พระเจ้าแทโจแห่งโครยอ (เกาหลี: 태조; ฮันจา: 太祖; อาร์อาร์: Taejo; เอ็มอาร์: Taejo ค.ศ. 877 - ค.ศ. 943) เป็นกษัตริย์ผู้ก่อตั้งราชวงศ์โครยอ ซึ่งปกครองเกาหลีตั้งแต่ศตวรรษที่ 10 ถึงศตวรรษที่ 14 พระเจ้าแทโจปกครองตั้งแต่ ค.ศ. 918 ถึง ค.ศ. 943 พระองค์บรรลุการรวมชาติของสามอาณาจักรหลังใน ค.ศ. 936
พระเจ้าแทโจ | |||||
---|---|---|---|---|---|
พระราชาแห่งโครยอ | |||||
ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์โครยอ | |||||
ครองราชย์ | 15 มิถุนายน ค.ศ. 918 - 4 กรกฎาคม ค.ศ. 943 (25 ปี 19 วัน) | ||||
ราชาภิเษก | 15 มิถุนายน ค.ศ. 918 | ||||
ก่อนหน้า | ก่อตั้งราชวงศ์ | ||||
ถัดไป | ฮเยจง | ||||
ประสูติ | 31 มกราคม ค.ศ. 877 | ||||
สวรรคต | 4 กรกฎาคม ค.ศ. 943 | (66 ปี)||||
จักรพรรดินี | พระนางซินฮเย พระนางจางฮวา พระนางซินมยองซุนซอง พระนางซินจ็อง พระนางซินซ็อง พระนางจองด็อก | ||||
พระราชบุตร | ฮเยจง, จองจง, ควางจง | ||||
| |||||
ราชสกุล | |||||
พระราชบิดา | วังรยุง |
ชื่อภาษาเกาหลี | |
ฮันกึล | 태조 |
---|---|
ฮันจา | 太祖 |
อาร์อาร์ | Taejo |
เอ็มอาร์ | T'aejo |
ชื่อเกิด | |
ฮันกึล | 왕건 |
ฮันจา | 王建 |
อาร์อาร์ | Wang Geon |
เอ็มอาร์ | Wang Kǒn |
ฮันกึล | 신성대왕 |
ฮันจา | 神聖大王 |
อาร์อาร์ | Sinseong-Daewang |
เอ็มอาร์ | Sinsŏng Taewang |
ก้าวขึ้นสู่อำนาจ
พระเจ้าแทโจพระนามเดิมวังกอน เสด็จพระราชสมภพติเมื่อ ค.ศ. 877 ที่เมืองซองโด ตระกูลของพระองค์นั้นมีอิทธิพลทางการค้ามหาศาลควบคุมการค้ากับจีนและชิลลาและคุมเส้นทางการค้าบริเวณตอนกลางของคาบสมุทรเกาหลี ตำนานกล่าวว่าบรรพบุรุษของพระองค์อาศัยอยู่ในดินแดน โคกูรยอ มาก่อน ดังนั้นพระองค์ทรงจึงเป็นชาวโคกูรยอ
อาณาจักรชิลลาภายใต้การปกครองของราชินีจินซองทรงอ่อนแอบรรดาขุนนางท้องถิ่นที่มีอำนาจพากันตั้งตนเป็นอิสระ และรบพุ่งกันเองจนเหลืออยู่สองฐานอำนาจใหญ่ คือ (궁예) ทางตอนเหนือ และ (견훤) ทางตอนใต้ ใน ค.ศ. 895 พระเจ้าคุงเยทรงนำทัพเข้าบุกยึดเมืองซองโดของชิลลา ชาวเมืองซองโดจึงตกอยู่ภายใต้การปกครองของพระเจ้าคุงเย ซึ่งประกาศปราบดาภิเษกพระองค์ป็นกษัตริย์แห่งอาณาจักรโกกูรยอใหม่ (후고구려, 後高句麗) พระเจ้าแทโจทรงถวายรับใช้พระเจ้าคุงเยเป็นแม่ทัพคุมทัพเรือด้วยประสบการณ์การเดินเรือสมัยเป็นพ่อค้าทำให้พระองค์ประสบความสำเร็จและได้รับความไว้วางพระทัยจากพระเจ้าคุงเยอย่างมากถึงขนาดตรัสว่าพระเจ้าแทโจเป็นน้อง
ใน ค.ศ. 915 พระเจ้าคุงเยทรงเปลี่ยนชื่ออาณาจักรเป็นแทบง (태봉, 泰封) และโปรดให้วังกอนเป็นอัครเสนาบดี แต่พระเจ้าคุงเยทรงเหลิงอำนาจ ประกาศว่าเพระองค์ทรงเป็น มีนึก (พระศรีอาริยเมตตรัย) ทรงปกครองอย่างเผด็จการ ใช้เงินอย่างฟุ่มเฟือยในการจัดพิธีบูชาตัวเอง ใน ค.ศ. 918 บรรดาผู้นำทหารของแทบงจึงกระทำการยึดอำนาจและสังหารคุงเย และเชิญวังกอนขึ้นครองราชสมบัติวังกอนเปลี่ยนชื่ออาณาจักรใหม่เป็น โครยอ (고려, 高麗) มาจาก โกคูรยอ เพื่ออ้างถึงการสืบทอดจากอาณาจักรโบราณที่ยิ่งใหญ่ พระเจ้าแทโจทรงสถาปนาเมืองซองโดขึ้นเป็นเมืองหลวง ใน ค.ศ. 926 อาณาจักรบัลแฮ (발해, 渤海) ของชาวเกาหลีถูกพวกคิตันบุกทำลาย ชาวเกาหลีจำนวนมากจึงอพยพลงมาโครยอนำโดยแทควางฮย็อน (대광현, 大光顯) รัชทายาทแห่งพาลแฮ พระเจ้าแทโจก็ต้อนรับเลี้ยงดูชาวพาลแฮอย่างดีในฐานะที่มีบรรพบุรุษเป็นชาวโคกูรยอเหมือนกัน
รวมคาบสมุทรเกาหลี
พระเจ้าแทโจฟื้นฟูเมืองเปียงยางอดีตเมืองหลวงอาณาจักรโคกูรยอให้เป็นศูนย์กลางทางการทหารเพื่อต้านทานพวกคิตันทางเหนือ หลังจากที่รกร้างไปนานหลังอาณาจักรโคกูรยอล่มสลาย ใน ค.ศ. 927 พระเจ้าคยอนฮวอน กษัตริย์แห่งฮูแบกเจ (후백제, 後百濟) นำทัพบุกทำลายเมืองคยองจู เมืองหลวงของชิลลา สังหารพระเจ้าคยองแอ (경애왕, 景哀王) จับตัวพระราชวงศ์ชิลลา กวาดต้อนชาวเมือง และตั้งพระเจ้าคยองซุน (경순왕, 敬順王) เป็นกษัตริย์หุ่นเชิด เหตุการณ์นี้ทำให้คยอนฮวอนมีอำนาจเด็ดขาดในคาบสมุทรเกาหลี และหันมาบุกโครยอ พระเจ้าแทโจทรงยกทัพไปสู้ แต่พ่ายแพ้ยับเยินที่เขาคงซาน (공산, 公山) และสูญเสียผู้นำทหารคนสำคัญรวมทั้งคนที่ช่วยพระองค์ให้ขึ้นบัลลังก์ด้วย
