พื้นที่สงวนชีวมณฑลป่าสักห้วยทาก (อังกฤษ: Hauy Tak Teak Biosphere Reserve) เป็นพื้นที่สงวนชีวมณฑลในประเทศไทย ตั้งอยู่ที่อำเภองาว จังหวัดลำปาง
ประวัติ
บริเวณที่ตั้งของพื้นที่สงวนชีวมณฑลป่าสักห้วยทากมีหลักฐานของการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ย้อนไปได้ถึงประมาณสามพันปี จากหลักฐานภาพเขียนสีที่พบในพื้นที่หลายแห่ง อย่างเช่น ภาพเขียนสีประตูผา สภาพป่าไม้เมืองงาวเมื่อครั้งอดีตเป็นป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์ ประชากรในพื้นที่ที่มีความหลากหลายทั้งชาวล้านนา ม้ง เมี่ยน อาข่า ลาหู่ ลีซู ขมุ มีวิถีชีวิตอย่างเรียบง่ายไม่ฟุ้งเฟ้อ การทำมาหากินในสมัยก่อนนั้นได้อาศัยทรัพยากรจากป่าไม้เพื่อการยังชีพเป็นหลัก โดยมีบทบาททั้งการเป็นผู้ใช้ประโยชน์และผู้รักษาทรัพยากรป่าไม้เรื่อยมา
จากคำบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่ ทำให้ทราบว่า ในสมัยอดีตเมื่อยังไม่มีไฟฟ้าใช้ ถนนพหลโยธินซึ่งเป็นถนนสายหลักของประเทศ ที่ทอดแนวยาวผ่านพื้นที่แห่งนี้ยังเป็นถนนแคบๆ คดโค้งไปตามขอบเขา ในแต่ละวันจะมีรถยนต์วิ่งผ่านเพียงไม่กี่คัน ชาวบ้านส่วนใหญ่ใช้รถจักรยานสองล้อ (รถถีบ) เป็นยานพาหนะ และใช้เกวียนเทียมวัวหรือความเป็นยานพาหนะขนส่ง วิถีชีวิตของชาวบ้านมีการดำรงชีพอย่างเรียบง่าย แบบพอเพียง จัดหาเท่าที่พออยู่พอกิน สภาพภูมิอากาศมีฝนตกต้องตามฤดูกาลในลำห้วยสายสำคัญๆทุกสายจะมีน้ำไหลสม่ำเสมอทั้งปีมีสัตว์น้ำชุกชุม ในป่ามีต้นไม้ใหญ่น้อยหนาแน่น และต่างก็ได้ทำหน้าที่ดีที่สุดในระบบนิเวศของตนเอง ส่งผลให้สภาพแวดล้อมของพื้นที่อยู่ในสภาวะที่ดีตลอดมา ส่วนองค์ประกอบอื่นๆ เช่นสัตว์ป่าก็มีมากมาย ผู้เฒ่าบางท่านยังจำได้ดีว่าในครั้งนั้นขณะนอนหลับอยู่ที่บ้านยังได้ยินเสียงของสัตว์ป่าหลายชนิด เช่น เสือโคร่ง เก้ง มาปลุกให้ตื่นยามดึกถึงหน้าบ้าน
เมื่อปี พ.ศ. 2507 กระทรวงเกษตร ได้จัดให้พื้นที่ป่าแม่งาวเป็นป่าสาธิต เพื่อสาธิตการจัดการป่าเพื่อเศรษฐกิจตามหลักวิชาการ โดยดำเนินการตามแผนการจัดการป่าแม่งาว พ.ศ. 2504-14 ที่เสนอโดย Sir Harry G. Champion ผู้เชี่ยวชาญของ FAO ต่อมากรมป่าไมมีนโยบายปรับปรุงให้เป็นป่าสาธิตสาหร สำหรับการศึกษา ทดลอง และวิจัยด้านการจัดการป่าไม้แบบประณีต โดยความร่วมมือระหว่างกรมป่าไม้ องคการอุตสาหกรรมป่าไม้ และคณะวนศาสตร์ ทำให้บริเวณป่าแม่งาวเป็นที่ตั้งของหน่วยงานวิชาการป่าไม้หลายหน่วยงาน ครอบคลุมทั้งด้านการป้องกันรักษาป่าและควบคุมไฟป่า วนวัฒนวิจัย กีฎวิทยา รุกขวิทยา การจัดการลุ่มน้ำ และการจัดการพื้นที่อนุรักษ์
คุณค่าของการเป็นแหล่งศึกษาวิจัยที่สำคัญได้นำไปสู่การประกาศเป็นพื้นที่สงวนชีวมณฑลเมื่อ พ.ศ. 2520 เป็นพื้นที่สงวนชีวมณฑลลำดับที่ 3 ของประเทศไทย พื้นที่สงวนชีวมณฑลป่าสักห้วยทาก ในปัจจุบันมีความสำคัญในด้านการอนุรักษ์ทางชีวภาพ และให้ความรู้ทางด้านวิชาการหลายแขนง กล่าวคือ เป็นแหล่งอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ สมควรคงไว้ซึงระบบนิเวศที่สมบูรณ์ เป็นแหล่งศึกษาการเปลี่ยนแปลงธรรมชาติ ตลอดจนการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ ตลอดจน เป็นการศึกษารูปแบบการใช้ที่ดินตามจารีต ประเพณีของท้องถิ่น นอกจากนี้ พื้นที่แห่งนี้ยังเป็นต้นน้ำลำธารที่สำคัญของแม่น้ำยม เป็นแหล่งผลิตเมล็ดพันธุ์ไม้หลายชนิด โดยเฉพาะเมล็ดไม้สัก เป็นป่าสาธิตที่มีประวัติคู่กับการพัฒนาวิชาการจัดการป่าไม้ในปประเทศไทยตั้งแต่ยุคการทำไม้สู่ยุคของการจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน
ยูเนสโก ได้ประกาศขึ้นทะเบียนป่าสักห้วยทากให้เป็นพื้นที่สงวนชีวมณฑลของโลก นับเป็นพื้นที่สงวนชีวมณฑลลำดับที่ 3 ของเมืองไทยเมื่อปี พ.ศ. 2520
ที่ตั้งและอาณาเขต
พื้นที่สงวนชีวมณฑลป่าสักห้วยทาก ตั้งอยู่ในท้องที่ตำบลบ้านหวด และตำบลบ้านโป่ง อำเภองาว จังหวัดลำปาง อยู่ห่างจากจังหวัดลำปางไปตามถนนพหลโยธิน ช่วงลำปาง-พะเยาประมาณ 50 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 184,000 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของหน่วยงานป่าไม้หลายหน่วย ได้แก่ หน่วยจัดการสาธิตแม่หวด อุทยานแห่งชาติถ้ำผาไท สวนป่าห้วยทาก ศูนย์วนวัฒน์วิจัยที่ 2 (ลำปาง) สวนรุกขชาติห้วยทาก สวนป่าสบพลึง สวนป่าห้วยพร้าว หน่วยป้องกันรักษาป่าที่ ลป.30 (แม่โป่ง) และหน่วยป้องกันรักษาป่าที่ ลป. 31(แม่หวด)
สภาพพื้นที่ป่า
พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ภายใต้การดูแลของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ป่าสงวนแห่งชาติ สวนป่า และพื้นที่เตรียมการประกาศอุทยานแห่งชาติ) มีเนื้อที่ประมาณ 184,000 ไร่ (294.4 ตารางกิโลเมตร) ประกอบด้วยผืนป่าหลายสภาพ ได้แก่
- ป่าผสมผัดใบที่มีไม้สัก (mixed deciduous with take forest) โดยมีชนิดไม้ที่สำคัญๆ ได้แก่ สัก ประดู่ แดงมะค่าโมง ยมหิน กระบก เป็นต้น
- ป่าเต็งรัง (dry dipterocarp forest) โดยมีชนิดไม้ที่สำคัญ ได้แก่ เต็ง รัง เหียง ก่อเหมือด
- ป่าดิบแล้ง (dry evergreen forest) ประกอบด้วยชนิดไม้ที่สำคัญ เช่น ยาง ก่อ อบเชย ดงดำ เหมือด
- สวนสัก (take forest plantation) จำนวน 3 สวน โดยสภาพป่าธรรมชาติบางส่วนยังคงความสมบูรณ์อยู่
สัตว์ป่า
สัตว์ป่าชนิดต่างๆเท่าที่สำรวจพบในปัจจุบันได้แก่
- สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (mammals) เช่น หมี เก้ง กวางป่า (เหลืออยู่น้อยมาก) หมูป่า ลิง อีเห็น กระต่ายป่า อ้น ตุ่น กระรอก กระแต
- สัตว์จำพวกนก (birds) เช่น เหยี่ยว นกเขาเขียว นกขวิด นกเปล้า นกมะแห้ นกเขา นกเค้า หรือ (นกเค้าแมว/นกฮูก) นกแซงแซว นกกระปุด นกโพระดก ไก่ป่า ฯลฯ
- สัตว์เลื้อยคลาน (reptiles) เช่น ตุ๊กกายถ้ำลำปาง ตัวนิ่ม หรือ ลิ่น ตะกวด แย้ งูสิง งูเหลือม งูเห่า ฯลฯ
- สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก (amphibians) เช่น ตะพาบน้ำ เต่า กบ เขียด อึ่งอ่าง
- สัตว์จำพวกปลา (fishes) เช่น ปลาตะเพียน ปลาช่อน ปลากั้ง หรือ ปลาก้าง ปลากด ปลากระทิง ฯลฯ
- สัตว์จำพวกแมลง (insects) จำนวนมากมายหลายชนิด เช่น ผีเสื้อ ด้วงหนวดยาว กว่างดาว ด้วงดีด ด้วงดินขอบทองแดง แมลงช้างหนวดสั้น แมลงช้างหนวดยาว ฯลฯ
อ้างอิง
