ไวยากรณ์ภาษากอกบอรอก มีลักษณะคล้ายกับตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่าอื่นๆ ไม่มีการผันรูปกริยา มีการผันคำนามตามการกโดยเติมปัจจัยต่อท้ายนาม
การเรียงประโยค
- ประธาน-กรรม- กริยา เช่น Naisok ไนซอก mai ไม (ข้าว) chao เชา (กิน) = ไนซอกกินข้าว
- คำแสดงความเป็นเจ้าของ-ประธาน-คำถาม เช่น Nini นีนี (ของคุณ) mung มุง (ชื่อ) tamo ตามอ (อะไร) = คุณชื่ออะไร
- ประธาน-กริยา-คำถาม เช่น Nwng นืง (คุณ) thangnaide ทังไนเด (จะไป) = คุณจะไปหรือ
- ประธาน-คำถาม-กริยา เช่น Nwng นืง (คุณ) tamoni bagwi ตามอนี บักวี (ทำไม) phai ไพ (มา) = คุณมาทำไม
- ประธาน-กริยา-คำสั่ง เช่น Nwng นืง (คุณ) thangdi ทังดี (จงไป) = คุณจงไป
บุคคล
ภาษากอกโบรอกไม่มีการเปลี่ยนรูปกริยาตามบุคคล
จำนวน
มี 2 แบบ คือ พหูพจน์ กับเอกพจน์ คำที่ใช้แสดงพหูพจน์ มี 2 คำ คือ rok และ sung ใช้ต่อท้ายคำนามหรือสรรพนาม rok ใช้ได้ทั่วไป แต่ sung ใช้กับคำนามที่เป็นบุคคลเท่านั้น คำนามที่มีคุณศัพท์ขยาย จะแสดงพหูพจน์ทีคุณศัพท์แทน เช่น
Bwrwirok Teliamura o thangnai = ผู้หญิงเหล่านั้นจะไปที่เตลิอมุระ (Teliamura)
O bwrwi naithokrok kaham rwchabo = ผู้หญิงสวยเหล่านั้นร้องเพลงได้ดี
เพศ
มี 4 เพศ คือ บุรุษลึงค์ (เพศชาย) สตรีลึงค์ (เพศหญิง) อลึงค์ (เพศไม่ปรากฏ) และ นปุงสกลึงค์ (ไม่มีเพศ) เช่น borok (ผู้ชาย) เป็นบุรุษลึงค์ bwrwr (ผู้หญิง) เป็น สตรีลึงค์ chwari (เด็ก) เป็น อลึงค์ buphang (ต้นไม้) เป็น นปุงสกลึงค์
การเปลี่ยนเพศของคำ
ทำได้หลายวิธี เช่น
- ใช้คำต่างกัน เช่น bwsai (สามี) – bihik (ภรรยา) ; phayong (พี่ชาย) – hanok (พี่สาว)
- เติม -in ต่อท้ายรูปบุรุษ คำที่ลงท้ายด้วย a ตัด a ทิ้งไป เช่น sikla (ชายหนุ่ม) – sikli (หญิงสาว) ; achu (ปู่) – achui (ย่า)
- เติม jwk ต่อท้ายรูปบุรุษ เช่น bwsa (ลูกชาย) – bwsajwk (ลูกสาว) ; kwra (พ่อตา) – kwrajwk (แม่ยาย)
- คำที่เป็นอลึงค์ ทำให้อยู่ในรูปบุรุษโดยเติมปัจจัย sa, chwla, joa ทำให้อยู่ในรูปสตรีโดยเติม ma, jwk, bwrwi เช่น pun (แพะ) - punjua (แพะตัวผู้) – punjuk (แพะตัวเมีย) ; tok (ไก่) tokchwla (ไก่ตัวผู้) – tokma (ไก่ตัวเมีย) ; takhum (เป็ด) – takhumchwla (เป็ดตัวผู้) – takhumbwrwi (เป็ดตัวเมีย)
การกและการลงท้ายการก
ภาษากอกโบรอก มีการกประธาน การกกรรม การกเครื่องมือ การกคำนาม การกความเป็นเจ้าของ และการกสถานที่ การลงท้ายของแต่ละการกคือ o (ประธาน) nu (กรรม) ha (เครื่องมือ) ni (คำนาม) ni (ความเป็นเจ้าของ) และ o (สถานที่) โดยการลงท้ายเหล่านี้ ใช้ต่อท้ายคำนามและคำสรรพนาม ไม่มีการเปลี่ยนรูปแบบของคำนาม
คำคุณศัพท์
วางต่อจากคำที่ขยาย ซึ่งใช้กับคำคุณศัพท์ดั้งเดิมเท่านั้น คำคุณศัพท์ ทิ่เป็นคำยืม อาจเรียงแบบอื่นได้ แบ่งเป็น 4 ระดับ คือ คำคุณศัพท์บริสุทธิ์ คำคุณศัพท์ประกอบ คำคุณศัพท์ขยายกริยา และคำคุณศัพท์ชนิดเค (k) ระดับแรกเป็นได้ทั้งคำดั้งเดิมและคำยืม ส่วนแบบที่ 4 พบเฉพาะคำดั้งเดิมเท่านั้น
อ้างอิง
- A simplified Kokborok Grammar, by Prof. Prabhas Chandra Dhar, 1987
