อำมาตย์โท พระมนตรีพจนกิจ (หม่อมราชวงศ์ชาย ชุมแสง) หรือ หม่อมราชวงศ์ชายสรรพศิลป์เครือวัลย์ ชุมแสง (21 กรกฎาคม พ.ศ. 2428 - พ.ศ. 2478) นายกเภสัชกรรมสมาคมแห่งกรุงสยามคนแรก นักพฤกษศาสตร์ และอาจารย์ชาวไทย
พระมนตรีพจนกิจ (หม่อมราชวงศ์ชาย ชุมแสง) | |
---|---|
รูปปั้นพระมนตรีพจนกิจ ที่เภสัชกรรมสมาคมฯ | |
เกิด | หม่อมราชวงศ์ชายสรรพศิลป์เครือวัลย์ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2428 |
เสียชีวิต | พ.ศ. 2478 (50 ปี) |
ศิษย์เก่า | มหาวิทยาลัยมิวนิก, มิวนิก ประเทศเยอรมนี |
อาชีพ | นักพฤกษศาสตร์ อาจารย์ |
มีชื่อเสียงจาก | นายกเภสัชกรรมสมาคมแห่งกรุงสยามคนแรก |
คู่สมรส | คุณผิว ชุมแสง ณ อยุธยา |
บุตร | เภสัชกร ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร. ม.ล. ประนต ชุมแสง และบุตรธิดา รวม 10 คน |
บิดามารดา | หม่อมเจ้าเปล่ง ชุมแสง หม่อมวาศน์ ชุมแสง ณ อยุธยา |
ประวัติ
พระมนตรีพจนกิจ เกิดเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2428 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นโอรสใน กับหม่อมวาศน์ ชุมแสง ณ อยุธยา เป็นพระนัดดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสรรพศิลป์ปรีชา พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระบิดาประทานนามล้อกับพระนามของ พระองค์เจ้าชายชุมแสง หรือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสรรพศิลป์ปรีชา ว่า หม่อมราชวงศ์ชายสรรพศิลปเครือวัลย์ ชุมแสง (M.R. Chaisanpasil kruaivalaya) แต่เมื่อเข้ารับราชการท่านใช้เพียงชื่อสั้นว่า หม่อมราชวงศ์ชาย ชุมแสง
พระมนตรีพจนกิจ สมรสกับคุณผิว ชุมแสง ณ อยุธยา มีบุตร-ธิดา 9 คน
- เภสัชกร ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร. หม่อมหลวงประนต ชุมแสง หัวหน้าภาควิชาอาหารเคมี คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นบุตรชายคนโต
หม่อมหลวงประนต ชุมแสง สมรสกับเภสัชกรหญิงปทุมมาลย์ โพธิรังสิยากร บุตรีนายกระจ่าง โพธิรังสิยากร กับเจ้าจันทร์แสง ภาคิไนยเจ้าหลวงพิมพิสาร และปนัดดาเจ้าวังขวา (เฒ่า) กับเจ้าปิ่นแก้ว ธิดาเจ้าหลวงเทพวงศ์ลิ้นตอง เจ้าผู้ครองนครแพร่ มีบุตรธิดา 2 คน
พระมนตรีพจนกิจ ถึงแก่อนิจกรรมในปี พ.ศ. 2478 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล
การศึกษา
พระมนตรีพจนกิจสอบไล่ได้ชั้น 6 ภาคภาษาไทยที่โรงเรียนสวนกุหลาบไทย และภาคภาษาอังกฤษจากโรงเรียนราชวิทยาลัย ได้เข้ารับราชการในกรมคลอง กระทรวงเกษตราธิการระยะหนึ่ง จึงได้รับพระราชทานทุนเล่าเรียนหลวงไปศึกษาวิชา เกษตรกรรมเขตร้อนและวิทยาศาสตร์อาณานิคม (tropical agriculture and colonial sciences) ที่ (Witzenhausen) ประเทศเยอรมนี และสำเร็จประกาศนียบัตรวิชาพฤกษศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมิวนิก เมืองมิวนิก ประเทศเยอรมนี มีผลการเรียนดีเด่น
การทำงาน
เมื่อสำเร็จการศึกษา พระมนตรีพจนกิจ กลับมารับราชการในกระทรวงมหาดไทย ได้ดำรงตำแหน่งที่สำคัญทางการเกษตร สัตวบาล และการต่างประเทศ รวมทั้งด้านการแพทย์และสาธารณสุขระยะเริ่มแรก เช่น ผู้แทนเจ้ากรมพยาบาล ผู้บังคับการโอสถศาลารัฐบาล ผู้อำนวยการพยาบาล
ต่อมาในปี พ.ศ. 2460 ย้ายโอนมาเป็นอาจารย์ ในตำแหน่งอาจารย์เอก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยคณบดีคณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ และเจ้าแผนกเฆมิกวิทยา (เคมี) สอนวิชาต่าง ๆ หลายวิชา เช่น พฤกษศาสตร์เคมี วัสดุทางการแพทย์ และเภสัชเวท แก่นักศึกษาเภสัชศาสตร์และนิสิตแพทยศาสตร์ ระหว่างที่ท่านได้สอนอยู่ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยนั้น ท่านจึงสนิทสนมกับนิสิตเภสัชศาสตร์รุ่นแรกๆ และด้วยเล็งเห็นถึงความสำคัญของวิชาชีพปรุงยา พระมนตรีพจนกิจได้เกื้อหนุนให้มีการพบปะชุมนุมกันระหว่างนักเรียนของท่านที่บ้านชุมแสง บ้านของพระมนตรีพจนกิจเอง จนได้กลายมาเป็นสถานที่พบปะของทั้งเภสัชกรและนิสิตเภสัชศาสตร์ในสมัยนั้น ต่อมาบรรดานิสิตเภสัชศาสตร์และเภสัชกรที่มาชุมนุมที่บ้านของท่านเป็นประจำ ขณะนั้นไม่มีกฎหมายใดๆ กำหนดไว้ว่าการประกอบวิชาชีพในร้านยาจำเป็นต้องมีเภสัชกรทำหน้าที่ประจำ คนทั่วไปทั้งที่มีความรู้แต่มิได้เป็นเภสัชกรหรือผู้ที่ไม่รู้ ได้เปิดให้บริการในร้านยาก่อให้เกิดสภาพการปรุงยา ขายยาและโฆษณายา รวมทั้งขายยาเร่ กันอย่างกว้างขวาง ทำให้ราษฎรถูกหลอกลวงและเภสัชกรที่สำเร็จการศึกษาออกมาในช่วงนั้นประสบปัญหาการว่างงาน แม้ว่าจำนวนผู้ที่สำเร็จการศึกษาในเวลาดังกล่าวจะมีไม่มากก็ตาม และแม้จะมี พระราชบัญญัติการแพทย์ พ.ศ. 2466 อยู่แล้ว แต่ก็ไม่ได้คุ้มครองวิชาชีพเภสัชกรรมอย่างจริงจัง บรรดานิสิตเภสัชศาสตร์และเภสัชกรที่มาชุมนุมกันนั้น จึงเกิดความคิดที่จะตั้งสมาคมวิชาชีพ เพื่อส่งเสริมให้วิชาชีพมีการพัฒนาทัดเทียมกับในต่างประเทศ และเพื่อแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นโดยมุ่งหวังที่จะได้ปฏิบัติหน้าที่ให้สมกับที่ได้ร่ำเรียนมา จึงได้มีการก่อตั้งเภสัชกรรมสมาคมแห่งกรุงสยามขึ้น เมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2472 โดยมีบ้านชุมแสง เลขที่ 647 ถนนสุริวงษ์ จังหวัดพระนคร เป็นที่ทำการสถาปนาและเป็นสถานที่ทำการของสมาคมแห่งแรก เมื่อได้รับอนุญาตให้จัดตั้งสมาคมแล้ว ได้มีการประชุมใหญ่ของเภสัชกรไทยขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2472 ณ บ้านของอาจารย์ A.H. Hale ถนนพระราม 1 ตรงข้ามวัดช่างแสง ในการประชุมครั้งนั้น ทำให้เกิดคณะกรรมการเภสัชกรรมสมาคมชุดแรกประกอบด้วย พระมนตรีพจนกิจ เป็นนายก อาจารย์ A.H. Hale เป็นอุปนายก เป็นเลขานุการ เป็นเหรัญญิก อาจารย์ เป็นปฏิคม
