เบญจศีล หรือ ปัญจสีล แปลว่า ศีล 5 เป็นศีลหรือข้อห้ามในลำดับเบื้องต้นตามพระโอวาทของพระโคตมพุทธเจ้า พระศาสดาพระองค์ปัจจุบันแห่งศาสนาพุทธ แต่ทั้งนี้เบญจศีลเป็นหลักการที่มีมาและเป็นที่สั่งสอนทั่วไปก่อนพระพุทธโคดมอุบัติแล้ว จัดเป็นศีลขั้นต่ำของพระโสดาบัน
เบญจศีลเป็นหลักธรรมประจำสังคมมนุษย์ ในพิธีกรรมทั้งปวงแห่งพุทธศาสนา ภิกษุจึงนิยมกล่าวเป็นภาษาบาลีมอบศีลที่ตนมีให้บุคคลร่วมรักษาด้วย เรียกว่า "ให้ศีล" และพุทธศาสนิกจักกล่าวรับปากว่าจะรักษาศีลหรือที่เรียกว่ากล่าว "รับศีล" ทั้งนี้ ไม่เพียงแต่ภิกษุเท่านั้นที่ให้ศีล ฆราวาสผู้รักษาศีลอยู่แล้วก็สามารถให้ศีลแก่บุคคลอื่นได้ด้วย
เบญจศีลเป็นข้อไม่พึงปฏิบัติ คู่กับ "เบญจธรรม" อันเป็นข้อพึงปฏิบัติ การรักษาเบญจศีลให้บริบูรณ์ควรกระทำพร้อมกับรักษาเบญจธรรมด้วย แต่การรักษาเบญจศีลนี้มิใช่ข้อบังคับของพุทธศาสนิก เป็นคำแนะนำให้พึงยึดถือด้วยความสมัครใจเท่านั้น
ประวัติ
เบญจศีลเป็นหลักธรรมประจำสังคมที่มีมาก่อนพุทธกาลแล้ว ปรากฏใน (บาลี: จกฺกวตฺติสุตฺต) อันกล่าวถึงเรื่องพระเจ้าจักรพรรดิตรัสสอนประชาชนว่า ท่านทั้งหลายต้องไม่ฆ่าสัตว์ (บาลี: ปาโณ น หนฺตพฺโพ), ต้องไม่ถือเอาของที่เขามิได้ให้ (บาลี: อทินฺนํ น อาทาตพฺพํ), ต้องไม่ประพฤติไม่เหมาะสมทางเพศ (บาลี: กาเมสุ มิจฺฉา น จริตพฺพา), ต้องไม่กล่าวเท็จ (บาลี: มุสา น ภาสิตพฺพา) และต้องไม่บริโภคสุรายาเมา (บาลี: มชฺชํ น ปาตพฺพํ) ต่อมา เมื่อมีผู้ประพฤติผิดจากที่พระเจ้าจักรพรรดิสอน จึงมีการลงโทษด้วยวิธีจับแขนไพล่หลังแล้วเอาเชือกเหนียวมัดอย่างมั่นคง โกนผม และประโคมบัณเฑาะว์เสียงกร้าว แห่ประจานไปตามถนนและตรอกซอกซอย พาออกไปทางประตูเมืองทิศใต้ ก่อนประหารชีวิตด้วยการตัดศีรษะ
เบญจศีลมีอิทธิพลมากในสังคมอินเดียโบราณ จากคำสอนที่ปรากฏในคัมภีร์จักวัตติสูตรดังกล่าว เมื่อกาลผ่านไปก็กลายเป็นคุณธรรมขั้นพื้นฐานสำหรับนักบวชทั่วไปในสังคมอินเดีย แต่ปรับปรุงเหลือเพียงสี่ข้อเท่านั้น ประกอบด้วย ไม่ฆ่าสัตว์ 1 ไม่ถือเอาของที่เขาไม่ได้ให้ 1 ไม่มีเพศสัมพันธ์ 1 และไม่อวดอุตริมนุษยธรรม 1
ต่อมาพระโคตมพุทธเจ้าอุบัติขึ้นและประกาศศาสนาพุทธก็ทรงยอมรับเอาข้อห้ามห้าประการตามจักวัตติสูตรมาสั่งสอนในพุทธศาสนาอย่างแพร่หลาย เรียกว่า "ศีล" บ้าง "สิกขาบท" บ้าง แต่ในทางปฏิบัติหมายถึง เจตนางดเว้นจากการกระทำความชั่วห้าประการข้างต้น ไม่เพียงเท่านี้ ครั้งเสด็จออกบรรพชาก็ทรงถือปฏิบัติตามคุณธรรมนักบวชสี่ประการดังกล่าว โดยทรงขนานชื่อว่า "อกรณียกิจ 4" แปลว่า เรื่องที่นักบวชไม่พึงทำสี่ประการ และทรงนำไปเป็นเกณฑ์บัญญัติพระวินัยอีกด้วย ที่เห็นได้ชัดคือ ปาราชิก 4
โดยเหตุที่เบญจศีลเป็นหลักธรรมสำหรับอุ้มชูโลก จึงได้รับสมญาต่าง ๆ อาทิ สมญาว่า "มนุษยธรรม" คือ ธรรมของมนุษย์ กล่าวคือ เมื่อมนุษย์รักษาธรรมะห้าประการนี้แล้ว โลกหรือสังคมก็จะสงบสุข, ว่า "นิจศีล" หรือ "นิตยศีล" คือ ศีลที่บุคคลทั้งนักบวชและฆราวาสพึงรักษาเป็นนิตย์, ว่า "คิหิศีล" คือ ศีลของ, ว่า "อาคาริยวินัย" คือ วินัยของผู้ครองเรือน เป็นต้นราชบัณฑิตยสถานแสดงความเห็นว่า "...น่าจะถือได้ว่า ศีล 5 เป็นรากฐานของศีลทั้งปวง..."
ต่อมา ได้มีผู้นำทางการเมืองของบางประเทศนำคำว่า "ปัญจสีล" ไปใช้ในทางการเมืองโดยเรียกว่า "ปัญจสีละ" และได้ให้นิยามตามความคิดเห็นของตนเอง ได้ความว่าคือการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด (อังกฤษ: non-alignment)
องค์ประกอบ
เบญจศีลในศาสนาพุทธประกอบด้วยข้อห้ามห้าข้อเช่นที่ปรากฏในคำสมาทานศีล ดังต่อไปนี้
ลำดับที่ | คำสมาทาน | คำแปล |
---|---|---|
1. ปาณาติบาต | ปาณาติปาตา เวรมณี สิกฺขาปทํสมาทิยามิ | เราจักถือศีลโดยเว้นจากการเบียดเบียนชีวิต |
2. อทินนาทาน | อทินฺนาทานา เวรมณี สิกฺขาปทํสมาทิยามิ | เราจักถือศีลโดยเว้นจากการเอาสิ่งของที่เจ้าของมิได้ให้ |
3. กาเมสุมิจฉาจาร | กาเมสุมิจฺฉาจารา เวรมณี สิกฺขาปทํสมาทิยามิ | เราจักถือศีลโดยเว้นจากการประพฤติไม่เหมาะสมทางเพศ |
4. มุสาวาท | มุสาวาทา เวรมณี สิกฺขาปทํสมาทิยามิ | เราจักถือศีลโดยเว้นจากการกล่าวเท็จ |
5. สุราเมรยมัชปมาทัฏฐาน | สุราเมรยมชฺชปมาทฏฺฐานา เวรมณี สิกฺขาปทํสมาทิยามิ | เราจักถือศีลโดยเว้นจากการบริโภคสุรายาเมาอันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท |
การรักษาศีล
การรักษาเบญจศีลสามารถกระทำได้สองวิธี ดังนี้
1. สมาทานวิรัติ คือ สมาทานหรือขอรับศีลจากภิกษุ ซึ่งต่อมามีการพัฒนารูปแบบให้เป็นการกล่าวคำขอและคำรับศีล รวมทั้งมีคำสรุปอานิสงส์ของศีลด้วย ในอรรถกถาชาดก ปรากฏกตอนหนึ่งว่า พระโพธิสัตว์เคยให้เบญจศีลแก่ยักษ์ด้วย นี้หมายความว่า มิใช่แต่ภิกษุเท่านั้น แม้คฤหัสถ์ที่มีศีลก็สามารถให้ศีลตามที่มีผู้ขอได้
2. สัมปัตวิรัติ (บาลี: สมฺปตฺตวิรติ) คือ งดเว้นไม่ทำบาปขณะประสบกับสถานการณ์ที่กระตุ้นให้ทำบาป
การจูงใจ
ในพระไตรปิฎกภาษาบาลี โสตาปัตติสังยุตต์ ปุญญาภิสันทวรรค มหานามสูตร ปรากฏการสนทนาระหว่างพระพุทธเจ้ากับพระเจ้ามหานามะ ครั้งนั้น พระพุทธเจ้าประทับ ณ ใกล้กรุงกบิลพัสดุ์ แคว้นสักกะ พระเจ้ามหานามะทูลถามว่า "ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ. ด้วยเหตุเพียงเท่าไร อุบาสกจึงจะชื่อว่า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยศีล." มีพระกระแสวิสัชนาว่า
"ดูก่อน มหาบพิตร, อุบาสกเป็นผู้งดเว้นจากปาณาติบาต, เป็นผู้งดเว้นจากอทินนาทาน, เป็นผู้งดเว้นจากกาเมสุมิจฉาจาร, เป็นผู้งดเว้นจากมุสาวาท, เป็นผู้งดเว้นจากสุราเมรยมัชปมาทัฏฐาน. ด้วยเหตุเพียงเท่านี้แล อุบาสกจึงจะชื่อว่า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยศีล.
นอกจากนี้ ในพระไตรปิฎก โสตาปัตติสังยุตต์ ปุญญาภิสันทวรรค อภิสันทสูตรที่ 1 ปรากฏพระพุทธดำรัสสรรเสริญเบญจศีลอันเป็นพระธรรมว่า
"ดูกร ภิกษุทั้งหลาย. ห้วงบุญ ห้วงกุศล อันเป็นปัจจัยนำมาซึ่งความสุข 4 ประการนี้, 4 ประการเป็นไฉน. อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ ประกอบด้วยความเลื่อมใสอันไม่หวั่นไหวในพระธรรม...นี้เป็นห้วงบุญ ห้วงกุศล อันเป็นปัจจัยนำมาซึ่งความสุข..."
เชิงอรรถ
- ราชบัณฑิตยสถาน, 2548 : 363.
- ราชบัณฑิตยสถาน, 2548 : 364.
- Stewart McFarlane, 2001 : 187.
- พระไตรปิฎก เล่มที่ 11 พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 3 ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค จักกวัตติสูตร. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูลได้จาก [1]. เข้าถึงข้อมูลเมื่อ 30-6-52
- ราชบัณฑิตยสถาน, 2548 : 365.
- อรรถกถาชาดก ทั้งหมด 547 เรื่อง, ม.ป.ป. : ออนไลน์.
- วิกิซอร์ซ, 23 มกราคม 2550 : ออนไลน์.
- วิกิซอร์ซ, 23 มกราคม 2550 : ออนไลน์.
อ้างอิง
- ราชบัณฑิตยสถาน. (2548). พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. (พิมพ์ครั้งที่ 2, แก้ไขเพิ่มเติม). กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน. .
- วิกิซอร์ซ.
- (2550, 23 มกราคม). โสตาปัตติสังยุตต์ - 4. ปุญญาภิสันทวรรค - มหานามสูตร. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: <1 เก็บถาวร 2009-08-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน>. (เข้าถึงเมื่อ: 30 พฤษาภาคม 2552).
- (2550, 23 มกราคม). โสตาปัตติสังยุตต์ - 4. ปุญญาภิสันทวรรค - อภิสันทสูตรที่ 1. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: <2 เก็บถาวร 2009-08-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน>. (เข้าถึงเมื่อ: 30 พฤษาภาคม 2552).
- อรรถกถาชาดกทั้งหมด 547 เรื่อง. (ม.ป.ป.). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: <1[]>. (เข้าถึงเมื่อ: 30 พฤษาภาคม 2552).
- . (2001). Buddhism. Peter Harvey, editor. USA : Continuum.
แหล่งข้อมูลอื่น
- ศีลเป็นอาภรณ์อันประเสริฐ
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ebycsil hrux pycsil aeplwa sil 5 epnsilhruxkhxhaminladbebuxngtntamphraoxwathkhxngphraokhtmphuththeca phrasasdaphraxngkhpccubnaehngsasnaphuthth aetthngniebycsilepnhlkkarthimimaaelaepnthisngsxnthwipkxnphraphuththokhdmxubtiaelw cdepnsilkhntakhxngphraosdabn ebycsilepnhlkthrrmpracasngkhmmnusy inphithikrrmthngpwngaehngphuththsasna phiksucungniymklawepnphasabalimxbsilthitnmiihbukhkhlrwmrksadwy eriykwa ihsil aelaphuththsasnikckklawrbpakwacarksasilhruxthieriykwaklaw rbsil thngni imephiyngaetphiksuethannthiihsil khrawasphurksasilxyuaelwksamarthihsilaekbukhkhlxuniddwy ebycsilepnkhximphungptibti khukb ebycthrrm xnepnkhxphungptibti karrksaebycsilihbriburnkhwrkrathaphrxmkbrksaebycthrrmdwy aetkarrksaebycsilnimiichkhxbngkhbkhxngphuththsasnik epnkhaaenanaihphungyudthuxdwykhwamsmkhricethannprawtiebycsilepnhlkthrrmpracasngkhmthimimakxnphuththkalaelw praktin bali ck kwt tisut t xnklawthungeruxngphraecackrphrrditrssxnprachachnwa thanthnghlaytxngimkhastw bali paon n hn tph oph txngimthuxexakhxngthiekhamiidih bali xthin n n xathatph ph txngimpraphvtiimehmaasmthangephs bali kaemsu mic cha n critph pha txngimklawethc bali musa n phasitph pha aelatxngimbriophkhsurayaema bali mch ch n patph ph txma emuxmiphupraphvtiphidcakthiphraecackrphrrdisxn cungmikarlngothsdwywithicbaekhniphlhlngaelwexaechuxkehniywmdxyangmnkhng oknphm aelapraokhmbnethaawesiyngkraw aehpracaniptamthnnaelatrxksxksxy phaxxkipthangpratuemuxngthisit kxnpraharchiwitdwykartdsirsa ebycsilmixiththiphlmakinsngkhmxinediyobran cakkhasxnthipraktinkhmphirckwttisutrdngklaw emuxkalphanipkklayepnkhunthrrmkhnphunthansahrbnkbwchthwipinsngkhmxinediy aetprbprungehluxephiyngsikhxethann prakxbdwy imkhastw 1 imthuxexakhxngthiekhaimidih 1 immiephssmphnth 1 aelaimxwdxutrimnusythrrm 1 txmaphraokhtmphuththecaxubtikhunaelaprakassasnaphuththkthrngyxmrbexakhxhamhaprakartamckwttisutrmasngsxninphuththsasnaxyangaephrhlay eriykwa sil bang sikkhabth bang aetinthangptibtihmaythung ectnangdewncakkarkrathakhwamchwhaprakarkhangtn imephiyngethani khrngesdcxxkbrrphchakthrngthuxptibtitamkhunthrrmnkbwchsiprakardngklaw odythrngkhnanchuxwa xkrniykic 4 aeplwa eruxngthinkbwchimphungthasiprakar aelathrngnaipepneknthbyytiphrawinyxikdwy thiehnidchdkhux parachik 4 odyehtuthiebycsilepnhlkthrrmsahrbxumchuolk cungidrbsmyatang xathi smyawa mnusythrrm khux thrrmkhxngmnusy klawkhux emuxmnusyrksathrrmahaprakarniaelw olkhruxsngkhmkcasngbsukh wa nicsil hrux nitysil khux silthibukhkhlthngnkbwchaelakhrawasphungrksaepnnity wa khihisil khux silkhxng wa xakhariywiny khux winykhxngphukhrxngeruxn epntnrachbnthitysthanaesdngkhwamehnwa nacathuxidwa sil 5 epnrakthankhxngsilthngpwng txma idmiphunathangkaremuxngkhxngbangpraethsnakhawa pycsil ipichinthangkaremuxngodyeriykwa pycsila aelaidihniyamtamkhwamkhidehnkhxngtnexng idkhwamwakhuxkarimfkiffayid xngkvs non alignment xngkhprakxbebycsilinsasnaphuththprakxbdwykhxhamhakhxechnthipraktinkhasmathansil dngtxipni ladbthi