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
iwyakrnphasakxkbxrxk milksnakhlaykbtrakulphasayxythiebt phmaxun immikarphnrupkriya mikarphnkhanamtamkarkodyetimpccytxthaynamkareriyngpraoykhprathan krrm kriya echn Naisok insxk mai im khaw chao echa kin insxkkinkhaw khaaesdngkhwamepnecakhxng prathan khatham echn Nini nini khxngkhun mung mung chux tamo tamx xair khunchuxxair prathan kriya khatham echn Nwng nung khun thangnaide thngined caip khuncaiphrux prathan khatham kriya echn Nwng nung khun tamoni bagwi tamxni bkwi thaim phai iph ma khunmathaim prathan kriya khasng echn Nwng nung khun thangdi thngdi cngip khuncngipbukhkhlphasakxkobrxkimmikarepliynrupkriyatambukhkhlcanwnmi 2 aebb khux phhuphcn kbexkphcn khathiichaesdngphhuphcn mi 2 kha khux rok aela sung ichtxthaykhanamhruxsrrphnam rok ichidthwip aet sung ichkbkhanamthiepnbukhkhlethann khanamthimikhunsphthkhyay caaesdngphhuphcnthikhunsphthaethn echn Bwrwirok Teliamura o thangnai phuhyingehlanncaipthietlixmura Teliamura O bwrwi naithokrok kaham rwchabo phuhyingswyehlannrxngephlngiddiephsmi 4 ephs khux buruslungkh ephschay strilungkh ephshying xlungkh ephsimprakt aela npungsklungkh immiephs echn borok phuchay epnburuslungkh bwrwr phuhying epn strilungkh chwari edk epn xlungkh buphang tnim epn npungsklungkh karepliynephskhxngkha thaidhlaywithi echn ichkhatangkn echn bwsai sami bihik phrrya phayong phichay hanok phisaw etim in txthayrupburus khathilngthaydwy a td a thingip echn sikla chayhnum sikli hyingsaw achu pu achui ya etim jwk txthayrupburus echn bwsa lukchay bwsajwk luksaw kwra phxta kwrajwk aemyay khathiepnxlungkh thaihxyuinrupburusodyetimpccy sa chwla joa thaihxyuinrupstriodyetim ma jwk bwrwi echn pun aepha punjua aephatwphu punjuk aephatwemiy tok ik tokchwla iktwphu tokma iktwemiy takhum epd takhumchwla epdtwphu takhumbwrwi epdtwemiy karkaelakarlngthaykarkphasakxkobrxk mikarkprathan karkkrrm karkekhruxngmux karkkhanam karkkhwamepnecakhxng aelakarksthanthi karlngthaykhxngaetlakarkkhux o prathan nu krrm ha ekhruxngmux ni khanam ni khwamepnecakhxng aela o sthanthi odykarlngthayehlani ichtxthaykhanamaelakhasrrphnam immikarepliynrupaebbkhxngkhanamkhakhunsphthwangtxcakkhathikhyay sungichkbkhakhunsphthdngedimethann khakhunsphth thiepnkhayum xaceriyngaebbxunid aebngepn 4 radb khux khakhunsphthbrisuththi khakhunsphthprakxb khakhunsphthkhyaykriya aelakhakhunsphthchnidekh k radbaerkepnidthngkhadngedimaelakhayum swnaebbthi 4 phbechphaakhadngedimethannxangxingA simplified Kokborok Grammar by Prof Prabhas Chandra Dhar 1987