ 35 | ˩˩ 11 | ˦ʔ 4 |
ลักษณะ | กลางราบ | สูงตก | ต่ำยก | ต่ำหยุด | สูงราบ | สูงยก | ต่ำราบ | สูงหยุด |
ตัวอย่าง | 分 | 粉 | 訓 | 忽 | 雲 | 混 | 份 | 佛 |
คำอ่าน | hung1 (ฮูง) | hung2 (หู้ง/ฮู่ง) | hung3 (หู่ง-ปลายยก) | hug4 (หุก) | hung5 (ฮู้ง) | hung6 (หูง) | hung7 (หู่ง/หูง) | hug8 (ฮุก) |
ดูเพิ่ม
หมายเหตุ
- เชื่อกันว่าภาษาหมิ่นแยกจากภาษาจีนเก่ามากกว่าภาษาจีนสมัยกลางอย่างวิธภาษาจีนอื่น ๆ
อ้างอิง
- . Sin Chew. 2021-01-09. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-03-19. สืบค้นเมื่อ 2024-04-18.
- Language atlas of China (2nd edition), , 2012, ISBN .
- (1970), "Tones and prosody in Middle Chinese and the origin of the rising tone", Harvard Journal of Asiatic Studies, 30: 86–110, doi:10.2307/2718766, JSTOR 2718766
- (1984), Middle Chinese: A study in Historical Phonology, Vancouver: University of British Columbia Press, p. 3, ISBN
- ; Forkel, Robert; ; Bank, Sebastian (2023-07-10). "Glottolog 4.8 - Min". . Leipzig: . doi:10.5281/zenodo.7398962. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-10-13. สืบค้นเมื่อ 2023-10-13.
- "Change Request Documentation: 2021-045". 31 August 2021. สืบค้นเมื่อ 30 May 2022.
- Yap, Foong Ha; Grunow-Hårsta, Karen; Wrona, Janick, บ.ก. (2011). Nominalization in Asian Languages: Diachronic and typological perspectives. . p. 11. ISBN .
- ถาวร สิกขโกศล. ภาษาแต้จิ๋ว (๑). ในศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 30 ฉบับที่ 12 ตุลาคม 2552 กรุงเทพ:สำนักพิมพ์มติชน,2552. หน้า 141
- Dylan W.H. Sung (28 มกราคม พ.ศ. 2546). (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-01-11. สืบค้นเมื่อ 2010-05-29.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|date=
((help)); ไม่รู้จักพารามิเตอร์|accessmonthday=
ถูกละเว้น ((help)); ไม่รู้จักพารามิเตอร์|accessyear=
ถูกละเว้น แนะนำ (|access-date=
) ((help))
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phasaaetciw 潮州話 etiyciwxwy epnhnungintrakulphasacin hmin hnan cdepnhnungintrakulphasakhxnghkekiyn aela epnhnunginphasathiphudkninphumiphakhkhxngcin khawaaetciwinphasaxngkvscaichkhawa Teochew Diojiu Teochiu Tiuchiu Teochew ekhiynsakdidhlayaebb hrux Chaozhou echaocw xantamphasacinklang phasaaetciwetiyciwxwy echaocwhwa潮州話 潮汕話 潮語praethsthimikarphudphumiphakhmnthlkwangtungtawnxxk praethsithy praethsewiydnamtxnitkbkmphucha praethsxinodniesiy cnghwdcmbiaelacnghwdkalimntntawntk praethssingkhoprchatiphnthucanwnphuphudpraman 14 lankhnin 2004 ophnthaelmakkwa 5 lankhn txngkarxangxing imphbwnthi trakulphasacin thiebt cincinhminhminchayfngphasahminitphasaaetciwrupaebbkxnhnaphasaaetciwphasathin aetciwklang Shantou rabbkarekhiynrhsphasaISO 639 3 mikaresnx tws 79 AAA ji phasaaetciw Teo Swa inklumphasahminitbthkhwamnimisylksnsthxksrsakl hakrabbkhxngkhunimrxngrbkaraesdngphlthithuktxng khunxacehnprsni klxng hruxsylksnxyangxunaethnthixkkhrayuniokhdphasaaetciwxksrcintwetm潮州話xksrcintwyx潮州话karthxdesiyngphasacinklangmatrthanhny hwiphinxinChaozhōu huaphasaxuxksrormnzau tseu ghae hophasaaekhaTsheu chu faphasakwangtungmatrthany hwidephngCiu4 zau1 waa2phasahminitphasahkekiynTio chiu ōephasaaetciwDio ziu ue phasahmintawnxxkDieu ciŭ ua phasaaetciwrksakarxxkesiyngaelakhasphthhlaykhathisuyhayipcaksmyihmbangphasa thaihphasaniidrbkarxthibayepnhnunginphasaklumcinthiyngkhngedimmakthisudchuxeriykphasaaetciwmichuxeriykinpraethscinaetktangknhlayxyang chawaetciwexngeriykchuxphasatwexngwa etiyciwxwy swninphasacinklangcaxxkesiyngwa echasanhwa txmaemuxemuxngswethaecriyrungeruxngkhunepnsunyklangthangesrsthkicaelakaremuxngaethnemuxngaetciw khntangthincungniymeriykphasaniwa sanothwhwa hrux swethaxwy inphasaaetciw hmaythungphasaphudthinswetha txmaniymeriykwa echasanhwa etiyswxwy hmaythung phasaphudthinaetciw swetha ephuxihkhrxbkhlumthxngthinthiphudphasanichdecnyingkhun inaewdwngwichaphasasastraelaphasathincinniymeriykwa echasanfangexiyn etiyswhwngngng hmaythungphasathinaetciw xikchuxhnungthiniymichepnphasahnngsuxeriykphasathinnikhux echaxiw etiyngux hmaythungphasakhxngcinaetciwhruxphasaaetciwnnexng mixikchuxhnungthichawcinaekhaicheriykphasanicnepnthiruckkhuxphasahklx phasaaekhawa hklxfa enuxngcakkhawahklxepnchuxklumchatiphnthuthiichphasahminitthiaephrhlayxikchuxhnungprawtiaelathxngthinthiphudphasaaetciwinpccubn epnphasathiphthnamacakphasacinobrankhxngtrakulhminhnan emuxpramankhriststwrrsthi 9 15 miklumchaw hmin hmin idxphyphlngitcakmnthlfueciyn hruxhkekiyn mathithangtawnxxkkhxngmnthlkwangtung inekhtthieriykwa etiysw karxphyphdngklawmisaehtumacakprachakrthimakkhuninmnthlfueciyn enuxngcakphumipraethsihmthikhxnkhangtdkhadcakmnthlhkekiynedim phasaaetciwcungidklaymaepnphasaexkethsinphayhlng phasaaetciwnncaphudinekhtthieriykrwmknwa etiysw sungmiemuxngaetciw hruxechaocwinphasacinklang aelaswetha hrux snothw inphasacinklang epnhlk sungepnthimakhxngchux etiysw dngklaw nxkcaknn yngphudkninemuxngkikexiy etiyexiya ophwelng etiyxng ehyiywephng huyil aela ethngih ekhtetiyswekhyepnekhthnungthimikhncinxphyphxxknxkpraethsepnxnmakipyngexechiyxakhenyinkhriststwrrsthi 18 20 sungthaihphasaaetciwepnphasahlkhnunginphasathiphudknmakinklum chawcinxphyph odyechphaainexechiytawnxxkechiyngit echn praethsithy kmphucha singkhopr ewiydnam maelesiy xinodniesiy aela hxngkng aelayngmiinthwipyuorp aela thwipxemrika thimichawcinaetciwxphyphip xyangirktam inyukholkaphiwtnnnphasaaetciwidldkhwamniymlngipmakinhmuchawaetciw echn insingkhopr eyawchnthiedimphudaetciwidepliynipphudphasaxngkvsmakkhun enuxngcakwthnthrrmswnihyaelaxiththiphlkhxngsuxsarmwlchnsthsastrxksrlatintwexnhmaythungxksrthiniymichthbsphthaethnesiyng xksrithyinwngelbkhuxesiyngxksrthiiklekhiyng esiyngphyychna esiyngphyychnakhxngphasaaetciw nasik m m m n n n ŋ ng ng kk pʰ p ph tʰ t th kʰ k kh p b p t d t k g k ʔ x b bh b ɡ gh k tsʰ c ch ts z c dz j r c s s s h h h l l l esiyngsraaelaphyychnasakd esiyngsraxacepnesiyngsnhruxesiyngyawkid aetsahrbesiyngsra sakdkkaesdngdwyesiyngsnethann khlaywithixansraesiyngsninphasaithy srakhuncmukmiidhmaykhwamwasakddwy n aetewlaxxkesiyngsraihplxylmthangcmukdwy esiyngsrakhxngphasaaetciw klumsra xapak aeymfn hxpaksraphunthan i i xi u u xu a a xa ia ia exiy ua ua xw o o ox io io xi ox e e ex ie ie xi ex ue ue xu ex ɯ e xux ai ai xay uai uai xwy oi oi oxy ui ui xuy ao ao xaw ou ou oxw iou iou exiyw iu iu xiw srakhuncmuk ĩ in xin a an xan ĩa ian exiyn ũa uan xwn ĩo ion xi oxn ẽ en exn ĩẽ ien xi exn ũẽ uen xu exn ɯ en xun aĩ ain xayn ũaĩ uain xwyn oĩ oin oxyn ũĩ uin xuyn ao aon xawn oũ oun oxwn ĩũ iun xiwn sra sakdnasik im im xim am am xam iam iam exiym uam uam xwm iŋ ing xing uŋ ung xung aŋ ang xang iaŋ iang exiyng uaŋ uang xwng oŋ ong oxng ioŋ iong xi oxng eŋ eng exng ieŋ ieng xi exng ueŋ ueng xu exng ɯŋ eng xung sra sakdkk iʔ ih xi aʔ ah xa iaʔ iah exiya uaʔ uah xwa oʔ oh oxa ioʔ ioh xi oxa eʔ eh exa ueʔ ueh xu exa oiʔ oih oxa xi aoʔ aoh xa oxa ip ib xib ap ab xb iap iab exiyb uap uab xwb ik ig xik uk ug xuk ak ag xk iak iag exiyk uak uag xwk ok og xk iok iog xi xk ek eg exk iek ieg xi exk uek ueg xu exk ɯek eg xuk sraesrim m m m ŋ ng ng ŋʔ ngh ng x esiyngwrrnyukt esiyngwrrnyuktmisxngklumkhux xim 陰 hruxhyin kb exiyng 陽 hruxhyang klumlasiesiyng rwmaepdesiyng esiyngsra sakdkkcamiesiyngwrrnyukt 4 hrux 8 ethann esiyngwrrnyuktkhxngphasaaetciw wrrnyukt 1 2 3 4 5 6 7 8chux ximephng 陰平 ximeciyn 陰上 ximkhux 陰去 ximyib 陰入 exiyngephng 陽平 exiyngeciyn 陽上 exiyngkhux 陽去 exiyngyib 陽入 radbesiyng 33 52 213 ʔ 2 55 35 11 ʔ 4lksna klangrab sungtk tayk tahyud sungrab sungyk tarab sunghyudtwxyang 分 粉 訓 忽 雲 混 份 佛khaxan hung1 hung hung2 hung hung hung3 hung playyk hug4 huk hung5 hung hung6 hung hung7 hung hung hug8 huk duephimchawcinophnthael chawithyechuxsaycinhmayehtuechuxknwaphasahminaeykcakphasacinekamakkwaphasacinsmyklangxyangwithphasacinxun xangxing Sin Chew 2021 01 09 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2021 03 19 subkhnemux 2024 04 18 Language atlas of China 2nd edition 2012 ISBN 978 7 10 007054 6 1970 Tones and prosody in Middle Chinese and the origin of the rising tone Harvard Journal of Asiatic Studies 30 86 110 doi 10 2307 2718766 JSTOR 2718766 1984 Middle Chinese A study in Historical Phonology Vancouver University of British Columbia Press p 3 ISBN 978 0 7748 0192 8 Forkel Robert Bank Sebastian 2023 07 10 Glottolog 4 8 Min Leipzig doi 10 5281 zenodo 7398962 cakaehlngedimemux 2023 10 13 subkhnemux 2023 10 13 Change Request Documentation 2021 045 31 August 2021 subkhnemux 30 May 2022 Yap Foong Ha Grunow Harsta Karen Wrona Janick b k 2011 Nominalization in Asian Languages Diachronic and typological perspectives p 11 ISBN 978 9027206770 thawr sikkhoksl phasaaetciw 1 insilpwthnthrrm pithi 30 chbbthi 12 tulakhm 2552 krungethph sankphimphmtichn 2552 hna 141 Dylan W H Sung 28 mkrakhm ph s 2546 phasaxngkvs khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2010 01 11 subkhnemux 2010 05 29 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin date help imruckpharamietxr accessmonthday thuklaewn help imruckpharamietxr accessyear thuklaewn aenana access date help bthkhwamphasaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk