ผลพวงเชิงตรรกะ (อังกฤษ: Logical consequence หรือ entailment) เป็น (concept) พื้นฐานในวิชาตรรกศาสตร์ซึ่งอธิบายความสัมพันธ์ซึ่งเป็นจริงระหว่างข้อความเมื่อข้อความหนึ่งเป็นผลมาจากข้อความอื่นหนึ่งข้อขึ้นไป การอ้างเหตุผลซึ่งมีตรรกะที่เป็นการอ้างเหตุผลซึ่งข้อสรุป (consequent) เป็นผลมาจากข้อตั้งเพราะข้อสรุปเป็นผลพวงมาจากข้อตั้ง (philosophical analysis) ผลพวงเชิงตรรกะในเชิงปรัชญาประกอบไปด้วยการตั้งคำถามเช่น: ข้อสรุปเป็นผลมาจากข้อนำในแง่อะไรไหน? และการที่ข้อสรุปเป็นผลพวงจากข้อนำหมายความว่าอะไร? ทั้งหมดทั้งมวลของ (Philosophical logic) ตั้งใจที่จะอธิบายธรรมชาติของผลพวงและ (logical truth)
ผลพวงเชิงตรรกะและ (formalism (philosophy of mathematics)) ตามตัวอย่างที่อธิบายโดย (formal proof) และ (interpretation (logic)) ประโยคหนึ่งเป็นผลพวงเชิงตรรกะของเซตของประโยคในภาษา (formal language) ที่กำหนดภาษาหนึ่งก็ต่อเมื่อประโยคนั้นจะเป็นจริงเมื่อประโยคทุกประโยคในเซตนั้นเป็นจริงโดยวิธีการทางตรรกะเท่านั้น (ไม่สนใจการตีความส่วนตัว)
นักตรรกวิทยาให้คำอธิบายผลพวงเชิงตรรกะว่าด้วยภาษา ที่กำหนดอย่างละเอียด ไม่ว่าด้วยการสร้าง (deductive system) สำหรับ หรือด้วย (intended interpretation) เชิงรูปนัยสำหรับภาษา นักตรรกวิทยาชาวโปแลนด์ (Alfred Tarski) ได้ระบุลักษณะเฉพาะสามลักษณะของผลพวงเชิงตรรกะ: (1) ความสัมพันธ์แบบผลพวงเชิงตรรกะขึ้นอยู่กับ (logical form) ของประโยค (2) ความสัมพันธ์เป็นแบบ (a priori and a posteriori) นั่นคือมันสามารถถูกระบุได้โดยไม่จำเป็นต้องใช้หลักฐานเชิงประสบการณ์ (หลักฐานจากประสาทสัมผัส) และ (3) ความสัมพันธ์แบบผลพวงเชิงตรรกะมีส่วนประกอบ (modal logic)
คำอธิบายเชิงรูปนัย
มุมมองเรื่องการอธิบายผลพวงเชิงตรรกะที่แพร่หลายที่สุดคือด้วยการอาศัยรูปแบบ นั่นหมายความว่าข้อความหนึ่งจะเป็นผลมาจากอีกข้อความหนึ่งหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับโครงสร้างหรือของข้อความนั้นโดยไม่สนใจถึงเนื้อหาซึ่งอยู่ในรูปนั้น
คำอธิบายเชิงวากยสัมพันธ์ของผลพวงเชิงตรรกะขึ้นอยู่กับซึ่งใช้ (inference rule) ตัวอย่างเช่นเราสามารถแสดงรูปตรรกะของการอ้างเหตุผลที่สมเหตุสมผลได้ว่า
- ทุก X เป็น Y
- ทุก Y เป็น Z
- เพราะฉะนั้น ทุก X เป็น Z.
การอ้างเหตุผลอันนี้สมเหตุสมผลแบบรูปนัยเนื่องจาก (Substitution (logic)) ของการอ้างเหตุผลซึ่งใช้เค้าร่างเช่นนี้ทุกกรณีนั้นสมเหตุสมผล
ซึ่งนี่ตรงกันข้ามกับการอ้างเหตุผลเช่น "สมชายเป็นลูกของพี่ชายของสมพงษ์ เพราะฉะนั้นสมชายเป็นหลานของสมพงษ์" เพราะการอ้างเหตุผลแบบนี้ขึ้นอยู่กับความหมายของคำว่า "พี่ชาย" "ลูก" และ "หลาน" ข้อความ "สมชายเป็นหลานของสมพงษ์" เป็นสิ่งที่เรียกว่าผลพวงเชิงเนื้อหา (material consequence) ของ "สมชายเป็นลูกของพี่ชายของสมพงษ์" และไม่ใช่ผลพวงรูปนัย (formal consequence) ผลพวงรูปนัยจำเป็นต้องเป็นจริงในทุกกรณี แต่ทว่านี่คือนิยามของผลพวงรูปนัยที่ไม่สมบูรณ์เพราะแม้การอ้างเหตุผลว่า "P เป็นลูกของพี่ชายของ Q เพราะฉะนั้น P เป็นหลานของ Q" จะเป็นจริงในทุกกรณีก็ตามที แต่ก็ยังไม่ใช่การอ้างเหตุผลรูปนัย
คุณสมบัติก่อนประสบการณ์ของผลพวงเชิงตรรกะ
เมื่อเรารู้ว่า เป็นผลโดยตรรกะมาจาก แล้วความหมายของ หรือ ที่เป็นไปได้อันใดก็ตามจะไม่ส่งผลใด ๆ ต่อความเป็นผลโดยตรรกะระหว่างทั้งสองที่เรารู้ ไม่มี (A priori and a posteriori) ใดที่สามารถมีอิทธิพลต่อความรู้ของเราว่า เป็นผลพวงเชิงตรรกะของ เราสามารถรู้ว่าการอ้างเหตุผลนั้นสมเหตุสมผลแบบนิรนัยได้โดยไม่พึ่งประสบการณ์และจึงต้องสามารถรู้ได้ก่อนประสบการณ์ (a priori) อย่างไรก็ตามเราไม่สามารถรับประกันได้ว่าผลพวงเชิงตรรกะไม่ได้รับอิทธิพลจากความรู้เชิงประจักษ์ได้ด้วยเพียงรูปแบบหรือความเป็นรูปนัย (formality) คุณสมบัติก่อนประสบการณ์ของผลพวงเชิงตรรกะจึงได้ถือว่าเป็นอิสระจากรูปแบบ
การพิสูจน์และตัวแบบ
เทคนิคการอธิบายผลพวงเชิงตรรกะที่แพร่หลายสองแบบคือการแสดงแนวคิดในแง่ของการพิสูจน์ (proof) และผ่านตัวแบบ (model) (proof theory) คือการศึกษาถึงผลพวงทางไวยากรณ์ (ของตรรกะอันหนึ่ง) ในขณะที่การศึกษาถึงผลพวงทางอรรถศาสตร์หรือทางความหมาย (ของตรรกะอันหนึ่ง) คือ (model theory)
ผลพวงทางไวยากรณ์
สูตรหรือ formula เป็นผลพวงทางไวยากรณ์ (อังกฤษ: syntactic consequence) ของเซตของสูตร ใน (formal system) ระบบหนึ่ง เมื่อมี (formal proof) จากเซตของ ใน
ผลพวงทางไวยากรณ์ไม่ขึ้นอยู่กับระบบรูปนัยในแบบใด ๆ
ผลพวงทางความหมาย
สูตรหรือ formula เป็นผลพวงทางความหมาย (อังกฤษ: semantic consequence) ของเซตของข้อความ ในระบบรูปนัย ระบบหนึ่ง
ก็ต่อเมื่อไม่มีตัวแบบ ใด ๆ ที่ในนั้นสมาชิกของ เป็นจริงแต่ จะเป็นเท็จ หรือพูดอีกแบบหนึ่งคือ เซตของการตีความสมาชิกใน ที่ทำให้ทั้งหมดเป็นจริงนั้นเป็นเซตย่อยของเซตของการตีความที่ทำให้ เป็นจริง
คำอธิบายเชิงอัญรูป
คำอธิบายผลพวงเชิงตรรกะทาง (modal logic) เป็นรูปแปรผันของใจความพื้นฐานดังนี้:
- เป็นจริงก็ต่อเมื่อมันจำเป็น ที่หากสมาชิกของ ทั้งหมดเป็นจริง แล้ว เป็นจริง
ในทางกลับกัน (หรือคนส่วนใหญ่จะบอกว่าในทางเดียวกัน):
- เป็นจริงก็ต่อเมื่อมันเป็นไปไม่ได้ ที่สมาชิกของ ทั้งหมดเป็นจริง แล้ว เป็นเท็จ
คำอธิบายแบบนี้เป็น "เชิงอัญรูป" เพราะมันอาศัย (logical truth) และ (logical possibility) ซึ่งเป็นแนวคิดเชิงอัญรูป 'มันจำเป็นที่' เป็นวลีที่มักถูกแสดงเป็นตัวบ่งปริมาณทั้งหมดบน (possible world) คำอธิบายด้านบนจึงสามารถแปลได้เป็น:
- เป็นจริงก็ต่อเมื่อไม่มีโลกที่เป็นไปได้ที่สมาชิกของ ทั้งหมดเป็นจริง แล้ว เป็นเท็จ (ไม่จริง)
พิจารณาคำอธิบายเชิงอัญรูปในรูปของการให้เหตุผลซึ่งได้ให้ตัวอย่างไว้ด้านบน:
- กบทุกตัวสีเขียว
- เคอร์มิตเป็นกบ
- เพราะฉะนั้น เคอร์มิตตัวสีเขียว
ข้อสรุปเป็นผลพวงเชิงตรรกะของข้อตั้งเพราะเราไม่สามารถจินตนาการถึงโลกที่เป็นไปได้ใด ๆ เลยที่ (ก) กบทุกตัวสีเขียว (ข) เคอร์มิตเป็นกบ แล้ว (ค) เคอร์มิตตัวสีไม่เขียว
คำอธิบายเชิงอัญรูป-รูปนัย
คำอธิบายเชิงอัญรูป-รูปนัยรวมเอาคำอธิบายแบบรูปนัยและอัญรูปเข้าด้วยกันและให้ผลออกมาเป็นรูปแปรผันของใจความพื้นฐานดังนี้:
- ก็ต่อเมื่อหากมันเป็นไปไม่ได้ที่การอ้างเหตุผลซึ่งมีรูปตรรกะเดียวกันกับ / จะมีข้อตั้งที่เป็นจริงและข้อสรุปที่เป็นเท็จ
คำอธิบายบนเหตุผลสนับสนุน
คำอธิบายซึ่งได้พิจารณาไว้ด้านบนทั้งหมดเป็นแบบ "ถนอมความจริง" (truth-preservational) ซึ่งหมายความว่าเป็นคำอธิบายที่ถือว่าคุณลักษณะของการอนุมานที่ดีคือการอนุมานที่ไม่ยอมให้มีข้อสรุปเท็จที่มาจากข้อตั้งที่เป็นจริง แต่ในอีกทางหนึ่งคำอธิบายแบบ "ถนอม" (warrant-preservational) ก็ถูกนำเสนอมาโดยบอกว่าคุณลักษณะของการอนุมานที่ดีคือการอนุมานที่ไม่ยอมให้มีข้อสรุปที่ไม่สามารถยืนยันด้วยเหตุผลสนับสนุนได้ซึ่งมาจากข้อตั้งที่สามารถยืนยันด้วยเหตุผลสนับสนุนได้ และคำอธิบายนี้เป็นแบบที่นิยมโดยนัก (intuitionism) เช่น (Michael Dummett)
ผลพวงเชิงตรรกะไม่เป็นทางเดียว
คำอธิบายซึ่งถูกพิจารณาด้านบนทั้งหมดให้ผลเป็นความสัมพันธ์แบบผลพวง (Monotonicity of entailment) หรือก็คือแบบที่ถ้า เป็นผลพวงของ แล้ว จะเป็นผลพวงของซูเปอร์เซตใด ๆ ของ ด้วย เราสามารถระบุความสัมพันธ์แบบผลพวง (Non-monotonic logic) เพื่อแสดงให้ดูว่าข้อความเช่น 'เจ้าขุนทองบินได้' เป็นผลพวงเชิงตรรกะของ
- {นกโดยปกติแล้วบินได้, เจ้าขุนทองเป็นนก}
แต่ไม่เป็นผลพวงเชิงตรรกะของ
- {นกโดยปกติแล้วบินได้, เจ้าขุนทองเป็นนก, เจ้าขุนทองเป็นนกเพนกวิน}.
