ภาษากอกบอรอก หรือ ภาษาตรีปุรี เป็นภาษาพื้นเมืองของ ในรัฐตรีปุระ และบริเวณใกล้เคียงในบังกลาเทศ เป็นภาษาตระกูลทิเบต-พม่า คำว่า กอกบอรอก มาจาก “kok” แปลว่า “ภาษา” และ “borok” ที่แปลว่าผู้ชาย ซึ่งใช้แทนชาวตรีปุระทั้งหมดด้วย ดังนั้น กอกบอรอก จึงหมายถึง “ภาษาของชาวตรีปุระ”
ภาษากอกบอรอก | |
---|---|
ตรีปุรี, ตีปรา | |
Kok Borok | |
ประเทศที่มีการพูด | อินเดีย และ บังกลาเทศ |
ภูมิภาค | รัฐตริปุระ, รัฐอัสสัม, รัฐมิโซรัม, ประเทศพม่า, , , , สิเลฏ, , , |
ชาติพันธุ์ | |
จำนวนผู้พูด | 1,011,294 (อินเดีย) (2011), 400,000+ (บังกลาเทศ) (2011) |
ตระกูลภาษา | จีน-ทิเบต
|
รูปแบบก่อนหน้า | ตีปราตอนต้น
|
ระบบการเขียน | กอลอมา (เดิม) (ทางการ) อักษรละติน (ทางการ) |
สถานภาพทางการ | |
ภาษาทางการ | อินเดีย |
รหัสภาษา | |
ISO 639-3 | มีหลากหลาย:trp – Kokborokria – reangtpe – Tripuriusi – Usuixtr – Early Tripuri |
นักภาษาศาสตร์ | xtr Early Tripuri |
ภูมิภาคที่มีผู้พูดภาษากอกบอรอกเป็นส่วนใหญ่ | |
แผนที่ชุดภาษาใกล้สูญของโลกจัดให้ภาษากอกบอรอกอยู่ในกลุ่มภาษาที่มีความเสี่ยง |
ประวัติ
ภาษากอกบอรอกเริ่มปรากฏในหลากหลายรูปแบบตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 6 เมื่อเริ่มมีพงศาวดารของกษัตริย์ตรีปุระ ซึ่งมีชื่อเรียกว่าราชรัตนกิจ เขียนด้วยภาษากอกบอรอก อักษรที่ใช้เขียนภาษากอกบอรอกเรียกว่า ผู้เขียนคือ คุรลอเบนดรา ชอนไต
ในเวลาต่อมา มีพราหมณ์ 2 คน คือ สุเกรสวัร และวเนศวัร ได้แปลพงศาวดารนี้เป็นภาษาสันสกฤตและแปลต่อเป็นภาษาเบงกอลเมื่อพุทธศตวรรษที่ 19 ส่วนฉบับเดิมที่เขียนด้วยภาษากอกบอรอกสูญหายไป ภาษากอกบอรอกถูกลดฐานะเป็นเพียงภาษาทั่วไปของสามัญชนตลอดสมัย ในขณะที่ภาษาเบงกอลเป็นภาษาราชการตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 19-25 ภาษากอกบอรอกเป็นภาษาราชการของรัฐตรีปุระเมื่อ พ.ศ. 2522 ปัจจุบันถือเป็นภาษาประจำชาติภาษาหนึ่งของอินเดีย
ไวยากรณ์
บทความหลัก:ไวยากรณ์ภาษากอกบอรอก
การจัดจำแนกและภาษาใกล้เคียง
ภาษากอกบอรอกจัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต สาขาทิเบต-พม่า มีความใกล้เคียงกับภาษาโบโด และ ในรัฐอัสสัม รวมทั้งที่ใช้พูดในบังกลาเทศ
ระบบเสียง
โดยส่วนใหญ่เป็นไปตามมาตรฐานของตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ดังนี้
สระ
มี 6 เสียง คือ a e i o u และ w (อา เอ อี ออ อู และ อือ ตามลำดับ) เสียง w ใกล้เคียงกับเสียง ü ในภาษาเยอรมัน และเสียง u ในภาษาฝรั่งเศส
หน้า | กลาง | หลัง | |
---|---|---|---|
สูง | i [i] | ŵ [ə] | u [u] |
สูง-กลาง | e [e] | ||
ต่ำ-กลาง | o [ɔ] | ||
ต่ำ | a [a] |
พยัญชนะ
หยุด/ | ไม่ก้อง | p | t | t͡ʃ | k | |
---|---|---|---|---|---|---|
pʰ | tʰ | t͡ʃʰ | kʰ | |||
b | d | d͡ʒ | ɡ | |||
ไม่ก้อง | s | h | ||||
นาสิก | m | n | ŋ | |||
l, r | ||||||
w | j |
สระประสม
ได้แก ai wi ui oi (อัย อืย อุย และออย ตามลำดับ)
พยางค์
คำส่วนใหญ่เกิดจากการรวมรากศัพท์กับปัจจัยหรืออุปสรรค ตัวอย่างเช่น
- kuchuk (กูชุก) มาจากรากศัพท์ chuk หมายถึงสูง รวมกับอุปสรรค ku
ไม่มีคำในภาษากอกบอรอกที่ขึ้นต้นด้วย ng ตำแหน่งท้ายพยางค์จะมีสระอะไรก็ได้ยกเว้น w พยัญชนะที่เป็นตัวสะกดได้ คือ p k m n ng r l เสียง y ที่เป็นตัวสะกดมักพบในสระประสม เช่น ai wi
กลุ่มพยัญชนะ
กลุ่มของพยัญชนะที่พบในภาษากอกบอรอกมักเป็นเสียงควบกล้ำของ r หรือ l กับพยัญชนะอื่น เช่น p หรือ ph
วรรณยุกต์
มีสองเสียงคือเสียงสูงและเสียงต่ำ เสียงสูงแสดงโดยเติม h หลังสระ เช่น Lai (ไล) = ง่าย laih (ไหล) = ข้าม Cha (ชา) = ถูก Chah (ฉา) = กิน
สำเนียง
ชุมชนชาวตรีปุระประกอบด้วยเผ่าและเผ่าย่อยมากมายกระจายอยู่ในรัฐตรีปุระ อัสสัม และจังหวัดใกล้เคียงในบังกลาเทศโดยเฉพาะบริเวณจิตตะกอง เผ่าหลักๆจะมีสำเนียงเป็นของตนเอง ที่มีความแตกต่างระหว่างกันเล็กน้อย สำเนียงตะวันตกที่ใช้พูดบริเวณเมืองหลวงอาร์คาตาลาที่พูดโดยเผ่าเดบบาร์มาเป็นสำเนียงมาตรฐานที่ใช้ในโรงเรียนและการเขียนและเป็นที่เข้าใจโดยั่วไปในฐานะภาษากลางของชาวตรีปุระในระหวางหุบเขา มีการใช้ภาษานี้สอนในมหาวิทยาลัยในระดับบัณฑิตศึกษา
การเขียน
ภาษากอกบอรอกมีอักษรเป็นของตนเองเรียกกอลอมาซึ่งสาบสูญไปแล้ว ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 14 ราชอาณาจักรตรีปุระใช้อักษรเบงกอลเขียนภาษากอกบอรอก ตั้งแต่อินเดียได้รับเอกราชและตรีปุระเป็นส่วนหนึ่งของอินเดีย มีการใช้อักษรโรมันโดยเฉพาะในองค์กรอกชน ปัญหาการใช้ตัวอักษรเป็นปัญหาการเมืองในตรีปุระ โดยฝ่ายซ้ายเสนอให้ใช้อักษรเบงกอล ในขณะที่ชาวคริสต์สนับสนุนให้ใช้อักษรโรมัน ปัจจุบันคงมีการใช้อักษรสองชนิดควบคู่กัน
ตัวเลข
มีทั้งเลขฐาน 10 และ การนับเลขได้แก่
sa = 1; nwi = 2; tham = 3; brwi = 4; ba = 5; dok = 6; sni = 7; char = 8; chuku =9; chi = 10; rasa = 100; saisa = 1,000 rwjag = 100,000; chisa = 10 + 1 = 11
อ้างอิง
- Census of India 2011 - Languages and Mother tongues
- Kokborok ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
reang ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
Tripuri ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
Usui ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
Early Tripuri ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก) - Veikho, Sahiinii Lemaina; Mushahary, Jitamoni (2015). "A preliminary acoustic study of vowels and tones in Kokborok". Nepalese Linguistics. 30: 161–166.
อ่านเพิ่ม
- Pushpa Pai (Karapurkar). 1976. Kókborok Grammar. (CIIL Grammar series ; 3). Mysore: Central Institute of Indian Languages. OCLC 5750101
- Jacquesson, François (2003). "Kókborok, a short analysis". Hukumu, 10th anniversary volume. . pp. 109–122. OCLC 801647829.
- Jacquesson, François (2008). A Kokborok Grammar (Agartala dialect). Tripura Tribal Areas Autonomous District Council (TTAADC)
- Binoy Debbarma. 2002. Anglo-Kókborok-Bengali Dictionary. 2nd edition. Agartala: Kókborok Tei Hukumu Mission (KOHM).
แหล่งข้อมูลอื่น
- Kok Dictionary 2021-02-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน: Online Kokborok Dictionary
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phasakxkbxrxk hrux phasatripuri epnphasaphunemuxngkhxng inrthtripura aelabriewniklekhiynginbngklaeths epnphasatrakulthiebt phma khawa kxkbxrxk macak kok aeplwa phasa aela borok thiaeplwaphuchay sungichaethnchawtripurathnghmddwy dngnn kxkbxrxk cunghmaythung phasakhxngchawtripura phasakxkbxrxktripuri tipraKok Borokpraethsthimikarphudxinediy aela bngklaethsphumiphakhrthtripura rthxssm rthmiosrm praethsphma sielt chatiphnthucanwnphuphud1 011 294 xinediy 2011 400 000 bngklaeths 2011 trakulphasacin thiebt phasakxkbxrxkrupaebbkxnhnatipratxntn phasakxkbxrxkrabbkarekhiynkxlxma edim thangkar xksrlatin thangkar sthanphaphthangkarphasathangkar xinediy rthtripurarhsphasaISO 639 3mihlakhlay a href https iso639 3 sil org code trp class extiw title iso639 3 trp trp a Kokborok a href https iso639 3 sil org code ria class extiw title iso639 3 ria ria a reang a href https iso639 3 sil org code tpe class extiw title iso639 3 tpe tpe a Tripuri a href https iso639 3 sil org code usi class extiw title iso639 3 usi usi a Usui a href https iso639 3 sil org code xtr class extiw title iso639 3 xtr xtr a Early Tripurinkphasasastrxtr Early Tripuri phumiphakhthimiphuphudphasakxkbxrxkepnswnihyaephnthichudphasaiklsuykhxngolkcdihphasakxkbxrxkxyuinklumphasathimikhwamesiyngprawtiphasakxkbxrxkerimpraktinhlakhlayrupaebbtngaetphuththstwrrsthi 6 emuxerimmiphngsawdarkhxngkstriytripura sungmichuxeriykwarachrtnkic ekhiyndwyphasakxkbxrxk xksrthiichekhiynphasakxkbxrxkeriykwa phuekhiynkhux khurlxebndra chxnit inewlatxma miphrahmn 2 khn khux suekrswr aelawenswr idaeplphngsawdarniepnphasasnskvtaelaaepltxepnphasaebngkxlemuxphuththstwrrsthi 19 swnchbbedimthiekhiyndwyphasakxkbxrxksuyhayip phasakxkbxrxkthukldthanaepnephiyngphasathwipkhxngsamychntlxdsmy inkhnathiphasaebngkxlepnphasarachkartngaetphuththstwrrsthi 19 25 phasakxkbxrxkepnphasarachkarkhxngrthtripuraemux ph s 2522 pccubnthuxepnphasapracachatiphasahnungkhxngxinediyiwyakrnbthkhwamhlk iwyakrnphasakxkbxrxkkarcdcaaenkaelaphasaiklekhiyngphasakxkbxrxkcdxyuintrakulphasacin thiebt sakhathiebt phma mikhwamiklekhiyngkbphasaobod aela inrthxssm rwmthngthiichphudinbngklaethsrabbesiyngodyswnihyepniptammatrthankhxngtrakulphasayxythiebt phma dngni sra mi 6 esiyng khux a e i o u aela w xa ex xi xx xu aela xux tamladb esiyng w iklekhiyngkbesiyng u inphasaeyxrmn aelaesiyng u inphasafrngess sra hna klang hlngsung i i ŵ e u u sung klang e e ta klang o ɔ ta a a phyychna phyychna hyud imkxng p t t ʃ k pʰ tʰ t ʃʰ kʰ b d d ʒ ɡ imkxng s hnasik m n ŋ l r w j sraprasm idaek ai wi ui oi xy xuy xuy aelaxxy tamladb phyangkh khaswnihyekidcakkarrwmraksphthkbpccyhruxxupsrrkh twxyangechn kuchuk kuchuk macakraksphth chuk hmaythungsung rwmkbxupsrrkh ku immikhainphasakxkbxrxkthikhuntndwy ng taaehnngthayphyangkhcamisraxairkidykewn w phyychnathiepntwsakdid khux p k m n ng r l esiyng y thiepntwsakdmkphbinsraprasm echn ai wi klumphyychna klumkhxngphyychnathiphbinphasakxkbxrxkmkepnesiyngkhwbklakhxng r hrux l kbphyychnaxun echn p hrux ph wrrnyukt misxngesiyngkhuxesiyngsungaelaesiyngta esiyngsungaesdngodyetim h hlngsra echn Lai il ngay laih ihl kham Cha cha thuk Chah cha kinsaeniyngchumchnchawtripuraprakxbdwyephaaelaephayxymakmaykracayxyuinrthtripura xssm aelacnghwdiklekhiynginbngklaethsodyechphaabriewncittakxng ephahlkcamisaeniyngepnkhxngtnexng thimikhwamaetktangrahwangknelknxy saeniyngtawntkthiichphudbriewnemuxnghlwngxarkhatalathiphudodyephaedbbarmaepnsaeniyngmatrthanthiichinorngeriynaelakarekhiynaelaepnthiekhaicodywipinthanaphasaklangkhxngchawtripurainrahwanghubekha mikarichphasanisxninmhawithyalyinradbbnthitsuksakarekhiynphasakxkbxrxkmixksrepnkhxngtnexngeriykkxlxmasungsabsuyipaelw tngaetphuththstwrrsthi 14 rachxanackrtripuraichxksrebngkxlekhiynphasakxkbxrxk tngaetxinediyidrbexkrachaelatripuraepnswnhnungkhxngxinediy mikarichxksrormnodyechphaainxngkhkrxkchn pyhakarichtwxksrepnpyhakaremuxngintripura odyfaysayesnxihichxksrebngkxl inkhnathichawkhristsnbsnunihichxksrormn pccubnkhngmikarichxksrsxngchnidkhwbkhukn twelkh mithngelkhthan 10 aela karnbelkhidaek sa 1 nwi 2 tham 3 brwi 4 ba 5 dok 6 sni 7 char 8 chuku 9 chi 10 rasa 100 saisa 1 000 rwjag 100 000 chisa 10 1 11xangxingCensus of India 2011 Languages and Mother tongues Kokborok thi Ethnologue 18th ed 2015 txngsmkhrsmachik reang thi Ethnologue 18th ed 2015 txngsmkhrsmachik Tripuri thi Ethnologue 18th ed 2015 txngsmkhrsmachik Usui thi Ethnologue 18th ed 2015 txngsmkhrsmachik Early Tripuri thi Ethnologue 18th ed 2015 txngsmkhrsmachik Veikho Sahiinii Lemaina Mushahary Jitamoni 2015 A preliminary acoustic study of vowels and tones in Kokborok Nepalese Linguistics 30 161 166 xanephimPushpa Pai Karapurkar 1976 Kokborok Grammar CIIL Grammar series 3 Mysore Central Institute of Indian Languages OCLC 5750101 Jacquesson Francois 2003 Kokborok a short analysis Hukumu 10th anniversary volume pp 109 122 OCLC 801647829 Jacquesson Francois 2008 A Kokborok Grammar Agartala dialect Tripura Tribal Areas Autonomous District Council TTAADC Binoy Debbarma 2002 Anglo Kokborok Bengali Dictionary 2nd edition Agartala Kokborok Tei Hukumu Mission KOHM aehlngkhxmulxunKok Dictionary 2021 02 27 thi ewyaebkaemchchin Online Kokborok Dictionarymikarthdsxb phasakxkbxrxk khxngwikiphiediy thiwikimiediy xinkhiwebetxr