- 'ยูเนสโก' มอบใบประกาศพื้นที่สงวนชีวมณฑล 'ป่าสักห้วยทาก' แหล่งพันธุ์ไม้สักดีที่สุดแห่งหนึ่งของโลก
แหล่งข้อมูลอื่น
- พื้นที่สงวนชีวมณฑล
- Hauy Tak Teak Biosphere Reserve, Thailand - UNESCO
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phunthisngwnchiwmnthlpaskhwythak xngkvs Hauy Tak Teak Biosphere Reserve epnphunthisngwnchiwmnthlinpraethsithy tngxyuthixaephxngaw cnghwdlapangprawtibriewnthitngkhxngphunthisngwnchiwmnthlpaskhwythakmihlkthankhxngkartngthinthankhxngmnusyyxnipidthungpramansamphnpi cakhlkthanphaphekhiynsithiphbinphunthihlayaehng xyangechn phaphekhiynsipratupha sphaphpaimemuxngngawemuxkhrngxditepnpathimikhwamxudmsmburn prachakrinphunthithimikhwamhlakhlaythngchawlanna mng emiyn xakha lahu lisu khmu miwithichiwitxyangeriybngayimfungefx karthamahakininsmykxnnnidxasythrphyakrcakpaimephuxkaryngchiphepnhlk odymibthbaththngkarepnphuichpraoychnaelaphurksathrphyakrpaimeruxyma cakkhabxkelakhxngphuethaphuaek thaihthrabwa insmyxditemuxyngimmiiffaich thnnphhloythinsungepnthnnsayhlkkhxngpraeths thithxdaenwyawphanphunthiaehngniyngepnthnnaekhb khdokhngiptamkhxbekha inaetlawncamirthyntwingphanephiyngimkikhn chawbanswnihyichrthckryansxnglx rththib epnyanphahna aelaichekwiynethiymwwhruxkhwamepnyanphahnakhnsng withichiwitkhxngchawbanmikardarngchiphxyangeriybngay aebbphxephiyng cdhaethathiphxxyuphxkin sphaphphumixakasmifntktxngtamvdukalinlahwysaysakhythuksaycaminaihlsmaesmxthngpimistwnachukchum inpamitnimihynxyhnaaenn aelatangkidthahnathidithisudinrabbniewskhxngtnexng sngphlihsphaphaewdlxmkhxngphunthixyuinsphawathiditlxdma swnxngkhprakxbxun echnstwpakmimakmay phuethabangthanyngcaiddiwainkhrngnnkhnanxnhlbxyuthibanyngidyinesiyngkhxngstwpahlaychnid echn esuxokhrng ekng maplukihtunyamdukthunghnaban emuxpi ph s 2507 krathrwngekstr idcdihphunthipaaemngawepnpasathit ephuxsathitkarcdkarpaephuxesrsthkictamhlkwichakar odydaeninkartamaephnkarcdkarpaaemngaw ph s 2504 14 thiesnxody Sir Harry G Champion phuechiywchaykhxng FAO txmakrmpaimminoybayprbprungihepnpasathitsahr sahrbkarsuksa thdlxng aelawicydankarcdkarpaimaebbpranit odykhwamrwmmuxrahwangkrmpaim xngkhkarxutsahkrrmpaim aelakhnawnsastr thaihbriewnpaaemngawepnthitngkhxnghnwynganwichakarpaimhlayhnwyngan khrxbkhlumthngdankarpxngknrksapaaelakhwbkhumifpa wnwthnwicy kidwithya rukkhwithya karcdkarlumna aelakarcdkarphunthixnurks khunkhakhxngkarepnaehlngsuksawicythisakhyidnaipsukarprakasepnphunthisngwnchiwmnthlemux ph s 2520 epnphunthisngwnchiwmnthlladbthi 3 khxngpraethsithy phunthisngwnchiwmnthlpaskhwythak inpccubnmikhwamsakhyindankarxnurksthangchiwphaph aelaihkhwamruthangdanwichakarhlayaekhnng klawkhux epnaehlngxnurkskhwamhlakhlaythangchiwphaph smkhwrkhngiwsungrabbniewsthismburn epnaehlngsuksakarepliynaeplngthrrmchati tlxdcnkarsuksakarepliynaeplngkhxngthrrmchati tlxdcn epnkarsuksarupaebbkarichthidintamcarit praephnikhxngthxngthin nxkcakni phunthiaehngniyngepntnnalatharthisakhykhxngaemnaym epnaehlngphlitemldphnthuimhlaychnid odyechphaaemldimsk epnpasathitthimiprawtikhukbkarphthnawichakarcdkarpaiminppraethsithytngaetyukhkarthaimsuyukhkhxngkarcdkarpaimxyangyngyun yuensok idprakaskhunthaebiynpaskhwythakihepnphunthisngwnchiwmnthlkhxngolk nbepnphunthisngwnchiwmnthlladbthi 3 khxngemuxngithyemuxpi ph s 2520thitngaelaxanaekhtphunthisngwnchiwmnthlpaskhwythak tngxyuinthxngthitablbanhwd aelatablbanopng xaephxngaw cnghwdlapang xyuhangcakcnghwdlapangiptamthnnphhloythin chwnglapang phaeyapraman 50 kiolemtr mienuxthipraman 184 000 ir khrxbkhlumphunthibangswnkhxnghnwynganpaimhlayhnwy idaek hnwycdkarsathitaemhwd xuthyanaehngchatithaphaith swnpahwythak sunywnwthnwicythi 2 lapang swnrukkhchatihwythak swnpasbphlung swnpahwyphraw hnwypxngknrksapathi lp 30 aemopng aelahnwypxngknrksapathi lp 31 aemhwd sphaphphunthipaphunthiswnihyxyuphayitkarduaelkhxngkrathrwngthrphyakrthrrmchatiaelasingaewdlxm pasngwnaehngchati swnpa aelaphunthietriymkarprakasxuthyanaehngchati mienuxthipraman 184 000 ir 294 4 tarangkiolemtr prakxbdwyphunpahlaysphaph idaek paphsmphdibthimiimsk mixed deciduous with take forest odymichnidimthisakhy idaek sk pradu aedngmakhaomng ymhin krabk epntn paetngrng dry dipterocarp forest odymichnidimthisakhy idaek etng rng ehiyng kxehmuxd padibaelng dry evergreen forest prakxbdwychnidimthisakhy echn yang kx xbechy dngda ehmuxd swnsk take forest plantation canwn 3 swn odysphaphpathrrmchatibangswnyngkhngkhwamsmburnxyustwpastwpachnidtangethathisarwcphbinpccubnidaek stweliynglukdwynm mammals echn hmi ekng kwangpa ehluxxyunxymak hmupa ling xiehn krataypa xn tun krarxk kraaet stwcaphwknk birds echn ehyiyw nkekhaekhiyw nkkhwid nkepla nkmaaeh nkekha nkekha hrux nkekhaaemw nkhuk nkaesngaesw nkkrapud nkophradk ikpa l stweluxykhlan reptiles echn tukkaythalapang twnim hrux lin takwd aey ngusing nguehluxm ngueha l stwsaethinnasaethinbk amphibians echn taphabna eta kb ekhiyd xungxang stwcaphwkpla fishes echn plataephiyn plachxn plakng hrux plakang plakd plakrathing l stwcaphwkaemlng insects canwnmakmayhlaychnid echn phiesux dwnghnwdyaw kwangdaw dwngdid dwngdinkhxbthxngaedng aemlngchanghnwdsn aemlngchanghnwdyaw lxangxing yuensok mxbibprakasphunthisngwnchiwmnthl paskhwythak aehlngphnthuimskdithisudaehnghnungkhxngolkaehlngkhxmulxunphunthisngwnchiwmnthl Hauy Tak Teak Biosphere Reserve Thailand UNESCO