บทความนี้ไม่มีจาก |
พระเจ้าซองจงแห่งโครยอ (เกาหลี: 성종; ฮันจา: 成宗; อาร์อาร์: Seongjong; เอ็มอาร์: Sŏngchong ค.ศ. 960 - ค.ศ. 997) พระราชาองค์ที่ 6 แห่งราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 981 - ค.ศ. 997) เป็นกษัตริย์ที่ขึ้นครองราชย์โดยการก่อกบฏยึดอำนาจ จากพระเจ้าคยองจงแห่งโครยอกษัตริย์พระองค์ก่อน โดยร่วมมือกับขุนนางกลุ่มซิลลาที่ยังมีอำนาจหวังจะกอบกู้อาณาจักรซิลลาขึ้นมาใหม่ โดยการใช้กำลังทหารยึดวังหลวงและวางยาพิษพระเจ้าคยองจง ให้เนรเทศสมเด็จพระราชินีฮอนแอและสมเด็จพระราชินีฮอนจองพระมเหสีของพระเจ้าคยองจง โดยที่พระมเหสีทั้งสองพระองค์เป็นน้องสาวของพระองค์ และพระเจ้าซองจงเป็นผู้ทำให้พระนางซินจองผู้เป็นพระอัยยิกาและพระนางฮอนจองผู้เป็นพระขนิษฐาสิ้นพระชนม์ด้วย ในรัชสมัยของพระองค์มีการปฏิรูปการปกครองครั้งใหญ่เพื่อกำจัดอำนาจขุนนางท้องถิ่น และมีสงครามกับพวกคิตันราชวงศ์เหลียว
พระเจ้าซองจงแห่งโครยอ | |
ฮันกึล | 성종 |
---|---|
ฮันจา | 成宗 |
อาร์อาร์ | Seongjong |
เอ็มอาร์ | Sŏngjong |
องค์ชายวัง ชี (왕치, 王治) เป็นพระโอรสของสมเด็จพระชายาซอนอึยกับองค์ชายวัง อุก (왕욱, 王旭) หรือพระเจ้าแทจง พระราชโอรสของพระเจ้าแทโจกับสมเด็จพระจักรรพรดินีซินจอง (신정왕후, 神靜王后) ตระกูล ฮวางจู ในค.ศ. 981 พระเจ้าคยองจงแห่งโครยอสวรรคต พระราชโอรสองค์ชายวัง ซง (왕송, 王訟 ภายหลังขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้ามกจง) ก็พระชนมายุเพียง 2 พรรษา ไม่อาจขึ้นครองบ้านเมืองได้ บัลลังก์จึงตกมาสู่องค์ชายวัง ชี ซึ่งเป็นพระโอรสขององค์ชายวังอุก และเป็นพระราชนัดดาของพระเจ้าแทโจ เมื่อขึ้นครองราชย์แล้ว พระเจ้าซองจงก็สถาปนาพระราชบิดาองค์ชายวัง อุกเป็นพระเจ้าแทจง (대종, 戴宗)
ในค.ศ. 982 พระเจ้าซองจงปฏิรูปการปกครองท้องถิ่นเสียใหม่ตามแบบจีน เดิมที่การปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นของขุนนางที่ยึดครองดินแดนเหล่านั้นมาตั้งแต่ปลายสมัยชิลลา และตำแหน่งผู้ครองนครนั้นก็สามารถตกไปให้ลูกหลานได้ แต่พระเจ้าซองจงเปลี่ยนใหม่แบ่งอาณาจักรออกเป็น 12 ส่วน แต่ละส่วนมีเจ้าครองนครให้มีวาระการดำรงตำแหน่ง และสืบทอดไปยังลูกหลานไม่ได้ต้องได้รับการแต่งตั้งจากส่วนกลางเท่านั้น เป็นการล้มล้างอำนาจของขุนนางท้องถิ่นที่มีมานานตั้งแต่ก่อตั้งอาณาจักร พระเจ้าซองจงยังทรงตั้งโรงเรียนขึ้นตามท้องถิ่นต่างๆเพื่อให้บุคคลที่มีความสามารถสอบจอหงวนเข้ารับราชการมาแทนที่กลุ่มขุนนางเดิม
ในค.ศ. 983 ฮ่องเต้เหลียวเซิ่งจง (遼聖宗) มีพระราชโองการให้ทัพคิตันบุกยึดลุ่มแม่น้ำยาลู ทำให้ต้องทำสงครามกับราชวงศ์ซ้อง ฮ่องเต้เซิ่งจงสร้างป้อมปราการขึ้นตามลุ่มแม่น้ำยาลูเพื่อกันไม่ให้พวกให้ความช่วยเหลือราชวงศ์ซ้อง แต่พระเจ้าซองจงเห็นว่าพวกคิตันอาจมาบุกโครยอจึงสร้างป้อมปราการขึ้นบ้างตามแม่น้ำยาลู ฮ่องเต้เซิ่งจงเห็นดังนั้นก็เข้าใจว่าโครยอเป็นปฏิปักษ์ต่อตน จึงส่งทัพคิตันมาบุกภายใต้การนำของเสี้ยวซุนหนิง (蕭遜寧) ทัพคิตันบุกเข้ามาอย่างรวดเร็ว เผาทำลายบ้านเมือง แต่ถูกทัพโครยอหยุดไว้ได้ที่แม่น้ำชองชอน เซี่ยวซุนหนิงจึงมาเจรจาสงบศึกกับพระเจ้าซองจง
แต่ข้อเรียกร้องของเสี้ยวซุนหนิงนั้นรุนแรง คือต้องการให้โครยอยกดินแดนตอนเหนือให้เหลียว ตัดความสัมพันธ์กับราชวงศ์ซ้อง และมาเป็นประเทศราชของเหลียว ทำให้ราชสำนักโครยอแตกเป็นสองฝ่าย คือ ฝ่ายที่เห็นว่าควรยอมจำนนกับฝ่ายที่เห็นว่าควรสู้ต่อไป นำโดยแม่ทัพซอ ฮี แม่ทัพโครยอในศึกครั้งนี้ ระหว่างที่ราชสำนักกำลังถกเถียงกันอยู่เสี้ยวซุนหนิงก็ยกทัพบุกเข้ามาอีกทำให้ราชสำนักตกใจแทบสิ้นสติ แม่ทัพซอ ฮี จึงของอาสาเป็นผู้แทนเจรจากับพวกคิตัน แม่ทัพซอฮี (서희) หลอกเสี้ยวซุนหนิงว่า ดินแดนอันกว้างใหญ่ไพศาลทางตอนเหนือรวมทั้งคาบสมุทรเหลียวตงเป็นของอาณาจักรโคกูรยอ ดังนั้นจึงควรจะเป็นของโครยอด้วย และบอกอีกว่าโครยอจะยอมเป็นข้าของราชวงศ์เหลียวต่อเมื่อราชวงศ์เหลียวกำจัดพวกนูร์เชนที่อยู่ตามแม่น้ำยาลูออกไป เสี้ยวซุนหนิงเห็นว่า เหลียวก็ทำสงครามกับซ้องหนักอยู่แล้ว จะต้องมาปราบพวกนูร์เชนอีกคงไม่ไหว จึงยกดินแดนทางตอนเหนือจรดแม่น้ำยาลูที่พวกนูร์เชนอาศัยอยู่ ให้โครยอไปเลยดีกว่า
สิ้นสุดสงครามราชสำนักโครยอเริ่มความสัมพันธ์ทางการทูตกับราชวงศ์เหลียว และตัดความสัมพันธ์กับราชวงศ์ซ้องไปชั่วคราว แม่ทัพซอ ฮี นำทัพเข้าปราบปรามชาวนูร์เชน ได้ดินแดนเพิ่มขึ้นไปจรดแม่น้ำยาลู พระเจ้าซองจงมีพระราชโองการให้สะสมกำลังกองทัพและสร้างป้อมปราการขนาดใหญ่ขึ้นหกแห่งที่ชายแดน
ค.ศ. 997 พระเจ้าซองจงสวรรคตเมื่อพระชนมายุ 37 พรรษา โดยที่ไม่มีพระราชโอรสสืบบัลลังก์ องค์ชายวังซงพระราชโอรสของพระเจ้าคยองจงจึงขึ้นครองราชย์ต่อเป็นพระเจ้ามกจง
พระราชวงศ์
- พระราชบิดา พระเจ้าแทจง (대종, 戴宗) พระราชโอรสของพระเจ้าแทโจ กับสมเด็จพระจักรพรรดินีซินจอง
- พระราชมารดา สมเด็จพระจักรพรรดินีซอนอึย ตระกูล ยู (선의왕후 유씨, 宣義王后 劉氏) พระราชธิดาของพระเจ้าแทโจ กับ สมเด็จพระจักรพรรดินีจองด๊อก
พระมเหสี
- สมเด็จพระราชินีมุนด๊อก ตระกูล ฮวางโบ แห่ง ฮวางจู (문덕왕후 황보씨, 文德王后) พระราชธิดาของพระเจ้าควางจง กับสมเด็จพระราชินีแทมก
- สมเด็จพระราชินีมุนฮวา ตระกูล คิม (문화왕후 김씨, 文和王后) ธิดาของ คิมวอนซุง
พระสนม
- พระสนมยอนชาง (낙랑군대부인 최씨, 樂浪郡大夫人)
พระขนิษฐา
- สมเด็จพระจักรพรรดินีฮอนแอ ตระกูล ฮวางโบ แห่ง ฮวางจู (헌애왕후 황보씨, 獻哀王后)
- สมเด็จพระจักรพรรดินีฮอนจอง ตระกูล ฮวางโบ แห่ง ฮวางจู (헌정왕후 황보씨, 獻貞王后)
พระราชธิดา
- สมเด็จพระจักรพรรดินีซอนจอง ตระกูล ฮวางโบ แห่ง ฮวางจู (선정왕후 유씨, 宣正王后 劉氏) พระราชธิดาของสมเด็จพระราชินีมุนด๊อก
- สมเด็จพระจักรพรรดินีวอนจอง ตระกูล คิม (원정왕후, 元貞王后) พระราชธิดาของสมเด็จพระราชินีมุนฮวา
- สมเด็จพระจักรพรรดินีวอนฮวา (원화왕후, 元和王后) พระราชธิดาของพระสนมยอนชาง
อ้างอิง
ก่อนหน้า | พระเจ้าซองจงแห่งโครยอ | ถัดไป | ||
---|---|---|---|---|
พระเจ้าคยองจง | พระราชาแห่งโครยอ (พ.ศ. 1524 - พ.ศ. 1540) | พระเจ้ามกจง |
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir phraecasxngcngaehngokhryx ekahli 성종 hnca 成宗 xarxar Seongjong exmxar Sŏngchong kh s 960 kh s 997 phrarachaxngkhthi 6 aehngrachwngsokhryx kh s 981 kh s 997 epnkstriythikhunkhrxngrachyodykarkxkbtyudxanac cakphraecakhyxngcngaehngokhryxkstriyphraxngkhkxn odyrwmmuxkbkhunnangklumsillathiyngmixanachwngcakxbkuxanackrsillakhunmaihm odykarichkalngthharyudwnghlwngaelawangyaphisphraecakhyxngcng ihenrethssmedcphrarachinihxnaexaelasmedcphrarachinihxncxngphramehsikhxngphraecakhyxngcng odythiphramehsithngsxngphraxngkhepnnxngsawkhxngphraxngkh aelaphraecasxngcngepnphuthaihphranangsincxngphuepnphraxyyikaaelaphrananghxncxngphuepnphrakhnisthasinphrachnmdwy inrchsmykhxngphraxngkhmikarptirupkarpkkhrxngkhrngihyephuxkacdxanackhunnangthxngthin aelamisngkhramkbphwkkhitnrachwngsehliywphraecasxngcngaehngokhryxhnkul성종hnca成宗xarxarSeongjongexmxarSŏngjongbthkhwamnixangxingkhristskrach khristthswrrs khriststwrrs sungepnsarasakhykhxngenuxha xngkhchaywng chi 왕치 王治 epnphraoxrskhxngsmedcphrachayasxnxuykbxngkhchaywng xuk 왕욱 王旭 hruxphraecaaethcng phrarachoxrskhxngphraecaaethockbsmedcphrackrrphrdinisincxng 신정왕후 神靜王后 trakul hwangcu inkh s 981 phraecakhyxngcngaehngokhryxswrrkht phrarachoxrsxngkhchaywng sng 왕송 王訟 phayhlngkhunkhrxngrachyepnphraecamkcng kphrachnmayuephiyng 2 phrrsa imxackhunkhrxngbanemuxngid bllngkcungtkmasuxngkhchaywng chi sungepnphraoxrskhxngxngkhchaywngxuk aelaepnphrarachnddakhxngphraecaaethoc emuxkhunkhrxngrachyaelw phraecasxngcngksthapnaphrarachbidaxngkhchaywng xukepnphraecaaethcng 대종 戴宗 inkh s 982 phraecasxngcngptirupkarpkkhrxngthxngthinesiyihmtamaebbcin edimthikarpkkhrxngswnthxngthinepnkhxngkhunnangthiyudkhrxngdinaednehlannmatngaetplaysmychilla aelataaehnngphukhrxngnkhrnnksamarthtkipihlukhlanid aetphraecasxngcngepliynihmaebngxanackrxxkepn 12 swn aetlaswnmiecakhrxngnkhrihmiwarakardarngtaaehnng aelasubthxdipynglukhlanimidtxngidrbkaraetngtngcakswnklangethann epnkarlmlangxanackhxngkhunnangthxngthinthimimanantngaetkxtngxanackr phraecasxngcngyngthrngtngorngeriynkhuntamthxngthintangephuxihbukhkhlthimikhwamsamarthsxbcxhngwnekharbrachkarmaaethnthiklumkhunnangedim inkh s 983 hxngetehliywesingcng 遼聖宗 miphrarachoxngkarihthphkhitnbukyudlumaemnayalu thaihtxngthasngkhramkbrachwngssxng hxngetesingcngsrangpxmprakarkhuntamlumaemnayaluephuxknimihphwkihkhwamchwyehluxrachwngssxng aetphraecasxngcngehnwaphwkkhitnxacmabukokhryxcungsrangpxmprakarkhunbangtamaemnayalu hxngetesingcngehndngnnkekhaicwaokhryxepnptipkstxtn cungsngthphkhitnmabukphayitkarnakhxngesiywsunhning 蕭遜寧 thphkhitnbukekhamaxyangrwderw ephathalaybanemuxng aetthukthphokhryxhyudiwidthiaemnachxngchxn esiywsunhningcungmaecrcasngbsukkbphraecasxngcng aetkhxeriykrxngkhxngesiywsunhningnnrunaerng khuxtxngkarihokhryxykdinaedntxnehnuxihehliyw tdkhwamsmphnthkbrachwngssxng aelamaepnpraethsrachkhxngehliyw thaihrachsankokhryxaetkepnsxngfay khux faythiehnwakhwryxmcannkbfaythiehnwakhwrsutxip naodyaemthphsx hi aemthphokhryxinsukkhrngni rahwangthirachsankkalngthkethiyngknxyuesiywsunhningkykthphbukekhamaxikthaihrachsanktkicaethbsinsti aemthphsx hi cungkhxngxasaepnphuaethnecrcakbphwkkhitn aemthphsxhi 서희 hlxkesiywsunhningwa dinaednxnkwangihyiphsalthangtxnehnuxrwmthngkhabsmuthrehliywtngepnkhxngxanackrokhkuryx dngnncungkhwrcaepnkhxngokhryxdwy aelabxkxikwaokhryxcayxmepnkhakhxngrachwngsehliywtxemuxrachwngsehliywkacdphwknurechnthixyutamaemnayaluxxkip esiywsunhningehnwa ehliywkthasngkhramkbsxnghnkxyuaelw catxngmaprabphwknurechnxikkhngimihw cungykdinaednthangtxnehnuxcrdaemnayaluthiphwknurechnxasyxyu ihokhryxipelydikwa sinsudsngkhramrachsankokhryxerimkhwamsmphnththangkarthutkbrachwngsehliyw aelatdkhwamsmphnthkbrachwngssxngipchwkhraw aemthphsx hi nathphekhaprabpramchawnurechn iddinaednephimkhunipcrdaemnayalu phraecasxngcngmiphrarachoxngkarihsasmkalngkxngthphaelasrangpxmprakarkhnadihykhunhkaehngthichayaedn kh s 997 phraecasxngcngswrrkhtemuxphrachnmayu 37 phrrsa odythiimmiphrarachoxrssubbllngk xngkhchaywngsngphrarachoxrskhxngphraecakhyxngcngcungkhunkhrxngrachytxepnphraecamkcngphrarachwngsphrarachbida phraecaaethcng 대종 戴宗 phrarachoxrskhxngphraecaaethoc kbsmedcphrackrphrrdinisincxng phrarachmarda smedcphrackrphrrdinisxnxuy trakul yu 선의왕후 유씨 宣義王后 劉氏 phrarachthidakhxngphraecaaethoc kb smedcphrackrphrrdinicxngdxk phramehsi smedcphrarachinimundxk trakul hwangob aehng hwangcu 문덕왕후 황보씨 文德王后 phrarachthidakhxngphraecakhwangcng kbsmedcphrarachiniaethmk smedcphrarachinimunhwa trakul khim 문화왕후 김씨 文和王后 thidakhxng khimwxnsung phrasnm phrasnmyxnchang 낙랑군대부인 최씨 樂浪郡大夫人 phrakhnistha smedcphrackrphrrdinihxnaex trakul hwangob aehng hwangcu 헌애왕후 황보씨 獻哀王后 smedcphrackrphrrdinihxncxng trakul hwangob aehng hwangcu 헌정왕후 황보씨 獻貞王后 phrarachthida smedcphrackrphrrdinisxncxng trakul hwangob aehng hwangcu 선정왕후 유씨 宣正王后 劉氏 phrarachthidakhxngsmedcphrarachinimundxk smedcphrackrphrrdiniwxncxng trakul khim 원정왕후 元貞王后 phrarachthidakhxngsmedcphrarachinimunhwa smedcphrackrphrrdiniwxnhwa 원화왕후 元和王后 phrarachthidakhxngphrasnmyxnchangxangxinghttp www koreanhistoryproject org Ket C04 E0405 htm http www koreanhistoryproject org Ket C04 E0406 htm kxnhna phraecasxngcngaehngokhryx thdipphraecakhyxngcng phrarachaaehngokhryx ph s 1524 ph s 1540 phraecamkcng