แต่ใน ค.ศ. 930 พระเจ้าแทโจก็สามารถกู้สถานการณ์คืนได้โดยยกทัพบุกเอาชนะทัพฮูแบกเจที่โคชัง (고창 전투) ความพ่ายแพ้ครั้งนี้ทำให้ราชสำนักของฮูแบกเจปั่นป่วน เกิดความขัดแย้งภายในเพื่อแย่งชิงบัลลังก์ คยอนฮวอนจึงตั้งบุตรชายคนที่สี่ของตนเป็นรัชทายาท ทำให้บุตรชายคนโตของคยอนฮวอน คือ ชินกอม (신검) ไม่พอใจจับคยอนฮวอนบิดาของตนขังไว้ที่วัด แต่คยอนฮวอนหลบหนีมาได้ และเดินทางมาโครยอขอยอมจำนนแต่พระเจ้าแทโจ
ใน ค.ศ. 935 พระเจ้าคยองซุนนำขุนนางชิลลามาสวามิภักดิ์ต่อพระเจ้าแทโจ สิ้นสุด 900 กว่าปีอาณาจักรชิลลา ใน ค.ศ. 936 พระเจ้าแทโจยกทัพบุกฮูแบกเจ เอาชนะชินกอมแล้วบุกยึดฮูแบกเจ รวมคาบสมุทรเกาหลีเป็นหนึ่งได้อีกครั้ง
ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์โครยอ
พระเจ้าแทโจตระหนักว่าพระองค์ก้าวขึ้นสู่บัลลังก์ได้ด้วยการสนับสนุนจากขุนนางท้องถิ่นราชสำนักของพระองค์นั้นก็ประกอบไปด้วยขุนนางจากอาณาจักรต่าง ๆ พระเจ้าแทโจจึงดำเนินนโยบายประนีประนอมกับอำนาจเก่าเหล่านี้ ไม่กดขี่หรือแย่งอำนาจมาพระเจ้าแทโจตั้งพระเจ้าคยองซุนกษัตริย์องค์สุดท้ายของชิลลาเป็นเจ้าเมืองคยองจูซึ่งมีบรรดาศักดิ์สูงกว่าองค์ชายรัชทายาทของโครยอเสียอีก ให้ยศถาบรรดาศักดิ์กับขุนนางชิลลาเดิม และพยายามอย่างมากที่จะรวมพระราชวงศ์ชิลลาเข้ากับพระองค์โดยการอภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงชิลลาหลายพระองค์
พระเจ้าแทโจยังประกาศให้พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำอาณาจักรอีกด้วย พระเจ้าแทโจเกลียดชังพวกคิตันว่าป่าเถื่อนมาข่มเหงชาวเกาหลี แม้พวกคิตันจะส่งทูตมาเจรจาสัมพันธไมตรีมากี่ครั้งแต่ก็ขับไล่ทูตคิตันออกไปและจับอูฐที่ทูตคิตันให้มาเป็นของขวัญขังไว้ให้อดอาหารตาย
พระราชวงศ์
- พระปัยกา: พระเจ้าว็อนด็อก
- พระปัยยิกา: พระนางจองฮวา
- พระอัยยา: พระเจ้าอึยโจ
- พระอัยยิกา: พระนางวอนชาง
- พระราชบิดา: พระเจ้าเซจง
- พระราชมารดา: พระนางวีซุก
พระมเหสี พระราชโอรสและพระราชธิดา
- พระนางซินฮเย (신혜왕후) ตระกูล ยู
- พระนางจางฮวา (장화왕후) ตระกูล โอ
- พระเจ้าฮเยจง (혜종)
- พระนางชินมย็องซุนซ็อง (신명순성왕후) ตระกูล ยู แห่ง ชุงจู
- เจ้าชายแท (태자 태)
- พระเจ้าจองจงที่ 1 (정종)
- พระเจ้าควางจง (광종)
- พระเจ้ามุนวอน (문원대왕)
- เจ้าชายจุงทง กุกซา (증통국사)
- เจ้าหญิงนักรัง (낙랑공주)
- เจ้าหญิงฮุงบัง (흥방공주)
- พระนางซินจ็อง (신정왕후) ตระกูล ฮวางโบ แห่ง ฮวางจู
- พระเจ้าแทจง (대종) พระราชบิดาของพระเจ้าซองจงแห่งโครยอ,สมเด็จพระจักรพรรดินีฮอนแอ,สมเด็จพระจักรพรรดินีฮอนจอง
- พระนางแทมก (대목왕후) พระมเหสีของพระเจ้าควางจง พระราชมารดาของพระเจ้าคยองจง
- พระนางซินซ็อง (신성왕후) ตระกูล คิม แห่ง คยองจู
- พระเจ้าอานจง (안종) พระราชบิดาของพระเจ้าฮย็อนจงแห่งโครยอ
- พระนางจองด็อก (정덕왕후)
- เจ้าชายวังยู (왕위군)
- เจ้าชายอินแอ (인애군)
- เจ้าชายวอนจัง (원장태자)
- เจ้าชายโจยี (조이군)
- พระนางมุนฮเย (문혜왕후)
- พระนางซอนอึย (선의왕후)
พระสนม พระราชโอรสและพระราชธิดา
- เจ้าหญิงไม่ทราบพระนาม
- พระสนมฮอนมกแด (헌목대부인)
- เจ้าชายซูมยอง (수명태자)
- พระสนมจองมก (정목부인)
- พระพันปีซุนอัน (순안왕대비)
- พระสนมทงยังวอน (동양원부인)
- เจ้าชายฮโยมก (효목태자)
- เจ้าชายฮโยอึน (효은태자)
- พระสนมซุกมก (숙목부인)
- เจ้าชายวอนนยอง (원녕태자)
- พระสนมชอนอันบูวอน (천안부원부인)
- เจ้าชายฮโยซอง (효성태자)
- เจ้าชายฮโยจี (효지태자)
- พระสนมฮุงบกวอน (흥복원부인)
- เจ้าชายจิค (태자 직)
- เจ้าหญิงไม่ทราบพระนาม
- พระสนมฮูแดรยังวอน (후대량원부인)
- พระสนมแดมยองจูวอน (대명주원부인)
- พระสนมควังจูวอน (광주원부인)
- พระสนมโซควังจูวอน (소광주원부인)
- พระสนมทงซันวอน (동산원부인)
- พระสนมเยฮวา (예화부인)
- พระสนมแดซอวอน (대서원부인)
- พระสนมโซซอวอน (소서원부인)
- พระสนมซอจอนวอน (서전원부인)
- พระสนมซินจูวอน (신주원부인)
- พระสนมวอลฮูวอน (월화원부인)
- พระสนมโซฮวังจูวอน (소황주원부인)
- เจ้าชายควังจูวอน (광주원군)
- พระสนมซองมู (성무부인)
- เจ้าชายฮโยเจ (효제태자)
- เจ้าชายฮโยมยอง (효명태자)
- เจ้าชายบอบทุง (법등군)
- เจ้าชายจาลี (자리군)
- เจ้าหญิงไม่ทราบพระนาม
- พระสนมอึนซองบูวอน (의성부원부인)
- เจ้าชายอึยซองบูวอน (의성부원대군)
- พระสนมวอลคยองวอน (월경원부인)
- พระสนมมยองยางวอน (몽량원부인)
- พระสนมแฮยังวอน (해량원부인)
อ้างอิง
- "왕건(王建)". 문화콘텐츠닷컴 (ภาษาเกาหลี). Korea Creative Content Agency. สืบค้นเมื่อ 26 May 2018.
- http://www.koreanhistoryproject.org/Ket/C04/E0401.htm
- http://www.koreanhistoryproject.org/Ket/C04/E0404.htm
แหล่งข้อมูลอื่น
ก่อนหน้า | พระเจ้าแทโจแห่งโครยอ | ถัดไป | ||
---|---|---|---|---|
พระราชาแห่งโครยอ (พ.ศ. 1461 – พ.ศ. 1486) | พระเจ้าฮเยจง |
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phraecaaethocaehngokhryx ekahli 태조 hnca 太祖 xarxar Taejo exmxar Taejo kh s 877 kh s 943 epnkstriyphukxtngrachwngsokhryx sungpkkhrxngekahlitngaetstwrrsthi 10 thungstwrrsthi 14 phraecaaethocpkkhrxngtngaet kh s 918 thung kh s 943 phraxngkhbrrlukarrwmchatikhxngsamxanackrhlngin kh s 936phraecaaethocphrarachaaehngokhryxpthmkstriyaehngrachwngsokhryxkhrxngrachy15 mithunayn kh s 918 4 krkdakhm kh s 943 25 pi 19 wn rachaphiesk15 mithunayn kh s 918kxnhnakxtngrachwngsthdipheycngprasuti31 mkrakhm kh s 877swrrkht4 krkdakhm kh s 943 943 07 04 66 pi ckrphrrdiniphranangsinhey phranangcanghwa phranangsinmyxngsunsxng phranangsincxng phranangsinsxng phranangcxngdxkphrarachbutrheycng cxngcng khwangcngphranametmphraecaaethocaehngokhryxrachskulphrarachbidawngryungchuxphasaekahlihnkul태조hnca太祖xarxarTaejoexmxarT aejochuxekidhnkul왕건hnca王建xarxarWang GeonexmxarWang Kǒnhnkul신성대왕hnca神聖大王xarxarSinseong DaewangexmxarSinsŏng Taewangphrarachsusanhlwngkhxngphraecaaethociklemuxngaeksxng praethsekahliehnux 현릉 顯陵 kawkhunsuxanacphraecaaethocphranamedimwngkxn esdcphrarachsmphphtiemux kh s 877 thiemuxngsxngod trakulkhxngphraxngkhnnmixiththiphlthangkarkhamhasalkhwbkhumkarkhakbcinaelachillaaelakhumesnthangkarkhabriewntxnklangkhxngkhabsmuthrekahli tananklawwabrrphburuskhxngphraxngkhxasyxyuindinaedn okhkuryx makxn dngnnphraxngkhthrngcungepnchawokhkuryx xanackrchillaphayitkarpkkhrxngkhxngrachinicinsxngthrngxxnaexbrrdakhunnangthxngthinthimixanacphakntngtnepnxisra aelarbphungknexngcnehluxxyusxngthanxanacihy khux 궁예 thangtxnehnux aela 견훤 thangtxnit in kh s 895 phraecakhungeythrngnathphekhabukyudemuxngsxngodkhxngchilla chawemuxngsxngodcungtkxyuphayitkarpkkhrxngkhxngphraecakhungey sungprakasprabdaphieskphraxngkhpnkstriyaehngxanackrokkuryxihm 후고구려 後高句麗 phraecaaethocthrngthwayrbichphraecakhungeyepnaemthphkhumthpheruxdwyprasbkarnkaredineruxsmyepnphxkhathaihphraxngkhprasbkhwamsaercaelaidrbkhwamiwwangphrathycakphraecakhungeyxyangmakthungkhnadtrswaphraecaaethocepnnxng in kh s 915 phraecakhungeythrngepliynchuxxanackrepnaethbng 태봉 泰封 aelaoprdihwngkxnepnxkhresnabdi aetphraecakhungeythrngehlingxanac prakaswaephraxngkhthrngepn minuk phrasrixariyemttry thrngpkkhrxngxyangephdckar ichenginxyangfumefuxyinkarcdphithibuchatwexng in kh s 918 brrdaphunathharkhxngaethbngcungkrathakaryudxanacaelasngharkhungey aelaechiywngkxnkhunkhrxngrachsmbtiwngkxnepliynchuxxanackrihmepn okhryx 고려 高麗 macak okkhuryx ephuxxangthungkarsubthxdcakxanackrobranthiyingihy phraecaaethocthrngsthapnaemuxngsxngodkhunepnemuxnghlwng in kh s 926 xanackrblaeh 발해 渤海 khxngchawekahlithukphwkkhitnbukthalay chawekahlicanwnmakcungxphyphlngmaokhryxnaodyaethkhwanghyxn 대광현 大光顯 rchthayathaehngphalaeh phraecaaethocktxnrbeliyngduchawphalaehxyangdiinthanathimibrrphburusepnchawokhkuryxehmuxnknrwmkhabsmuthrekahliphraecaaethocfunfuemuxngepiyngyangxditemuxnghlwngxanackrokhkuryxihepnsunyklangthangkarthharephuxtanthanphwkkhitnthangehnux hlngcakthirkrangipnanhlngxanackrokhkuryxlmslay in kh s 927 phraecakhyxnhwxn kstriyaehnghuaebkec 후백제 後百濟 nathphbukthalayemuxngkhyxngcu emuxnghlwngkhxngchilla sngharphraecakhyxngaex 경애왕 景哀王 cbtwphrarachwngschilla kwadtxnchawemuxng aelatngphraecakhyxngsun 경순왕 敬順王 epnkstriyhunechid ehtukarnnithaihkhyxnhwxnmixanaceddkhadinkhabsmuthrekahli aelahnmabukokhryx phraecaaethocthrngykthphipsu aetphayaephybeyinthiekhakhngsan 공산 公山 aelasuyesiyphunathharkhnsakhyrwmthngkhnthichwyphraxngkhihkhunbllngkdwy aetin kh s 930 phraecaaethocksamarthkusthankarnkhunidodyykthphbukexachnathphhuaebkecthiokhchng 고창 전투 khwamphayaephkhrngnithaihrachsankkhxnghuaebkecpnpwn ekidkhwamkhdaeyngphayinephuxaeyngchingbllngk khyxnhwxncungtngbutrchaykhnthisikhxngtnepnrchthayath thaihbutrchaykhnotkhxngkhyxnhwxn khux chinkxm 신검 imphxiccbkhyxnhwxnbidakhxngtnkhngiwthiwd aetkhyxnhwxnhlbhnimaid aelaedinthangmaokhryxkhxyxmcannaetphraecaaethoc in kh s 935 phraecakhyxngsunnakhunnangchillamaswamiphkditxphraecaaethoc sinsud 900 kwapixanackrchilla in kh s 936 phraecaaethocykthphbukhuaebkec exachnachinkxmaelwbukyudhuaebkec rwmkhabsmuthrekahliepnhnungidxikkhrngpthmkstriyrachwngsokhryxphraecaaethoctrahnkwaphraxngkhkawkhunsubllngkiddwykarsnbsnuncakkhunnangthxngthinrachsankkhxngphraxngkhnnkprakxbipdwykhunnangcakxanackrtang phraecaaethoccungdaeninnoybaypranipranxmkbxanacekaehlani imkdkhihruxaeyngxanacmaphraecaaethoctngphraecakhyxngsunkstriyxngkhsudthaykhxngchillaepnecaemuxngkhyxngcusungmibrrdaskdisungkwaxngkhchayrchthayathkhxngokhryxesiyxik ihysthabrrdaskdikbkhunnangchillaedim aelaphyayamxyangmakthicarwmphrarachwngschillaekhakbphraxngkhodykarxphiesksmrskbecahyingchillahlayphraxngkh phraecaaethocyngprakasihphraphuththsasnaepnsasnapracaxanackrxikdwy phraecaaethocekliydchngphwkkhitnwapaethuxnmakhmehngchawekahli aemphwkkhitncasngthutmaecrcasmphnthimtrimakikhrngaetkkhbilthutkhitnxxkipaelacbxuththithutkhitnihmaepnkhxngkhwykhngiwihxdxahartayphrarachwngsphrapyka phraecawxndxk phrapyyika phranangcxnghwa phraxyya phraecaxuyoc phraxyyika phranangwxnchang phrarachbida phraecaescng phrarachmarda phranangwisuk phramehsi phrarachoxrsaelaphrarachthida phranangsinhey 신혜왕후 trakul yu phranangcanghwa 장화왕후 trakul ox phraecaheycng 혜종 phranangchinmyxngsunsxng 신명순성왕후 trakul yu aehng chungcu ecachayaeth 태자 태 phraecacxngcngthi 1 정종 phraecakhwangcng 광종 phraecamunwxn 문원대왕 ecachaycungthng kuksa 증통국사 ecahyingnkrng 낙랑공주 ecahyinghungbng 흥방공주 phranangsincxng 신정왕후 trakul hwangob aehng hwangcu phraecaaethcng 대종 phrarachbidakhxngphraecasxngcngaehngokhryx smedcphrackrphrrdinihxnaex smedcphrackrphrrdinihxncxng phranangaethmk 대목왕후 phramehsikhxngphraecakhwangcng phrarachmardakhxngphraecakhyxngcng phranangsinsxng 신성왕후 trakul khim aehng khyxngcu phraecaxancng 안종 phrarachbidakhxngphraecahyxncngaehngokhryx phranangcxngdxk 정덕왕후 ecachaywngyu 왕위군 ecachayxinaex 인애군 ecachaywxncng 원장태자 ecachayocyi 조이군 phranangmunhey 문혜왕후 phranangsxnxuy 선의왕후 phrasnm phrarachoxrsaelaphrarachthida ecahyingimthrabphranam phrasnmhxnmkaed 헌목대부인 ecachaysumyxng 수명태자 phrasnmcxngmk 정목부인 phraphnpisunxn 순안왕대비 phrasnmthngyngwxn 동양원부인 ecachayhoymk 효목태자 ecachayhoyxun 효은태자 phrasnmsukmk 숙목부인 ecachaywxnnyxng 원녕태자 phrasnmchxnxnbuwxn 천안부원부인 ecachayhoysxng 효성태자 ecachayhoyci 효지태자 phrasnmhungbkwxn 흥복원부인 ecachaycikh 태자 직 ecahyingimthrabphranam phrasnmhuaedryngwxn 후대량원부인 phrasnmaedmyxngcuwxn 대명주원부인 phrasnmkhwngcuwxn 광주원부인 phrasnmoskhwngcuwxn 소광주원부인 phrasnmthngsnwxn 동산원부인 phrasnmeyhwa 예화부인 phrasnmaedsxwxn 대서원부인 phrasnmossxwxn 소서원부인 phrasnmsxcxnwxn 서전원부인 phrasnmsincuwxn 신주원부인 phrasnmwxlhuwxn 월화원부인 phrasnmoshwngcuwxn 소황주원부인 ecachaykhwngcuwxn 광주원군 phrasnmsxngmu 성무부인 ecachayhoyec 효제태자 ecachayhoymyxng 효명태자 ecachaybxbthung 법등군 ecachaycali 자리군 ecahyingimthrabphranam phrasnmxunsxngbuwxn 의성부원부인 ecachayxuysxngbuwxn 의성부원대군 phrasnmwxlkhyxngwxn 월경원부인 phrasnmmyxngyangwxn 몽량원부인 phrasnmaehyngwxn 해량원부인 xangxing 왕건 王建 문화콘텐츠닷컴 phasaekahli Korea Creative Content Agency subkhnemux 26 May 2018 http www koreanhistoryproject org Ket C04 E0401 htm http www koreanhistoryproject org Ket C04 E0404 htmaehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb phraecaaethocaehngokhryx sthaniyxypraethsekahlikxnhna phraecaaethocaehngokhryx thdipphrarachaaehngokhryx ph s 1461 ph s 1486 phraecaheycng