ดูเพิ่ม
- Ampheck
- การให้เหตุผลแบบนิรนัย
- (Peirce's law)
- (Logical graph)
- (Therefore sign)
- แคลคูลัสเชิงประพจน์
- (Validity (logic))
- (Strict conditional)
- โดเมนแบบบูล
- (Probabilistic logic)
- (Abstract algebraic logic)
- (Turnstile (symbol))
- (Double turnstile)
- ประตูสัญญาณตรรกะ
- (Tautological consequence)
- พีชคณิตแบบบูล
- (Boolean function)
- (Tautology (logic))
- เหตุภาพ
อ้างอิง
- Beall, JC and Restall, Greg, Logical Consequence The Stanford Encyclopedia of Philosophy (Fall 2009 Edition), Edward N. Zalta (ed.).
- , Philosophy of Logic.
- , Logical Consequence Internet Encyclopedia of Philosophy.
- Kosta Dosen (1996). "Logical consequence: a turn in style". ใน ; Kees Doets; Daniele Mundici; Johan van Benthem (บ.ก.). Logic and Scientific Methods: Volume One of the Tenth International Congress of Logic, Methodology and Philosophy of Science, Florence, August 1995. Springer. p. 292. ISBN .
- (1993) Frege: philosophy of language Harvard University Press, p.82ff
- (1986) Aristotle and Logical Theory Cambridge University Press, 136p.
- Creath, Richard, and (2007) The Cambridge companion to Carnap Cambridge University Press, 371p.
- FOLDOC: "syntactic consequence" 2013-04-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- , Metalogic: An Introduction to the Metatheory of Standard First-Order Logic, University of California Pres, 1971, p. 75.
- , Logical consequence, The Cambridge Dictionary of Philosophy
บรรณานุกรม
- Anderson, A.R.; Belnap, N.D., Jr. (1975), Entailment, vol. 1, Princeton, NJ: Princeton.
- Augusto, Luis M. (2017), Logical consequences. Theory and applications: An introduction. London: College Publications. Series: Mathematical logic and foundations.
- ; (2008), Language, Proof and Logic, Stanford: CSLI Publications.
- Brown, Frank Markham (2003), Boolean Reasoning: The Logic of Boolean Equations 1st edition, Kluwer Academic Publishers, Norwell, MA. 2nd edition, Dover Publications, Mineola, NY, 2003.
- (1965), The Undecidable, Basic Papers on Undecidable Propositions, Unsolvable Problems And Computable Functions, New York: Raven Press, ISBN
{{}}
:|first=
มีชื่อเรียกทั่วไป ((help)). Papers include those by , , , , and . - Dummett, Michael (1991), The Logical Basis of Metaphysics, Harvard University Press, ISBN .
- Edgington, Dorothy (2001), Conditionals, Blackwell in Lou Goble (ed.), The Blackwell Guide to Philosophical Logic.
- Edgington, Dorothy (2006), "Indicative Conditionals", Conditionals, Metaphysics Research Lab, Stanford University in Edward N. Zalta (ed.), The Stanford Encyclopedia of Philosophy.
- Etchemendy, John (1990), The Concept of Logical Consequence, Harvard University Press.
- Goble, Lou, ed. (2001), The Blackwell Guide to Philosophical Logic, Blackwell
{{}}
:|first=
มีชื่อเรียกทั่วไป ((help)). - Hanson, William H (1997), "The concept of logical consequence", The Philosophical Review, 106 (3): 365–409, doi:10.2307/2998398, JSTOR 2998398 365–409.
- (2005), Thought 2 Talk: A Crash Course in Reflection and Expression, New York: Automatic Press / VIP, ISBN
- Planchette, P. A. (2001), Logical Consequence in Goble, Lou, ed., The Blackwell Guide to Philosophical Logic. Blackwell.
- (1982), Methods of Logic, Cambridge, MA: Harvard University Press (1st ed. 1950), (2nd ed. 1959), (3rd ed. 1972), (4th edition, 1982).
- (2002), Necessity, meaning, and rationality: the notion of logical consequence in D. Jacquette, ed., A Companion to Philosophical Logic. Blackwell.
- (1936), On the concept of logical consequence Reprinted in Tarski, A., 1983. Logic, Semantics, Metamathematics, 2nd ed. . Originally published in Polish and German.
- Ryszard Wójcicki (1988). Theory of Logical Calculi: Basic Theory of Consequence Operations. Springer. ISBN .
- A paper on 'implication' from math.niu.edu, Implication 2014-10-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- A definition of 'implicant' AllWords
แหล่งข้อมูลอื่น
- ; (2013-11-19). "Logical Consequence". ใน (บ.ก.). (Winter 2016 ed.).
- "Logical consequence". .
- Logical consequence ที่
- Logical consequence and entailment ที่
- Hazewinkel, Michiel, บ.ก. (2001), "Implication", , , ISBN
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phlphwngechingtrrka xngkvs Logical consequence hrux entailment epn concept phunthaninwichatrrksastrsungxthibaykhwamsmphnthsungepncringrahwangkhxkhwamemuxkhxkhwamhnungepnphlmacakkhxkhwamxunhnungkhxkhunip karxangehtuphlsungmitrrkathiepnkarxangehtuphlsungkhxsrup consequent epnphlmacakkhxtngephraakhxsrupepnphlphwngmacakkhxtng philosophical analysis phlphwngechingtrrkainechingprchyaprakxbipdwykartngkhathamechn khxsrupepnphlmacakkhxnainaengxairihn aelakarthikhxsrupepnphlphwngcakkhxnahmaykhwamwaxair thnghmdthngmwlkhxng Philosophical logic tngicthicaxthibaythrrmchatikhxngphlphwngaela logical truth phlphwngechingtrrkaaela formalism philosophy of mathematics tamtwxyangthixthibayody formal proof aela interpretation logic praoykhhnungepnphlphwngechingtrrkakhxngestkhxngpraoykhinphasa formal language thikahndphasahnungktxemuxpraoykhnncaepncringemuxpraoykhthukpraoykhinestnnepncringodywithikarthangtrrkaethann imsnickartikhwamswntw nktrrkwithyaihkhaxthibayphlphwngechingtrrkawadwyphasa L displaystyle mathcal L thikahndxyanglaexiyd imwadwykarsrang deductive system sahrb L displaystyle mathcal L hruxdwy intended interpretation echingrupnysahrbphasa L displaystyle mathcal L nktrrkwithyachawopaelnd Alfred Tarski idrabulksnaechphaasamlksnakhxngphlphwngechingtrrka 1 khwamsmphnthaebbphlphwngechingtrrkakhunxyukb logical form khxngpraoykh 2 khwamsmphnthepnaebb a priori and a posteriori nnkhuxmnsamarththukrabuidodyimcaepntxngichhlkthanechingprasbkarn hlkthancakprasathsmphs aela 3 khwamsmphnthaebbphlphwngechingtrrkamiswnprakxb modal logic khaxthibayechingrupnymummxngeruxngkarxthibayphlphwngechingtrrkathiaephrhlaythisudkhuxdwykarxasyrupaebb nnhmaykhwamwakhxkhwamhnungcaepnphlmacakxikkhxkhwamhnunghruximnnkhunxyukbokhrngsranghruxkhxngkhxkhwamnnodyimsnicthungenuxhasungxyuinrupnn khaxthibayechingwakysmphnthkhxngphlphwngechingtrrkakhunxyukbsungich inference rule twxyangechnerasamarthaesdngruptrrkakhxngkarxangehtuphlthismehtusmphlidwa thuk X epn Y thuk Y epn Z ephraachann thuk X epn Z karxangehtuphlxnnismehtusmphlaebbrupnyenuxngcak Substitution logic khxngkarxangehtuphlsungichekharangechnnithukkrninnsmehtusmphl sungnitrngknkhamkbkarxangehtuphlechn smchayepnlukkhxngphichaykhxngsmphngs ephraachannsmchayepnhlankhxngsmphngs ephraakarxangehtuphlaebbnikhunxyukbkhwamhmaykhxngkhawa phichay luk aela hlan khxkhwam smchayepnhlankhxngsmphngs epnsingthieriykwaphlphwngechingenuxha material consequence khxng smchayepnlukkhxngphichaykhxngsmphngs aelaimichphlphwngrupny formal consequence phlphwngrupnycaepntxngepncringinthukkrni aetthwanikhuxniyamkhxngphlphwngrupnythiimsmburnephraaaemkarxangehtuphlwa P epnlukkhxngphichaykhxng Q ephraachann P epnhlankhxng Q caepncringinthukkrniktamthi aetkyngimichkarxangehtuphlrupnykhunsmbtikxnprasbkarnkhxngphlphwngechingtrrkaemuxeraruwa Q displaystyle Q epnphlodytrrkamacak P displaystyle P aelwkhwamhmaykhxng P displaystyle P hrux Q displaystyle Q thiepnipidxnidktamcaimsngphlid txkhwamepnphlodytrrkarahwangthngsxngthieraru immi A priori and a posteriori idthisamarthmixiththiphltxkhwamrukhxngerawa Q displaystyle Q epnphlphwngechingtrrkakhxng P displaystyle P erasamarthruwakarxangehtuphlnnsmehtusmphlaebbnirnyidodyimphungprasbkarnaelacungtxngsamarthruidkxnprasbkarn a priori xyangirktameraimsamarthrbpraknidwaphlphwngechingtrrkaimidrbxiththiphlcakkhwamruechingpracksiddwyephiyngrupaebbhruxkhwamepnrupny formality khunsmbtikxnprasbkarnkhxngphlphwngechingtrrkacungidthuxwaepnxisracakrupaebbkarphisucnaelatwaebbethkhnikhkarxthibayphlphwngechingtrrkathiaephrhlaysxngaebbkhuxkaraesdngaenwkhidinaengkhxngkarphisucn proof aelaphantwaebb model proof theory khuxkarsuksathungphlphwngthangiwyakrn khxngtrrkaxnhnung inkhnathikarsuksathungphlphwngthangxrrthsastrhruxthangkhwamhmay khxngtrrkaxnhnung khux model theory phlphwngthangiwyakrn sutrhrux formula A displaystyle A epnphlphwngthangiwyakrn xngkvs syntactic consequence khxngestkhxngsutr G displaystyle Gamma in FS displaystyle mathcal FS formal system rabbhnung emuxmi formal proof A displaystyle A cakestkhxng G displaystyle Gamma in FS displaystyle mathcal FS G FSA displaystyle Gamma vdash mathcal FS A phlphwngthangiwyakrnimkhunxyukbrabbrupnyinaebbid phlphwngthangkhwamhmay sutrhrux formula A displaystyle A epnphlphwngthangkhwamhmay xngkvs semantic consequence khxngestkhxngkhxkhwam G displaystyle Gamma inrabbrupny FS displaystyle mathcal FS rabbhnung G FSA displaystyle Gamma models mathcal FS A ktxemuximmitwaebb I displaystyle mathcal I id thiinnnsmachikkhxng G displaystyle Gamma epncringaet A displaystyle A caepnethc hruxphudxikaebbhnungkhux estkhxngkartikhwamsmachikin G displaystyle Gamma thithaihthnghmdepncringnnepnestyxykhxngestkhxngkartikhwamthithaih A displaystyle A epncringkhaxthibayechingxyrupkhaxthibayphlphwngechingtrrkathang modal logic epnrupaeprphnkhxngickhwamphunthandngni G displaystyle Gamma displaystyle vdash A displaystyle A epncringktxemuxmncaepn thihaksmachikkhxng G displaystyle Gamma thnghmdepncring aelw A displaystyle A epncring inthangklbkn hruxkhnswnihycabxkwainthangediywkn G displaystyle Gamma displaystyle vdash A displaystyle A epncringktxemuxmnepnipimid thismachikkhxng G displaystyle Gamma thnghmdepncring aelw A displaystyle A epnethc khaxthibayaebbniepn echingxyrup ephraamnxasy logical truth aela logical possibility sungepnaenwkhidechingxyrup mncaepnthi epnwlithimkthukaesdngepntwbngprimanthnghmdbn possible world khaxthibaydanbncungsamarthaeplidepn G displaystyle Gamma displaystyle vdash A displaystyle A epncringktxemuximmiolkthiepnipidthismachikkhxng G displaystyle Gamma thnghmdepncring aelw A displaystyle A epnethc imcring phicarnakhaxthibayechingxyrupinrupkhxngkarihehtuphlsungidihtwxyangiwdanbn kbthuktwsiekhiyw ekhxrmitepnkb ephraachann ekhxrmittwsiekhiyw khxsrupepnphlphwngechingtrrkakhxngkhxtngephraaeraimsamarthcintnakarthungolkthiepnipidid elythi k kbthuktwsiekhiyw kh ekhxrmitepnkb aelw kh ekhxrmittwsiimekhiyw khaxthibayechingxyrup rupny khaxthibayechingxyrup rupnyrwmexakhaxthibayaebbrupnyaelaxyrupekhadwyknaelaihphlxxkmaepnrupaeprphnkhxngickhwamphunthandngni G displaystyle Gamma displaystyle vdash A displaystyle A ktxemuxhakmnepnipimidthikarxangehtuphlsungmiruptrrkaediywknkb G displaystyle Gamma A displaystyle A camikhxtngthiepncringaelakhxsrupthiepnethckhaxthibaybnehtuphlsnbsnun khaxthibaysungidphicarnaiwdanbnthnghmdepnaebb thnxmkhwamcring truth preservational sunghmaykhwamwaepnkhaxthibaythithuxwakhunlksnakhxngkarxnumanthidikhuxkarxnumanthiimyxmihmikhxsrupethcthimacakkhxtngthiepncring aetinxikthanghnungkhaxthibayaebb thnxm warrant preservational kthuknaesnxmaodybxkwakhunlksnakhxngkarxnumanthidikhuxkarxnumanthiimyxmihmikhxsrupthiimsamarthyunyndwyehtuphlsnbsnunidsungmacakkhxtngthisamarthyunyndwyehtuphlsnbsnunid aelakhaxthibayniepnaebbthiniymodynk intuitionism echn Michael Dummett phlphwngechingtrrkaimepnthangediyw khaxthibaysungthukphicarnadanbnthnghmdihphlepnkhwamsmphnthaebbphlphwng Monotonicity of entailment hruxkkhuxaebbthitha A displaystyle A epnphlphwngkhxng G displaystyle Gamma aelw A displaystyle A caepnphlphwngkhxngsuepxrestid khxng G displaystyle Gamma dwy erasamarthrabukhwamsmphnthaebbphlphwng Non monotonic logic ephuxaesdngihduwakhxkhwamechn ecakhunthxngbinid epnphlphwngechingtrrkakhxng nkodypktiaelwbinid ecakhunthxngepnnk aetimepnphlphwngechingtrrkakhxng nkodypktiaelwbinid ecakhunthxngepnnk ecakhunthxngepnnkephnkwin duephimAmpheck karihehtuphlaebbnirny Peirce s law Logical graph Therefore sign aekhlkhulsechingpraphcn Validity logic Strict conditional odemnaebbbul Probabilistic logic Abstract algebraic logic Turnstile symbol Double turnstile pratusyyantrrka Tautological consequence phichkhnitaebbbul Boolean function Tautology logic ehtuphaphxangxingBeall JC and Restall Greg Logical Consequence The Stanford Encyclopedia of Philosophy Fall 2009 Edition Edward N Zalta ed Philosophy of Logic Logical Consequence Internet Encyclopedia of Philosophy Kosta Dosen 1996 Logical consequence a turn in style in Kees Doets Daniele Mundici Johan van Benthem b k Logic and Scientific Methods Volume One of the Tenth International Congress of Logic Methodology and Philosophy of Science Florence August 1995 Springer p 292 ISBN 978 0 7923 4383 7 1993 Frege philosophy of language Harvard University Press p 82ff 1986 Aristotle and Logical Theory Cambridge University Press 136p Creath Richard and 2007 The Cambridge companion to Carnap Cambridge University Press 371p FOLDOC syntactic consequence 2013 04 03 thi ewyaebkaemchchin Metalogic An Introduction to the Metatheory of Standard First Order Logic University of California Pres 1971 p 75 Logical consequence The Cambridge Dictionary of PhilosophybrrnanukrmAnderson A R Belnap N D Jr 1975 Entailment vol 1 Princeton NJ Princeton Augusto Luis M 2017 Logical consequences Theory and applications An introduction London College Publications Series Mathematical logic and foundations 2008 Language Proof and Logic Stanford CSLI Publications Brown Frank Markham 2003 Boolean Reasoning The Logic of Boolean Equations 1st edition Kluwer Academic Publishers Norwell MA 2nd edition Dover Publications Mineola NY 2003 1965 The Undecidable Basic Papers on Undecidable Propositions Unsolvable Problems And Computable Functions New York Raven Press ISBN 9780486432281 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Citation title aemaebb Citation citation a first michuxeriykthwip help Papers include those by and Dummett Michael 1991 The Logical Basis of Metaphysics Harvard University Press ISBN 9780674537866 Edgington Dorothy 2001 Conditionals Blackwell in Lou Goble ed The Blackwell Guide to Philosophical Logic Edgington Dorothy 2006 Indicative Conditionals Conditionals Metaphysics Research Lab Stanford University in Edward N Zalta ed The Stanford Encyclopedia of Philosophy Etchemendy John 1990 The Concept of Logical Consequence Harvard University Press Goble Lou ed 2001 The Blackwell Guide to Philosophical Logic Blackwell a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Citation title aemaebb Citation citation a first michuxeriykthwip help Hanson William H 1997 The concept of logical consequence The Philosophical Review 106 3 365 409 doi 10 2307 2998398 JSTOR 2998398 365 409 2005 Thought 2 Talk A Crash Course in Reflection and Expression New York Automatic Press VIP ISBN 978 87 991013 7 5 Planchette P A 2001 Logical Consequence in Goble Lou ed The Blackwell Guide to Philosophical Logic Blackwell 1982 Methods of Logic Cambridge MA Harvard University Press 1st ed 1950 2nd ed 1959 3rd ed 1972 4th edition 1982 2002 Necessity meaning and rationality the notion of logical consequence in D Jacquette ed A Companion to Philosophical Logic Blackwell 1936 On the concept of logical consequence Reprinted in Tarski A 1983 Logic Semantics Metamathematics 2nd ed Originally published in Polish and German Ryszard Wojcicki 1988 Theory of Logical Calculi Basic Theory of Consequence Operations Springer ISBN 978 90 277 2785 5 A paper on implication from math niu edu Implication 2014 10 21 thi ewyaebkaemchchin A definition of implicant AllWordsaehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb phlphwngechingtrrka 2013 11 19 Logical Consequence in b k Winter 2016 ed Logical consequence Logical consequence thi Logical consequence and entailment thi Hazewinkel Michiel b k 2001 Implication ISBN 978 1 55608 010 4