แนวปะการัง หรือ พืดหินปะการัง เป็นระบบนิเวศที่ซับซ้อน และมีความหลากหลายมากที่สุดในทะเล แนวปะการังจัดเป็นสิ่งก่อสร้างของสิ่งมีชีวิตที่ใหญ่ที่สุดในโลก เป็นหินปูนที่มีความแข็ง โดยขนาดเล็กคือ ปะการัง รวมถึงซากของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในทะเลอย่างอื่นร่วมด้วย เช่น , หอยที่มีเปลือกแข็ง เป็นต้น ทั้งปะการังเองและสิ่งมีชีวิตที่สร้างหินปูนได้ เมื่อตายไปแล้วจะยังคงเหลือซากหินปูนทับถมพอกพูน ซึ่งถือว่าเป็นขบวนการสร้างแนวปะการัง ซากหินปูนเหล่านั้นค่อย ๆ ผุกร่อนเป็นผงตะกอน ซึ่งส่วนหนึ่งก็ยังคงสะสมพอกพูนในแนวปะการัง แต่อีกส่วนหนึ่งอาจถูกพัดพาล่องลอยไปตามไปทับถมพอกพูนเป็นชายหาด
การเจริญเติบโตของแนวปะการังเป็นไปอย่างช้า ๆ ในแต่ละปี ปะการังบางชนิดอาจเพิ่มขนาดของตนเองขึ้นมาได้เพียง 2–5 เซนติเมตรเท่านั้น ซึ่งกว่าที่ปะการังจะสร้างตนเองจนแข็งแรงเป็นแนวพืดได้ต้องใช้เวลานับหมื่น ๆ ปี โดยแนวปะการังที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือ เกรตแบร์ริเออร์รีฟ ทางตอนเหนือของออสเตรเลีย ที่มีเนื้อที่กว้างขวางกว่า 1,562 ไมล์ (2,500 กิโลเมตร) มีแนวปะการังมากกว่า 2,900 แนว ซึ่งได้รับการประกาศให้เป็นมรดกโลกทางธรรมชาติ และแนวปะการังที่มีขนาดใหญ่อีกแห่งหนึ่งของโลก คือ สามเหลี่ยมปะการัง ที่ครอบคลุมพื้นที่ระหว่างน่านน้ำของฟิลิปปินส์ เช่น อุทยานธรรมชาติปะการังตุบบาตาฮา, มาเลเซีย, อินโดนีเซีย, ปาปัวนิวกินี, หมู่เกาะโซโลมอน และติมอร์เลสเต คิดเป็น 1 ใน 3 ของแนวปะการังที่มีอยู่ในโลก และมีความหลากหลายของชนิดปลาที่อาศัยอยู่ในแนวปะการังคิดเป็นร้อยละ 37 ของปลาที่อาศัยในแนวปะการังทั้งหมดทั่วโลก
ประเภท
- แนวปะการังแบ่งออกได้เป็น 3 แบบด้วยกัน คือ
- แนวปะการังนอกฝั่ง (Barrier reef) เป็นแนวปะการังขนาดใหญ่โต มีความกว้างยาวนับเป็นร้อย ๆ ไมล์ เช่น เกรตแบร์ริเออร์รีฟ
- เกาะปะการัง (Atoll) เกิดขึ้นจากการรวมตัวทับถมกันของปะการังในแนวดิ่งจนกลายสภาพเป็นเกาะ ซึ่งเกาะลักษณะเช่นนี้ จะพบมากในแถบมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ และมหาสมุทรอินเดีย เช่น มัลดีฟส์, หมู่เกาะสิมิลัน และ ของมาเลเซีย เป็นต้น
- แนวปะการังชายฝั่ง (Fringing reef) เป็นแนวปะการังที่เกิดขึ้นในบริเวณชายฝั่งและหมู่เกาะในเขตน้ำค่อนข้างตื้น
- และอาจแบ่งตามลักษณะสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันเป็น 4 รูปแบบด้วยกัน คือ
- แนวปะการังริมฝั่ง เป็นแนวปะการังที่แท้จริง เพราะเป็นการสะสมตัวจนกลายเป็นแนวปะการัง พบได้ทั่วไปในแหล่งดำน้ำดูปะการังน้ำตื้นตามชายฝั่งและหมู่เกาะต่าง ๆ นับเป็นแนวปะการังชนิดที่ทรงคุณค่าที่สุด เพราะเป็นที่ที่สัตว์ทะเลจะใช้เวลาช่วงหนึ่งของชีวิตเข้ามาอาศัยเติบโตอยู่ในบริเวณนี้ ปะการังชนิดนี้ใน ปัจจุบันจัดเป็นปะการังที่มีความเสียหายมากที่สุด
- กลุ่มปะการังบนพื้นทราย เป็นกลุ่มปะการังเล็ก ๆ ที่เกิดขึ้นบนพื้นทราย ยังมีการสะสมตัวกันไม่มากนัก ส่วนมากเป็น (Faviidae) และ (Acropora spp.)
- ปะการังบนโขดหิน อยู่ในแนวน้ำลึก พบได้ในแหล่งดำน้ำทั่วไปในของหมู่เกาะสิมิลัน แนวปะการังชนิดนี้เปรียบดังโอเอซิสกลางทะเลทราย จึงเป็นที่รวมตัวของสัตว์ทะเลหลากหลาย โดยเฉพาะฝูงปลาต่าง ๆ ที่แวะเวียนเข้ามาหาอาหารอย่างสม่ำเสมอ
- แหล่งกัลปังหาและปะการังอ่อน ไม่เชิงเป็นแนวปะการัง มีศักยภาพในการเป็นที่หลบภัยและที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำไม่มากนัก จึงไม่ค่อยมีคุณค่าเท่าใดนักในระบบนิเวศ เพราะชนิดของปะการังแบบนี้ เป็น ปะการังบนโขดหิน, และกัลปังหา แต่กลับทรงคุณค่าอย่างยิ่งในแง่การท่องเที่ยว เพราะเป็นจุดสนใจอย่างยิ่งของนักดำน้ำและช่างภาพใต้น้ำ
ชีววิทยา
แนวปะการังนับว่าเป็นสิ่งมีความสำคัญต่อระบบนิเวศทางทะเล เป็นที่หลบพัก, อาศัย, แพร่ขยายพันธุ์ และหากินของสัตว์ทะเลชนิดต่าง ๆ มีปลาหลากหลายที่อาศัยอยู่ในแนวปะการังมากกว่า 4,000 ชนิด โดยปลากระดูกแข็งขนาดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่พบได้ในแนวปะการัง คือ ปลาหมอทะเล (Epinephelus lanceolatus) ซึ่งเป็นสำคัญ รวมทั้งปลาและสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ อีกด้วย เปรียบเหมือนเป็นป่าดิบชื้นหรือโอเอซิสในทะเล
อ้างอิง
- . ฐานข้อมูลทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง. กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง. 21 กันยายน 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-06-18. สืบค้นเมื่อ 2012-03-20.
{{}}
: CS1 maint: bot: original URL status unknown () - "Welcome to the Great Barrier Reef". greatbarrierreef.org (ภาษาอังกฤษ).
- Asaad, Irawan; Lundquist, Carolyn J.; Erdmann, Mark V.; Hooidonk, Ruben Van; Costello, Mark J. (5 พฤศจิกายน 2018). "Designating Spatial Priorities for Marine Biodiversity Conservation in the Coral Triangle". Front. Mar. Sci. 5: 400. doi:10.3389/fmars.2018.00400. S2CID 53294894.
- Spalding, Mark, Corinna Ravilious, and Edmund Green (2001). World Atlas of Coral Reefs. Berkeley, CA: University of California Press and UNEP/WCMC. ISBN .
- วินิจ รังผึ้ง (29 กุมภาพันธ์ 2012). . ผู้จัดการออนไลน์. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2016.
- . moohin.com. 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 กุมภาพันธ์ 2012. สืบค้นเมื่อ 20 มีนาคม 2012.
- . ฐานข้อมูลทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง. กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-06-18. สืบค้นเมื่อ 2012-03-20.
{{}}
: CS1 maint: bot: original URL status unknown ()
แหล่งข้อมูลอื่น
- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ แนวปะการัง
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
aenwpakarng hrux phudhinpakarng epnrabbniewsthisbsxn aelamikhwamhlakhlaymakthisudinthael aenwpakarngcdepnsingkxsrangkhxngsingmichiwitthiihythisudinolk epnhinpunthimikhwamaekhng odykhnadelkkhux pakarng rwmthungsakkhxngsingmichiwittang inthaelxyangxunrwmdwy echn hxythimiepluxkaekhng epntn thngpakarngexngaelasingmichiwitthisranghinpunid emuxtayipaelwcayngkhngehluxsakhinpunthbthmphxkphun sungthuxwaepnkhbwnkarsrangaenwpakarng sakhinpunehlannkhxy phukrxnepnphngtakxn sungswnhnungkyngkhngsasmphxkphuninaenwpakarng aetxikswnhnungxacthukphdphalxnglxyiptamipthbthmphxkphunepnchayhadaephnthiaesdngkarkracaytwkhxngaenwpakarngthwolk karecriyetibotkhxngaenwpakarngepnipxyangcha inaetlapi pakarngbangchnidxacephimkhnadkhxngtnexngkhunmaidephiyng 2 5 esntiemtrethann sungkwathipakarngcasrangtnexngcnaekhngaerngepnaenwphudidtxngichewlanbhmun pi odyaenwpakarngthimikhnadihythisudinolk khux ekrtaebrriexxrrif thangtxnehnuxkhxngxxsetreliy thimienuxthikwangkhwangkwa 1 562 iml 2 500 kiolemtr miaenwpakarngmakkwa 2 900 aenw sungidrbkarprakasihepnmrdkolkthangthrrmchati aelaaenwpakarngthimikhnadihyxikaehnghnungkhxngolk khux samehliympakarng thikhrxbkhlumphunthirahwangnannakhxngfilippins echn xuthyanthrrmchatipakarngtubbataha maelesiy xinodniesiy papwniwkini hmuekaaosolmxn aelatimxrelset khidepn 1 in 3 khxngaenwpakarngthimixyuinolk aelamikhwamhlakhlaykhxngchnidplathixasyxyuinaenwpakarngkhidepnrxyla 37 khxngplathixasyinaenwpakarngthnghmdthwolkpraephthplathxngthaelinaenwpakarng thithaelaedngaenwpakarngaebngxxkidepn 3 aebbdwykn khuxaenwpakarngnxkfng Barrier reef epnaenwpakarngkhnadihyot mikhwamkwangyawnbepnrxy iml echn ekrtaebrriexxrrif ekaapakarng Atoll ekidkhuncakkarrwmtwthbthmknkhxngpakarnginaenwdingcnklaysphaphepnekaa sungekaalksnaechnni caphbmakinaethbmhasmuthraepsifiktxnit aelamhasmuthrxinediy echn mldifs hmuekaasimiln aela khxngmaelesiy epntn aenwpakarngchayfng Fringing reef epnaenwpakarngthiekidkhuninbriewnchayfngaelahmuekaainekhtnakhxnkhangtunaelaxacaebngtamlksnasphaphaewdlxmthiaetktangknepn 4 rupaebbdwykn khuxaenwpakarngrimfng epnaenwpakarngthiaethcring ephraaepnkarsasmtwcnklayepnaenwpakarng phbidthwipinaehlngdanadupakarngnatuntamchayfngaelahmuekaatang nbepnaenwpakarngchnidthithrngkhunkhathisud ephraaepnthithistwthaelcaichewlachwnghnungkhxngchiwitekhamaxasyetibotxyuinbriewnni pakarngchnidniin pccubncdepnpakarngthimikhwamesiyhaymakthisud klumpakarngbnphunthray epnklumpakarngelk thiekidkhunbnphunthray yngmikarsasmtwknimmaknk swnmakepn Faviidae aela Acropora spp pakarngbnokhdhin xyuinaenwnaluk phbidinaehlngdanathwipinkhxnghmuekaasimiln aenwpakarngchnidniepriybdngoxexsisklangthaelthray cungepnthirwmtwkhxngstwthaelhlakhlay odyechphaafungplatang thiaewaewiynekhamahaxaharxyangsmaesmx aehlngklpnghaaelapakarngxxn imechingepnaenwpakarng miskyphaphinkarepnthihlbphyaelathixyuxasykhxngstwnaimmaknk cungimkhxymikhunkhaethaidnkinrabbniews ephraachnidkhxngpakarngaebbni epn pakarngbnokhdhin aelaklpngha aetklbthrngkhunkhaxyangyinginaengkarthxngethiyw ephraaepncudsnicxyangyingkhxngnkdanaaelachangphaphitnachiwwithyaaenwpakarngnbwaepnsingmikhwamsakhytxrabbniewsthangthael epnthihlbphk xasy aephrkhyayphnthu aelahakinkhxngstwthaelchnidtang miplahlakhlaythixasyxyuinaenwpakarngmakkwa 4 000 chnid odyplakradukaekhngkhnadthimikhnadihythisudthiphbidinaenwpakarng khux plahmxthael Epinephelus lanceolatus sungepnsakhy rwmthngplaaelastwnachnidtang xikdwy epriybehmuxnepnpadibchunhruxoxexsisinthaelxangxing thankhxmulthrphyakrthangthaelaelachayfng krmthrphyakrthangthaelaelachayfng 21 knyayn 2010 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2012 06 18 subkhnemux 2012 03 20 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a CS1 maint bot original URL status unknown lingk Welcome to the Great Barrier Reef greatbarrierreef org phasaxngkvs Asaad Irawan Lundquist Carolyn J Erdmann Mark V Hooidonk Ruben Van Costello Mark J 5 phvscikayn 2018 Designating Spatial Priorities for Marine Biodiversity Conservation in the Coral Triangle Front Mar Sci 5 400 doi 10 3389 fmars 2018 00400 S2CID 53294894 Spalding Mark Corinna Ravilious and Edmund Green 2001 World Atlas of Coral Reefs Berkeley CA University of California Press and UNEP WCMC ISBN 978 0 520 23255 6 winic rngphung 29 kumphaphnth 2012 phucdkarxxniln khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 23 phvscikayn 2016 moohin com 2010 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 27 kumphaphnth 2012 subkhnemux 20 minakhm 2012 thankhxmulthrphyakrthangthaelaelachayfng krmthrphyakrthangthaelaelachayfng khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2012 06 18 subkhnemux 2012 03 20 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a CS1 maint bot original URL status unknown lingk aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb aenwpakarng