บทความนี้ไม่มีจาก |
ผิวกำลังสอง หรือ ควอดริก (อังกฤษ: quadric surface) ในทางคณิตศาสตร์ หมายถึง (hypersurface) ใน D มิติ ซึ่งกำหนดโดยคำตอบหรือรากของสมการพหุนามกำลังสอง (quadratic polynomial) ถ้าเราพิจารณาพิกัด ผิวกำลังสองถูกกำหนดด้วยสมการพีชคณิตดังต่อไปนี้
โดย Q คือ เมทริกซ์ มิติ D+1 และ P คือ เวกเตอร์ มิติ D+1 และ R คือ ค่าคงที่ ค่าของ Q, P และ R มักกำหนดเป็นจำนวนจริงหรือจำนวนเชิงซ้อน แต่อาจเป็นค่าใด ๆ โดยทั่วไปแล้วคำตอบหรือทางเดินรากของกลุ่มของพหุนามนั้นเรียกว่า (algebraic variety) ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของเรขาคณิตเชิงพีชคณิต (algebraic geometry) ควอดริกนั้นเป็นประเภทหนึ่งของประเภทเชิงพีชคณิต และนั้นจะสมสัณฐานกับการตัดกันของควอดริก
สมการบรรทัดฐานของผิวกำลังสองใน 3 มิติ และมีจุดศูนย์กลางที่ (0,0,0) คือ
โดยการย้ายตำแหน่งและหมุนรูปผิวกำลังสองทุกรูป สามารถแปลงให้อยู่ในรูปบรรทัดฐานได้ ในปริภูมิแบบยุคลิดสามมิติ ผิวกำลังสองนี้จะมีรูปบรรทัดฐาน 16 รูป โดยมีรูปแบบที่น่าสนใจดังต่อไปนี้:
ทรงรี | |
ทรงคล้ายทรงกลม (กรณีพิเศษของ ทรงรี) | |
ทรงกลม (กรณีพิเศษของทรงคล้างทรงกลม) | |
ทรงพาราโบลาเชิงวงรี | |
ทรงพาราโบลาเชิงวงกลม | |
ทรงพาราโบลาเชิงไฮเพอร์โบลา | |
ทรงไฮเพอร์โบลาชิ้นเดี่ยว | |
ทรงไฮเพอร์โบลาสองชิ้น | |
ทรงกรวย | |
ทรงกระบอกเชิงวงรี | |
ทรงกระบอกเชิงวงกลม | |
ทรงกระบอกเชิงไฮเพอร์โบลา | |
ทรงกระบอกเชิงไฮพาราโบลา |
ภาคขยายของผิวกำลังสอง
นอกเหนือจากรูปแบบผิวกำลังสองมาตรฐานที่ได้กล่าวถึงไปแล้ว ยังมีการดัดแปลงรูปแบบของสมการพื้นผิวดังกล่าวเพื่อใช้ในการแทนรูปทรงเรขาคณิตที่ซับซ้อนขึ้น เช่น ซุปเปอร์ควอดริก และไฮเปอร์ควอดริก
ซุปเปอร์ควอดริก
สมการบรรทัดฐานของซุปเปอร์ควอดริกที่มีจุดศูนย์กลางที่ (0,0,0) คือ
หรือ ในรูป
โดย และ
สิ่งที่ซุปเปอร์ควอดริกแตกต่างไปจากผิวกำลังสองคือ เลขยกกำลัง โดยที่ค่า และ นั้นมีผลต่อรูปร่างในแนวนอน ส่วน นั้นผลต่อรูปร่างในแนวตั้ง ดังแสดงในรูปด้านล่าง
ไฮเปอร์ควอดริก
ไฮเปอร์ควอดริกเป็นส่วนที่ขยายต่อจากซุปเปอร์ควอดริกให้มีความสามารถในการจำลองผิวที่ซับซ้อนยิ่งขึ้น โดยซุปเปอร์ควอดริกนั้นเป็นเพียงกรณีพิเศษของไฮเปอร์ควอดริก ไฮเปอร์ควอดริกนั้นสามารถเขียนในรูปสมการทางคณิตศาสตร์ดังต่อไปนี้
โดย
และ
นอกเหนือจากรูปแบบของไฮเปอร์ควอดริกข้างต้น แล้วก็ยังมีการพัฒนาเพิ่มเติมความซับซ้อนของรูปร่างไฮเปอร์ควอดริก เรียกว่า "คอมโพสิทไฮเปอร์ควอดริก" หรือ "ไฮบริดไฮเปอร์ควอดริก" โดยส่วนที่เพิ่มอาจอยู่ในรูปพหุนามของเลขชี้กำลัง
พจน์ที่เพิ่มเข้ามา มีผลในการปรับแต่งรูปทรงของผิวเฉพาะที่ เช่นใช้ในการเพิ่มหลุมหรือรอยบุ๋ม ดังแสดงในภาพด้านล่าง
ไฮเปอร์ควอดริก | ภาพคอมโพสิทไฮเปอร์ควอดริก โดยการเพิ่มพจน์ของเลขยกกำลัง 1 พจน์ |
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir phiwkalngsxng hrux khwxdrik xngkvs quadric surface inthangkhnitsastr hmaythung hypersurface in D miti sungkahndodykhatxbhruxrakkhxngsmkarphhunamkalngsxng quadratic polynomial thaeraphicarnaphikd x0 x1 x2 xD displaystyle x 0 x 1 x 2 ldots x D phiwkalngsxngthukkahnddwysmkarphichkhnitdngtxipni i j 0DQi jxixj i 0DPixi R 0 displaystyle sum i j 0 D Q i j x i x j sum i 0 D P i x i R 0 ody Q khux emthriks miti D 1 aela P khux ewketxr miti D 1 aela R khux khakhngthi khakhxng Q P aela R mkkahndepncanwncringhruxcanwnechingsxn aetxacepnkhaid odythwipaelwkhatxbhruxthangedinrakkhxngklumkhxngphhunamnneriykwa algebraic variety sungepnsakhahnungkhxngerkhakhnitechingphichkhnit algebraic geometry khwxdriknnepnpraephthhnungkhxngpraephthechingphichkhnit aelanncasmsnthankbkartdknkhxngkhwxdrik smkarbrrthdthankhxngphiwkalngsxngin 3 miti aelamicudsunyklangthi 0 0 0 khux x2a2 y2b2 z2c2 1 displaystyle pm x 2 over a 2 pm y 2 over b 2 pm z 2 over c 2 1 odykaryaytaaehnngaelahmunrupphiwkalngsxngthukrup samarthaeplngihxyuinrupbrrthdthanid inpriphumiaebbyukhlidsammiti phiwkalngsxngnicamirupbrrthdthan 16 rup odymirupaebbthinasnicdngtxipni thrngri x2a2 y2b2 z2c2 1 displaystyle frac x 2 a 2 frac y 2 b 2 frac z 2 c 2 1 thrngkhlaythrngklm krniphiesskhxng thrngri x2a2 y2a2 z2b2 1 displaystyle frac x 2 a 2 frac y 2 a 2 frac z 2 b 2 1 thrngklm krniphiesskhxngthrngkhlangthrngklm x2a2 y2a2 z2a2 1 displaystyle frac x 2 a 2 frac y 2 a 2 frac z 2 a 2 1 thrngpharaoblaechingwngri x2a2 y2b2 z 0 displaystyle frac x 2 a 2 frac y 2 b 2 z 0 thrngpharaoblaechingwngklm x2a2 y2a2 z 0 displaystyle frac x 2 a 2 frac y 2 a 2 z 0 thrngpharaoblaechingihephxrobla x2a2 y2b2 z 0 displaystyle frac x 2 a 2 frac y 2 b 2 z 0 thrngihephxroblachinediyw x2a2 y2b2 z2c2 1 displaystyle frac x 2 a 2 frac y 2 b 2 frac z 2 c 2 1 thrngihephxroblasxngchin x2a2 y2b2 z2c2 1 displaystyle frac x 2 a 2 frac y 2 b 2 frac z 2 c 2 1 thrngkrwy x2a2 y2b2 z2c2 0 displaystyle frac x 2 a 2 frac y 2 b 2 frac z 2 c 2 0 thrngkrabxkechingwngri x2a2 y2b2 1 displaystyle frac x 2 a 2 frac y 2 b 2 1 thrngkrabxkechingwngklm x2a2 y2a2 1 displaystyle frac x 2 a 2 frac y 2 a 2 1 thrngkrabxkechingihephxrobla x2a2 y2b2 1 displaystyle frac x 2 a 2 frac y 2 b 2 1 thrngkrabxkechingihpharaobla x2 2y 0 displaystyle x 2 2y 0 phakhkhyaykhxngphiwkalngsxngnxkehnuxcakrupaebbphiwkalngsxngmatrthanthiidklawthungipaelw yngmikarddaeplngrupaebbkhxngsmkarphunphiwdngklawephuxichinkaraethnrupthrngerkhakhnitthisbsxnkhun echn supepxrkhwxdrik aelaihepxrkhwxdrik supepxrkhwxdrik smkarbrrthdthankhxngsupepxrkhwxdrikthimicudsunyklangthi 0 0 0 khux x2a2 1ϵ1 y2b2 1ϵ2 z2c2 1ϵ3 1 displaystyle left x 2 over a 2 right 1 over epsilon 1 left y 2 over b 2 right 1 over epsilon 2 left z 2 over c 2 right 1 over epsilon 3 1 hrux inrup x 8 ϕ displaystyle x theta phi asign cos 8cos ϕ cos 8cos ϕ ϵ1 displaystyle a operatorname sign cos theta cos phi cos theta cos phi epsilon 1 y 8 ϕ displaystyle y theta phi bsign sin 8cos ϕ sin 8cos ϕ ϵ2 displaystyle b operatorname sign sin theta cos phi sin theta cos phi epsilon 2 z 8 ϕ displaystyle z theta phi csign sin ϕ sin ϕ ϵ3 displaystyle c operatorname sign sin phi sin phi epsilon 3 ody p2 ϕ p2 displaystyle pi over 2 leq phi leq pi over 2 aela p 8 lt p displaystyle pi leq theta lt pi singthisupepxrkhwxdrikaetktangipcakphiwkalngsxngkhux elkhykkalng ϵ1 ϵ2 ϵ3 displaystyle epsilon 1 epsilon 2 epsilon 3 odythikha ϵ1 displaystyle epsilon 1 aela ϵ2 displaystyle epsilon 2 nnmiphltxrupranginaenwnxn swn ϵ3 displaystyle epsilon 3 nnphltxrupranginaenwtng dngaesdnginrupdanlang ϵ3 4 displaystyle epsilon 3 4 ϵ3 2 displaystyle epsilon 3 2 ϵ3 1 displaystyle epsilon 3 1 ϵ3 0 5 displaystyle epsilon 3 0 5 ϵ3 0 1 displaystyle epsilon 3 0 1 ϵ3 0 displaystyle epsilon 3 0 ϵ1 ϵ2 0 displaystyle epsilon 1 epsilon 2 0 ϵ1 ϵ2 0 5 displaystyle epsilon 1 epsilon 2 0 5 ϵ1 ϵ2 1 displaystyle epsilon 1 epsilon 2 1 ϵ1 ϵ2 2 displaystyle epsilon 1 epsilon 2 2 ϵ1 ϵ2 4 displaystyle epsilon 1 epsilon 2 4 ihepxrkhwxdrik ihepxrkhwxdrikepnswnthikhyaytxcaksupepxrkhwxdrikihmikhwamsamarthinkarcalxngphiwthisbsxnyingkhun odysupepxrkhwxdriknnepnephiyngkrniphiesskhxngihepxrkhwxdrik ihepxrkhwxdriknnsamarthekhiyninrupsmkarthangkhnitsastrdngtxipni i 1N li x y z 1ϵi 1 displaystyle sum i 1 N l i x y z 1 over epsilon i 1 ody li x y z aix biy ciz di displaystyle l i x y z a i x b i y c i z d i aela N 3 displaystyle N geq 3 ϵ1 ϵ2 ϵ3 1 displaystyle epsilon 1 epsilon 2 epsilon 3 1 ϵ1 ϵ2 ϵ3 2 displaystyle epsilon 1 epsilon 2 epsilon 3 2 ϵ1 ϵ3 2 ϵ2 0 2 displaystyle epsilon 1 epsilon 3 2 epsilon 2 0 2 nxkehnuxcakrupaebbkhxngihepxrkhwxdrikkhangtn aelwkyngmikarphthnaephimetimkhwamsbsxnkhxngruprangihepxrkhwxdrik eriykwa khxmophsithihepxrkhwxdrik hrux ihbridihepxrkhwxdrik odyswnthiephimxacxyuinrupphhunamkhxngelkhchikalng i 1Np li pol x y z 1ϵi m 1Mwm e j 1Ne lmj exp x y z 1ϵmj 1 displaystyle sum i 1 N p l i pol x y z 1 over epsilon i sum m 1 M w m cdot e sum j 1 N e l mj exp x y z 1 over epsilon mj 1 phcnthiephimekhama miphlinkarprbaetngrupthrngkhxngphiwechphaathi echnichinkarephimhlumhruxrxybum dngaesdnginphaphdanlang displaystyle Rightarrow ihepxrkhwxdrik phaphkhxmophsithihepxrkhwxdrik odykarephimphcnkhxngelkhykkalng 1 phcnbthkhwamkhnitsastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk