กะละปังหา | |
---|---|
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักรใหญ่: | Eukaryota |
อาณาจักร: | Animalia |
ไฟลัม: | Cnidaria |
ชั้นย่อย: | |
วงศ์ | |
|
กะละปังหา หรือ กัลปังหา (ยืมมาจากภาษามลายูคำว่า "kalam pangha") เป็นสัตว์ทะเลไม่มีกระดูกสันหลัง แต่ละตัวมีขนาดเล็กมาก รูปร่างคล้ายทรงกระบอกหรือรูปถ้วย จัดอยู่ในพวกเดียวกับปะการัง กะละปังหาประกอบด้วย 2 ส่วนคือ ตัวกะละปังหา () ตัวของกะละปังหานี้มีลักษณะคล้ายดอกไม้ทะเลขนาดเล็ก มีเนื้อเยื่ออ่อนนุ่ม และมีหนวดรอบปากจำนวนแปดเส้น ฝังและกระจายตัวอยู่ตามโครงสร้างกะละปังหา และอีกส่วนเป็นส่วนโครงสร้างที่เป็นกิ่งแตกกิ่งก้านคล้ายและซี่หวี แล้วแต่ชนิดกิ่งโครงสร้างนี้ตัวกะละปังหาสร้างขึ้นมาเพื่อรองรับตัวเองและเป็น
กะละปังหาชอบอาศัยอยู่ตามที่มีกระแสน้ำไหล เนื่องจากกระแสน้ำจะช่วยพัดพาอาหารมาให้และจะช่วยพัดพาของเสียที่ถูกปล่อยออกจากกะละปังหาออกไป โดยกะละปังหาจะใช้หนวดในการดักจับสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กเพื่อนำมาเป็นอาหารส่วนเข็มพิษที่หนวดจะช่วยในการจับพวกแพลงก์ตอน กะละปังหามีประโยชน์โดยเป็นแหล่งที่อาศัยของสัตว์ทะเลขนาดเล็กหลายชนิดโดยสัตว์เหล่านี้จะเกาะตามกิ่งก้าน และนอกจากนี้กะละปังหาสามารถใช้เป็นสมุนไพรตามความเชื่อของชาวจีนโบราณ
การสืบพันธุ์
กะละปังหาสามารถสืบพันธุ์ได้ทั้งแบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศเช่นเดียวกับปะการัง การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศนั้นใช้วิธีแตกหน่อหรือการแยกออกจากกัน ส่วนการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศเป็นการผสมภายในระหว่างเซลสืบพันธุ์ของเพศผู้และเพศเมียที่มาจากต่างโคโลนีกัน โดยที่แต่ละโคโลนีของกะละปังหาส่วนใหญ่จะมีเซลสืบพันธุ์เพียงเพศใดเพศหนึ่งเท่านั้น
ประโยชน์
กะละปังหามีประโยชน์มากมาย โดยเฉพาะเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยให้กับสัตว์ทะเลขนาดเล็กหลายชนิด แต่การที่กะละปังหามีรูปร่างและสีสันที่สวยงาม จึงเกิดค่านิยมผิดๆ หรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์ในอดีต เช่น นำมาประดับตู้ปลา นำมาใช้เป็นเครื่องประดับตกแต่งบ้าน หรือแม้กระทั่งนำส่วนที่เป็นแกนในสีดำมาทำเป็นครื่องรางของขลัง ชาวจีนโบราณมีความเชื่อว่ากะละปังหาเป็นสมุนไพรที่มีคุณค่าอย่างยิ่ง แต่ในปัจจุบันซึ่งมีการศึกษาระบบนิเวศและธรรมชาติ จึงพบว่าสิ่งมีชีวิตทั้งหลายในโลกสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน การทำลายหรือย้ายกะละปังหาจากแหล่งที่อยู่เดิม ถือเป็นการกระทำที่ไม่สมควร เพราะเป็นการทำลายที่อยู่อาศัยของสัตว์ทะเลขนาดเล็ก ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ ทำให้สัตว์น้ำขนาดเล็กไม่มีที่หลบสัตว์นักล่า จึงไม่สามารถเจริญเติบโตและอาจสูญพันธุ์ได้ ดังนั้นการนำกะละปังหาขึ้นมาจากทะเลจึงเป็นการกระทำที่ไม่เหมาะสม ขาดความรู้ และไร้ซึ่งสามัญสำนึกที่ดี
นอกจากนี้ ยังไม่มีงานวิจัยหรือข้อพิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์ใดในปัจจุบัน สามารถรับรองได้เลยว่า กะละปังหา มีสรรพคุณที่ใช้ในการรักษาโรคได้จริง ตามความเชื่อของชาวจีนโบราณ
สถานภาพในปัจจุบัน
กะละปังหาเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตาม ว่าห้ามมีไว้ในครอบครองหรือเพื่อการค้าขาย ยกเว้นการวิจัยกะละปังหา เนื่องจากกะละปังหาเป็นที่เจริญเติบโตค่อนข้างช้า บางชนิดอาจจะใช้เวลาเป็นร้อยปีในการเติบโตเพียงแค่ 1 ฟุต และในหนึ่งต้นนั้นมีตัวกะละปังหาอยู่เป็นจำนวนมาก ดังนั้นการทำลายกะละปังหาหนึ่งต้นเท่ากับทำลายตัวกะละปังหาของกะละปังหาหลายหมื่นหลายแสนตัว แต่ก็ยังมีผู้ลักลอบนำกะละปังหาและปะการัง มาจำหน่ายในตลาดตู้ปลาหลายแห่ง เช่น ตลาดสัตว์เลี้ยงจตุจักร(พ.ศ. 2557) เป็นต้น
อ้างอิง
- ความหมายของคำว่า "กะละปังหา". พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542
- กัลปังหา[]. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลับบูรพา
- กัลปังหา สัตว์ทะเลชนิดหนึ่ง 2011-08-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
- “กัลปังหา” หนวดพิษในม่านพริ้วไหว[]. โครงการพัฒนาองค์ความรู้และศึกษานโยบายการจัดการทรัพยากรชีวภาพในประเทศไทย
แหล่งข้อมูลอื่น
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
kalapnghakarcaaenkchnthangwithyasastrxanackrihy Eukaryotaxanackr Animaliaiflm Cnidariachnyxy wngsxndbpakarngxxn wngskalapngha kalapngha hrux klpngha yummacakphasamlayukhawa kalam pangha epnstwthaelimmikraduksnhlng aetlatwmikhnadelkmak ruprangkhlaythrngkrabxkhruxrupthwy cdxyuinphwkediywkbpakarng kalapnghaprakxbdwy 2 swnkhux twkalapngha twkhxngkalapnghanimilksnakhlaydxkimthaelkhnadelk mienuxeyuxxxnnum aelamihnwdrxbpakcanwnaepdesn fngaelakracaytwxyutamokhrngsrangkalapngha aelaxikswnepnswnokhrngsrangthiepnkingaetkkingkankhlayaelasihwi aelwaetchnidkingokhrngsrangnitwkalapnghasrangkhunmaephuxrxngrbtwexngaelaepn kalapnghachxbxasyxyutamthimikraaesnaihl enuxngcakkraaesnacachwyphdphaxaharmaihaelacachwyphdphakhxngesiythithukplxyxxkcakkalapnghaxxkip odykalapnghacaichhnwdinkardkcbsingmichiwitkhnadelkephuxnamaepnxaharswnekhmphisthihnwdcachwyinkarcbphwkaephlngktxn kalapnghamipraoychnodyepnaehlngthixasykhxngstwthaelkhnadelkhlaychnidodystwehlanicaekaatamkingkan aelanxkcaknikalapnghasamarthichepnsmuniphrtamkhwamechuxkhxngchawcinobrankarsubphnthukalapnghasamarthsubphnthuidthngaebbxasyephsaelaimxasyephsechnediywkbpakarng karsubphnthuaebbimxasyephsnnichwithiaetkhnxhruxkaraeykxxkcakkn swnkarsubphnthuaebbxasyephsepnkarphsmphayinrahwangeslsubphnthukhxngephsphuaelaephsemiythimacaktangokholnikn odythiaetlaokholnikhxngkalapnghaswnihycamieslsubphnthuephiyngephsidephshnungethannpraoychnkalapnghamipraoychnmakmay odyechphaaepnaehlngthixyuxasyihkbstwthaelkhnadelkhlaychnid aetkarthikalapnghamiruprangaelasisnthiswyngam cungekidkhaniymphid hruxruethaimthungkarninxdit echn namapradbtupla namaichepnekhruxngpradbtkaetngban hruxaemkrathngnaswnthiepnaekninsidamathaepnkhruxngrangkhxngkhlng chawcinobranmikhwamechuxwakalapnghaepnsmuniphrthimikhunkhaxyangying aetinpccubnsungmikarsuksarabbniewsaelathrrmchati cungphbwasingmichiwitthnghlayinolksmphnthsungknaelakn karthalayhruxyaykalapnghacakaehlngthixyuedim thuxepnkarkrathathiimsmkhwr ephraaepnkarthalaythixyuxasykhxngstwthaelkhnadelk sngphlkrathbtxrabbniews thaihstwnakhnadelkimmithihlbstwnkla cungimsamarthecriyetibotaelaxacsuyphnthuid dngnnkarnakalapnghakhunmacakthaelcungepnkarkrathathiimehmaasm khadkhwamru aelairsungsamysanukthidi nxkcakni yngimminganwicyhruxkhxphisucnthangwithyasastridinpccubn samarthrbrxngidelywa kalapngha misrrphkhunthiichinkarrksaorkhidcring tamkhwamechuxkhxngchawcinobransthanphaphinpccubnkalapnghaepnstwpakhumkhrxng tam wahammiiwinkhrxbkhrxnghruxephuxkarkhakhay ykewnkarwicykalapngha enuxngcakkalapnghaepnthiecriyetibotkhxnkhangcha bangchnidxaccaichewlaepnrxypiinkaretibotephiyngaekh 1 fut aelainhnungtnnnmitwkalapnghaxyuepncanwnmak dngnnkarthalaykalapnghahnungtnethakbthalaytwkalapnghakhxngkalapnghahlayhmunhlayaesntw aetkyngmiphulklxbnakalapnghaaelapakarng macahnayintladtuplahlayaehng echn tladstweliyngctuckr ph s 2557 epntnxangxingkhwamhmaykhxngkhawa kalapngha phcnanukrmchbbrachbnthitysthan ph s 2542 klpngha lingkesiy sthabnwithyasastrthangthael mhawithyalbburpha klpngha stwthaelchnidhnung 2011 08 10 thi ewyaebkaemchchin sanknganphthnawithyasastraelaethkhonolyiaehngchati swthch klpngha hnwdphisinmanphriwihw lingkesiy okhrngkarphthnaxngkhkhwamruaelasuksanoybaykarcdkarthrphyakrchiwphaphinpraethsithywikiphcnanukrm mikhwamhmaykhxngkhawa kalapnghaaehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb kalapngha wikispichismikhxmulphasaxngkvsekiywkb Corallinales