khasmathan khaaepl1 panatibat panatipata ewrmni sik khapthsmathiyami erackthuxsilodyewncakkarebiydebiynchiwit2 xthinnathan xthin nathana ewrmni sik khapthsmathiyami erackthuxsilodyewncakkarexasingkhxngthiecakhxngmiidih3 kaemsumicchacar kaemsumic chacara ewrmni sik khapthsmathiyami erackthuxsilodyewncakkarpraphvtiimehmaasmthangephs4 musawath musawatha ewrmni sik khapthsmathiyami erackthuxsilodyewncakkarklawethc5 suraemrymchpmathtthan suraemrymch chpmatht thana ewrmni sik khapthsmathiyami erackthuxsilodyewncakkarbriophkhsurayaemaxnepnthitngaehngkhwampramathkarrksasilkarrksaebycsilsamarthkrathaidsxngwithi dngni 1 smathanwirti khux smathanhruxkhxrbsilcakphiksu sungtxmamikarphthnarupaebbihepnkarklawkhakhxaelakharbsil rwmthngmikhasrupxanisngskhxngsildwy inxrrthkthachadk praktktxnhnungwa phraophthistwekhyihebycsilaekyksdwy nihmaykhwamwa miichaetphiksuethann aemkhvhsththimisilksamarthihsiltamthimiphukhxid 2 smptwirti bali sm pt twirti khux ngdewnimthabapkhnaprasbkbsthankarnthikratunihthabapkarcungicinphraitrpidkphasabali ostapttisngyutt puyyaphisnthwrrkh mhanamsutr praktkarsnthnarahwangphraphuththecakbphraecamhanama khrngnn phraphuththecaprathb n iklkrungkbilphsdu aekhwnskka phraecamhanamathulthamwa khaaetphraxngkhphuecriy dwyehtuephiyngethair xubaskcungcachuxwa epnphuthungphrxmdwysil miphrakraaeswischnawa dukxn mhabphitr xubaskepnphungdewncakpanatibat epnphungdewncakxthinnathan epnphungdewncakkaemsumicchacar epnphungdewncakmusawath epnphungdewncaksuraemrymchpmathtthan dwyehtuephiyngethaniael xubaskcungcachuxwa epnphuthungphrxmdwysil nxkcakni inphraitrpidk ostapttisngyutt puyyaphisnthwrrkh xphisnthsutrthi 1 praktphraphuththdarssrresriyebycsilxnepnphrathrrmwa dukr phiksuthnghlay hwngbuy hwngkusl xnepnpccynamasungkhwamsukh 4 prakarni 4 prakarepnichn xriysawkinthrrmwinyni prakxbdwykhwameluxmisxnimhwnihwinphrathrrm niepnhwngbuy hwngkusl xnepnpccynamasungkhwamsukh echingxrrthrachbnthitysthan 2548 363 rachbnthitysthan 2548 364 Stewart McFarlane 2001 187 phraitrpidk elmthi 11 phrasuttntpidk elmthi 3 thikhnikay patikwrrkh ckkwttisutr phraitrpidkchbbsyamrth xxniln ekhathungkhxmulidcak 1 ekhathungkhxmulemux 30 6 52 rachbnthitysthan 2548 365 xrrthkthachadk thnghmd 547 eruxng m p p xxniln wikisxrs 23 mkrakhm 2550 xxniln wikisxrs 23 mkrakhm 2550 xxniln xangxingrachbnthitysthan 2548 phcnanukrmsphthsasnasakl xngkvs ithy chbbrachbnthitysthan phimphkhrngthi 2 aekikhephimetim krungethph rachbnthitysthan ISBN 9749588339 wikisxrs 2550 23 mkrakhm ostapttisngyutt 4 puyyaphisnthwrrkh mhanamsutr xxniln ekhathungidcak lt 1 ekbthawr 2009 08 10 thi ewyaebkaemchchin gt ekhathungemux 30 phvsaphakhm 2552 2550 23 mkrakhm ostapttisngyutt 4 puyyaphisnthwrrkh xphisnthsutrthi 1 xxniln ekhathungidcak lt 2 ekbthawr 2009 08 10 thi ewyaebkaemchchin gt ekhathungemux 30 phvsaphakhm 2552 xrrthkthachadkthnghmd 547 eruxng m p p xxniln ekhathungidcak lt 1 lingkesiy gt ekhathungemux 30 phvsaphakhm 2552 2001 Buddhism Peter Harvey editor USA Continuum aehlngkhxmulxunsilepnxaphrnxnpraesrith