เภสัชกรรมสมาคมแห่งกรุงสยามภายในการนำของพระมนตรีพจนกิจ ได้ดำเนินการให้ความสำคัญของวิชาชีพเภสัชกรรมเป็นที่ประจักษ์แก่ประชาชนทั่วไป และด้วยเจตนารมณ์ที่จะช่วยคุ้มครองสวัสดิภาพของประชาชนมิให้ถูกหลอกหลวง หรือแอบอ้างจากผู้ที่มิได้ร่ำเรียนมา เนื่องจากพระราชบัญญัติการแพทย์ พ.ศ. 2466 นั้นกำหนดว่าเฉพาะ “การปรุงยา” เท่านั้นที่เป็นการประกอบโรคศิลปะ โดยไม่ได้ควบคุมในเรื่องของการขายยา การโฆษณายา เภสัชกรรมสมาคมฯ จึงได้เคลื่อนไหวเพื่อให้มีการตราและบังคับใช้พระราชบัญญัติเภสัชกรรม มีการพบปะชี้แจงนักการเมืองให้เข้าใจวิชาชีพเภสัชกรรม และให้มีการควบคุมการขายยา โดยเภสัชกรและควบคุมการโฆษณายา กระนั้นพระมนตรีพจนกิจก็ได้ถึงแก่อนิจกรรมก่อนที่จะมีการตราพระราชบัญญัติขึ้น โดยท่านได้ฝากฝังศิษย์ในวาระสุดท้ายไว้ว่า
ฉันเป็นห่วงเรื่อง พ.ร.บ. เภสัชกรรมเหลือเกิน ขอให้สามัคคีและช่วยกันทำให้สำเร็จ.... ส่วนเค้าโครงการ หรือวิธีการดำเนินการ ตลอดจนวัตถุประสงค์ของสมาคมตามที่มีอยู่แล้วนั้น ขอจงช่วยกันประคับประคองเดินตามรูปไปให้ได้ อย่าได้ละเลยหรือแตกสามัคคีเสีย...”
ต่อมาเมื่อมีการแก้ไขกฎหมายใน “พระราชบัญญัติการแพทย์การแพทย์เพิ่มเติม พ.ศ. 2472” จึงกำหนดให้การการจำหน่ายยาเป็นการประกอบโรคศิลปะด้วย และในเวลาต่อมาจึงได้มีการตราพระราชบัญญัติในที่สุด ได้แก่ พระราชบัญญัติควบคุมการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2479 และ พระราชบัญญัติควบคุมการขายยา พ.ศ. 2479 ซึ่งต่อมาเภสัชกรรมสมาคมฯ ได้เสนอให้มีการแก้ไขเป็น พระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 และ พระราชบัญญัติวิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ. 2537
ลำดับยศและบรรดาศักดิ์
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
- [] อำมาตย์โท พระมนตรีพจนกิจ
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อนุสรณ์
- รูปปั้นพระมนตรีพจนกิจ ตั้งอยู่ที่เภสัชกรรมสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
- ห้องพระมนตรีพจนกิจ (หม่อมราชวงศ์ชายสรรพศิลป์เครือวัลย์ ชุมแสง) (501) อาคาร 80 ปี เภสัชศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- มูลนิธิพระมนตรีพจนกิจ (ม.ร.ว.ชายสรรพศิลปเครือวัลย์ ชุมแสง) หรือ ทุนพระมนตรีพจนกิจ มอบทุนการศึกษาให้กับคณะและสำนักวิชาเภสัชศาสตร์ทั่วประเทศ
พงศาวลี
พงศาวลีของพระมนตรีพจนกิจ (หม่อมราชวงศ์ชาย ชุมแสง) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
|
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2015-07-21.
- (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2015-07-21.
- เจ้าหลวงอินทวิชัย (อินต๊ะวิชัย) หมู่บ้านวังฟ่อน
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-12-19. สืบค้นเมื่อ 2015-07-21.
- รายงานการวิจัย เรื่อง บทบาทของบุคคลสำคัญทางด้านเภสัชกรรมไทย ตั้งแต่ พ.ศ. 2475-2535 (The Roles of Thai Pharmacy Leaders, 1932-1992) โดยรองศาสตราจารย์วินนา เหรียญสุวรรณและคณะ หน่วยปฏิบัติการวิจัยเภสัชศาสตร์สังคม คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย[]
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-04-03. สืบค้นเมื่อ 2015-07-21.
แหล่งข้อมูลอื่น
- บุคคลสำคัญ : อำมาตย์โท พระมนตรีพจนกิจ (ม.ร.ว.ชายสรรพศิลปเครือวัลย์ ชุมแสง) (เผยแพร่ : 20 เมษ. 2554) - วารสารเภสัชกรรมไทย คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xamatyoth phramntriphcnkic hmxmrachwngschay chumaesng hrux hmxmrachwngschaysrrphsilpekhruxwly chumaesng 21 krkdakhm ph s 2428 ph s 2478 naykephschkrrmsmakhmaehngkrungsyamkhnaerk nkphvkssastr aelaxacarychawithyphramntriphcnkic hmxmrachwngschay chumaesng ruppnphramntriphcnkic thiephschkrrmsmakhmekidhmxmrachwngschaysrrphsilpekhruxwly 21 krkdakhm ph s 2428esiychiwitph s 2478 50 pi sisyekamhawithyalymiwnik miwnik praethseyxrmnixachiphnkphvkssastr xacarymichuxesiyngcaknaykephschkrrmsmakhmaehngkrungsyamkhnaerkkhusmrskhunphiw chumaesng n xyuthyabutrephschkr sastracarykittikhun dr m l prant chumaesng aelabutrthida rwm 10 khnbidamardahmxmecaeplng chumaesng hmxmwasn chumaesng n xyuthyaprawtiphramntriphcnkic ekidemuxwnthi 21 krkdakhm ph s 2428 inrchsmyphrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhw epnoxrsin kbhmxmwasn chumaesng n xyuthya epnphranddainphraecabrmwngsethx krmhlwngsrrphsilppricha phrarachoxrsinphrabathsmedcphraphuththelishlanphaly phrabidaprathannamlxkbphranamkhxng phraxngkhecachaychumaesng hrux phraecabrmwngsethx krmhlwngsrrphsilppricha wa hmxmrachwngschaysrrphsilpekhruxwly chumaesng M R Chaisanpasil kruaivalaya aetemuxekharbrachkarthanichephiyngchuxsnwa hmxmrachwngschay chumaesng phramntriphcnkic smrskbkhunphiw chumaesng n xyuthya mibutr thida 9 khn ephschkr sastracarykittikhun dr hmxmhlwngprant chumaesng hwhnaphakhwichaxaharekhmi khnaephschsastr culalngkrnmhawithyaly epnbutrchaykhnot hmxmhlwngprant chumaesng smrskbephschkrhyingpthummaly ophthirngsiyakr butrinaykracang ophthirngsiyakr kbecacnthraesng phakhiinyecahlwngphimphisar aelapnddaecawngkhwa etha kbecapinaekw thidaecahlwngethphwngslintxng ecaphukhrxngnkhraephr mibutrthida 2 khn phramntriphcnkic thungaekxnickrrminpi ph s 2478 inrchsmyphrabathsmedcphrapremnthrmhaxannthmhidlkarsuksaphramntriphcnkicsxbilidchn 6 phakhphasaithythiorngeriynswnkuhlabithy aelaphakhphasaxngkvscakorngeriynrachwithyaly idekharbrachkarinkrmkhlxng krathrwngekstrathikarrayahnung cungidrbphrarachthanthunelaeriynhlwngipsuksawicha ekstrkrrmekhtrxnaelawithyasastrxananikhm tropical agriculture and colonial sciences thi Witzenhausen praethseyxrmni aelasaercprakasniybtrwichaphvkssastrekhtrxn mhawithyalymiwnik emuxngmiwnik praethseyxrmni miphlkareriyndiednkarthanganemuxsaerckarsuksa phramntriphcnkic klbmarbrachkarinkrathrwngmhadithy iddarngtaaehnngthisakhythangkarekstr stwbal aelakartangpraeths rwmthngdankaraephthyaelasatharnsukhrayaerimaerk echn phuaethnecakrmphyabal phubngkhbkaroxsthsalarthbal phuxanwykarphyabal txmainpi ph s 2460 yayoxnmaepnxacary intaaehnngxacaryexk culalngkrnmhawithyaly iddarngtaaehnngphuchwykhnbdikhnaxksrsastraelawithyasastr aelaecaaephnkekhmikwithya ekhmi sxnwichatang hlaywicha echn phvkssastrekhmi wsduthangkaraephthy aelaephschewth aeknksuksaephschsastraelanisitaephthysastr rahwangthithanidsxnxyuthiculalngkrnmhawithyalynn thancungsnithsnmkbnisitephschsastrrunaerk aeladwyelngehnthungkhwamsakhykhxngwichachiphprungya phramntriphcnkicidekuxhnunihmikarphbpachumnumknrahwangnkeriynkhxngthanthibanchumaesng bankhxngphramntriphcnkicexng cnidklaymaepnsthanthiphbpakhxngthngephschkraelanisitephschsastrinsmynn txmabrrdanisitephschsastraelaephschkrthimachumnumthibankhxngthanepnpraca khnannimmikdhmayid kahndiwwakarprakxbwichachiphinranyacaepntxngmiephschkrthahnathipraca khnthwipthngthimikhwamruaetmiidepnephschkrhruxphuthiimru idepidihbrikarinranyakxihekidsphaphkarprungya khayyaaelaokhsnaya rwmthngkhayyaer knxyangkwangkhwang thaihrasdrthukhlxklwngaelaephschkrthisaerckarsuksaxxkmainchwngnnprasbpyhakarwangngan aemwacanwnphuthisaerckarsuksainewladngklawcamiimmakktam aelaaemcami phrarachbyytikaraephthy ph s 2466 xyuaelw aetkimidkhumkhrxngwichachiphephschkrrmxyangcringcng brrdanisitephschsastraelaephschkrthimachumnumknnn cungekidkhwamkhidthicatngsmakhmwichachiph ephuxsngesrimihwichachiphmikarphthnathdethiymkbintangpraeths aelaephuxaekikhpyhaxupsrrkhthiekidkhunodymunghwngthicaidptibtihnathiihsmkbthiidraeriynma cungidmikarkxtngephschkrrmsmakhmaehngkrungsyamkhun emuxwnthi 5 minakhm ph s 2472 odymibanchumaesng elkhthi 647 thnnsuriwngs cnghwdphrankhr epnthithakarsthapnaaelaepnsthanthithakarkhxngsmakhmaehngaerk emuxidrbxnuyatihcdtngsmakhmaelw idmikarprachumihykhxngephschkrithykhunkhrngaerkemuxwnthi 22 minakhm ph s 2472 n bankhxngxacary A H Hale thnnphraram 1 trngkhamwdchangaesng inkarprachumkhrngnn thaihekidkhnakrrmkarephschkrrmsmakhmchudaerkprakxbdwy phramntriphcnkic epnnayk xacary A H Hale epnxupnayk epnelkhanukar epnehryyik xacary epnptikhm ephschkrrmsmakhmaehngkrungsyamphayinkarnakhxngphramntriphcnkic iddaeninkarihkhwamsakhykhxngwichachiphephschkrrmepnthipracksaekprachachnthwip aeladwyectnarmnthicachwykhumkhrxngswsdiphaphkhxngprachachnmiihthukhlxkhlwng hruxaexbxangcakphuthimiidraeriynma enuxngcakphrarachbyytikaraephthy ph s 2466 nnkahndwaechphaa karprungya ethannthiepnkarprakxborkhsilpa odyimidkhwbkhumineruxngkhxngkarkhayya karokhsnaya ephschkrrmsmakhm cungidekhluxnihwephuxihmikartraaelabngkhbichphrarachbyytiephschkrrm mikarphbpachiaecngnkkaremuxngihekhaicwichachiphephschkrrm aelaihmikarkhwbkhumkarkhayya odyephschkraelakhwbkhumkarokhsnaya krannphramntriphcnkickidthungaekxnickrrmkxnthicamikartraphrarachbyytikhun odythanidfakfngsisyinwarasudthayiwwa chnepnhwngeruxng ph r b ephschkrrmehluxekin khxihsamkhkhiaelachwyknthaihsaerc swnekhaokhrngkar hruxwithikardaeninkar tlxdcnwtthuprasngkhkhxngsmakhmtamthimixyuaelwnn khxcngchwyknprakhbprakhxngedintamrupipihid xyaidlaelyhruxaetksamkhkhiesiy txmaemuxmikaraekikhkdhmayin phrarachbyytikaraephthykaraephthyephimetim ph s 2472 cungkahndihkarkarcahnayyaepnkarprakxborkhsilpadwy aelainewlatxmacungidmikartraphrarachbyytiinthisud idaek phrarachbyytikhwbkhumkarprakxborkhsilpa ph s 2479 aela phrarachbyytikhwbkhumkarkhayya ph s 2479 sungtxmaephschkrrmsmakhm idesnxihmikaraekikhepn phrarachbyytiya ph s 2510 aela phrarachbyytiwichachiphephschkrrm ph s 2537ladbysaelabrrdaskdiswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniid xamatyoth phramntriphcnkicekhruxngrachxisriyaphrnswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidxnusrnruppnphramntriphcnkic tngxyuthiephschkrrmsmakhmaehngpraethsithy inphrabrmrachupthmph hxngphramntriphcnkic hmxmrachwngschaysrrphsilpekhruxwly chumaesng 501 xakhar 80 pi ephschsastr khnaephschsastr culalngkrnmhawithyaly mulnithiphramntriphcnkic m r w chaysrrphsilpekhruxwly chumaesng hrux thunphramntriphcnkic mxbthunkarsuksaihkbkhnaaelasankwichaephschsastrthwpraethsphngsawliphngsawlikhxngphramntriphcnkic hmxmrachwngschay chumaesng phrabathsmedcphraphuththyxdfaculaolkmharach phrabathsmedcphraphuththelishlanphaly smedcphraxmrinthrabrmrachini phraecabrmwngsethx phraxngkhecachumaesng krmhlwngsrrphsilppricha khuntaexm n bangchang ecacxmmardathbthim n bangchang hmxmecaeplng chumaesng phramntriphcnkic hmxmrachwngschay chumaesng hmxmwasn chumaesng n xyuthya duephimephschkrrmsmakhmaehngpraethsithy inphrabrmrachupthmphxangxing PDF khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2016 03 04 subkhnemux 2015 07 21 PDF khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2016 03 04 subkhnemux 2015 07 21 ecahlwngxinthwichy xintawichy hmubanwngfxn khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2017 12 19 subkhnemux 2015 07 21 rayngankarwicy eruxng bthbathkhxngbukhkhlsakhythangdanephschkrrmithy tngaet ph s 2475 2535 The Roles of Thai Pharmacy Leaders 1932 1992 odyrxngsastracarywinna ehriyysuwrrnaelakhna hnwyptibtikarwicyephschsastrsngkhm khnaephschsastr culalngkrnmhawithyaly lingkesiy khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2016 04 03 subkhnemux 2015 07 21 aehlngkhxmulxunbukhkhlsakhy xamatyoth phramntriphcnkic m r w chaysrrphsilpekhruxwly chumaesng ephyaephr 20 ems 2554 warsarephschkrrmithy khnaephschsastr mhawithyalysngkhlankhrinthr 2016 03 04 thi ewyaebkaemchchinbthkhwamchiwprawtiniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk