ปลาหมอคางดำ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Sarotherodon melanotheron) เป็นปลาน้ำกร่อยในวงศ์ปลาหมอสี มีถิ่นกำเนิดในแอฟริกาตะวันตก มีลักษณะคล้ายกับปลาหมอเทศหรือปลาหมอสี เพียงแต่บริเวณใต้คางมีสีดำ เมื่อโตเต็มวัยจะมีขนาดยาวถึง 8 นิ้ว หรือมากกว่านั้น
ปลาหมอคางดำ | |
---|---|
สถานะการอนุรักษ์ | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
โดเมน: | ยูแคริโอต Eukaryota |
อาณาจักร: | สัตว์ Animalia |
ไฟลัม: | สัตว์มีแกนสันหลัง Chordata |
ชั้น: | ปลาที่มีก้านครีบ Actinopterygii |
อันดับ: | Cichliformes |
วงศ์: | Cichlidae Cichlidae |
สกุล: | Sarotherodon (, 1852) |
สปีชีส์: | Sarotherodon melanotheron |
ชื่อทวินาม | |
Sarotherodon melanotheron (, 1852) | |
ชื่อพ้อง | |
|
ลักษณะ
ปลาหมอคางดำมีสีซีด เฉดสีต่างกันไป เช่น สีฟ้าอ่อน ส้ม และเหลืองทอง ปกติจะมีจุดสีเข้มใต้คางเมื่อโตเต็มวัย นอกจากนี้มักมีสีเข้มที่ขอบหลังเหงือกและปลายครีบอ่อนของครีบหลัง ลำตัวมักมีลายเส้น จุด หรือด่าง ที่ไม่สม่ำเสมอ มีปากเล็กซึ่งมีฟันขนาดเล็กหลายร้อยซี่ เรียงกัน 3-6 แถว ปลาตัวผู้และตัวเมียมีความแตกต่างกันเล็กน้อย ปกติหัวของปลาตัวผู้จะใหญ่กว่าหัวของปลาตัวเมียเล็กน้อย บ้างอาจมีสีทองที่แผ่นปิดเหงือก ครีบหลังมีก้าน 15-17 ก้าน และก้านครีบอ่อน 10-12 ก้าน ครีบก้นมีก้าน 3 ก้าน และก้านครีบอ่อน 8-10 ก้าน ความยาวคอดหาง (caudal peduncle) ประมาณ 0.6 ถึง 0.9 เท่าของความลึก สามารถเจริญเติบโตได้ยาวสุดถึง 28 เซนติเมตร (11 นิ้ว) แต่ปกติจะยาวถึงประมาณ 17.5 เซนติเมตร (6.9 นิ้ว)
การกระจายตัว
ปลาหมอคางดำมีถิ่นกำเนิดในแอฟริกาตะวันตกตั้งแต่ประเทศมอริเตเนียจนถึงประเทศแคเมอรูน และได้มีการนำเข้าสู่หลายประเทศในเอเชีย สหรัฐอเมริกา และยุโรป นอกจากนี้ปลาหมอคางดำได้กลายเป็นสัตว์รุกรานในรัฐฟลอริดา ประเทศสหรัฐ, ประเทศไทย และประเทศฟิลิปปินส์
ถิ่นอาศัยและชีววิทยา
ปลาหมอคางดำสามารถทนต่อความเค็มสูงได้ พบได้มากในบริเวณป่าชายเลน และสามารถเข้าไปอาศัยในน้ำจืด เช่น ปากแม่น้ำ และน้ำเค็มได้ ในแอฟริกาทางตะวันตกจะพบได้เฉพาะในทะเลสาบน้ำกร่อยและปากแม่น้ำ โดยมีจำนวนมากในป่าชายเลน ปลาหมอคางดำมักอยู่รวมเป็นฝูง และส่วนใหญ่จะออกหากินในเวลากลางคืน แม้ว่าจะกินอาหารในเวลากลางวันบ้าง อาหารหลักได้แก่ สาหร่ายและเศษซากพืช รวมถึงหอยสองฝาและแพลงก์ตอนสัตว์ โดยกินแบบคาบอาหารขึ้นมาและกลืนเป็นคำ (ไม่มีซี่เหงือก)
ปลาหมอคางดำวางไข่ใกล้ชายฝั่งในน้ำตื้น ตัวเมียจะเกี้ยวพาราสีตัวผู้ ขุดหลุม และเป็นฝ่ายนำการผสมพันธุ์ ในที่สุดตัวผู้จะตอบสนองในลักษณะอยู่นิ่งและสร้างพันธะคู่ผสมกัน ปลาหมอคางดำเป็นปลาที่ตัวผู้ฟักไข่ในปาก แต่พบว่าตัวเมียของสายพันธุ์หนึ่งในประเทศกานาก็สามารถฟักไข่ในปากได้ด้วย
ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น
รัฐฟลอริดา ประเทศสหรัฐฯ
เชื่อว่าปลาหมอคางดำถูกนำเข้ามาในรัฐฟลอริดา ประเทศสหรัฐอเมริกา ผ่านการหลุดรอดจากการค้าสัตว์น้ำ แม้จะมีข้อสงสัยว่ามีการปล่อยโดยเจตนาอยู่บ้าง ในบางพื้นที่ ปลาหมอคางดำอาจคิดเป็น 90% ของมวลชีวภาพของปลาทั้งหมด ปลาหมอคางดำสามารถแพร่กระจายโรคให้และแข่งขันกับปลาพื้นถิ่นได้ ในฮาวายอาจเรียกปลาชนิดนี้ว่า "ปลาหมอสีน้ำเค็ม" (saltwater tilapia) เนื่องจากสามารถอยู่รอดและอาจกระทั่งผสมพันธุ์ในน้ำทะเลล้วนได้ ในฮาวายพบได้ตามชายหาดที่กำบังและในทะเลสาบรอบ ๆ โออาฮู และอาจรวมถึงเกาะอื่น ๆ ปลาชนิดนี้ถือเป็นสัตว์รังควานในคลองและอ่างเก็บน้ำของฮาวาย เนื่องจากขยายพันธุ์อย่างรวดเร็ว แข่งขันกับสายพันธุ์อื่นในพื้นที่ และมักตายในจำนวนมาก ตัวอย่างเช่น ใน ค.ศ. 1991 ที่ทะเลสาบวิลสันบนเกาะโออาฮู เกิดโรคติดเชื้อราซึ่งทำให้ปลาหมอสีตายประมาณ 20,000 ตัว ส่วนใหญ่เป็นปลาหมอคางดำ เชื่อว่าเป็นตัวแทนไม่เกิน 0.5% ของประชากรปลาหมอสีทั้งหมดในทะเลสาบ
ประเทศฟิลิปปินส์
ไม่มีบันทึกถึงวิธีที่ปลาหมอคางดำถูกนำเข้ามาสู่แหล่งน้ำของฟิลิปปินส์ แต่เชื่อว่าอาจมาจากการค้าสัตว์น้ำและถูกปล่อยสู่ธรรมชาติในแหล่งน้ำใกล้จังหวัดบาตาอันและจังหวัดบูลาคันเมื่อประมาณ ค.ศ. 2015 ปลาชนิดนี้ถือเป็นภัยคุกคามต่อบ่อปลา เนื่องจากขยายพันธุ์อย่างรวดเร็ว ทำให้พื้นที่สำหรับปลาชนิดอื่นลดลง โดยเฉพาะพื้นที่สำหรับการเพาะพันธุ์ปลานวลจันทร์ทะเล อ่าวมะนิลาซึ่งอยู่ใกล้กับจังหวัดบาตาอันและจังหวัดบูลาคันก็สามารถพบปลาหมอคางดำได้ แม้ว่าจะไม่ใช่น้ำจืดก็ตาม ตามที่มีการพบว่าเป็นหนึ่งในปลาที่ถูกพัดขึ้นมาบนชายฝั่งบาสเอโก เมื่อวันที่ 17 กันยายน ค.ศ. 2020
ประเทศไทย
ในประเทศไทย ปลาหมอคางดำถูกนำเข้ามาจากกานาเมื่อ พ.ศ. 2553 โดยบริษัทเอกชน เพื่อทดลองเลี้ยง โดยได้รับอนุญาตจากกรมประมง แต่ไม่ประสบความสำเร็จ แม้ว่าจะมีการแจ้งเหตุความเสียหายต่อกรมประมงไปแล้ว แต่เมื่อ พ.ศ. 2555 กรมประมงเพิ่งได้รับรายงานการแพร่กระจายเป็นครั้งแรกในพื้นที่ อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม
ใน พ.ศ. 2566 ปลาหมอคางดำเป็นสายพันธุ์ที่ถูกห้ามนำเข้ามาในประเทศ จากการสำรวจพบว่าปลาชนิดนี้กำลังแพร่กระจายพันธุ์อย่างรวดเร็วในภาคกลาง โดยพบมากเป็นพิเศษในพื้นที่จังหวัดสมุทรสาคร สมุทรสงคราม และสมุทรปราการ และยังมีรายงานการพบเห็นที่จังหวัดชุมพรด้วย
ใน พ.ศ. 2567 ปลาหมอคางดำกลายเป็นวาระแห่งชาติ เนื่องจากพบการระบาดรุนแรงในหลายพื้นที่มากขึ้นเรื่อย ๆ สร้างความเสียหายให้กับเกษตรกรผู้เลี้ยงปลาและกุ้งจำนวนมาก รัฐบาลประกาศว่าจะกำจัดปลาหมอคางดำให้สิ้นซาก หนึ่งในวิธีควบคุมประชากรปลาที่นิยมใช้คือ การปล่อยปลานักล่า เช่น ปลากะพงขาว ลงสู่แหล่งน้ำธรรมชาติ มีรายงานว่าปลาหมอคางดำสามารถปรับตัวให้ดำรงชีวิตในน้ำกร่อยบริเวณชายฝั่งหรือปากแม่น้ำได้เป็นอย่างดี การระบาดครั้งใหญ่ของปลาหมอคางดำคุกคามสิ่งมีชีวิตเฉพาะถิ่นและชนิดใกล้สูญพันธุ์บริเวณแหลมแม่พิมพ์และทะเลสาบสงขลา นอกจากนี้ยังพบว่าปลาหมอคางดำรุกรานแหล่งน้ำในเขตชานเมืองและใจกลางกรุงเทพมหานครด้วย
อนุกรมวิธาน
ปลาหมอคางดำเคยถูกจัดแบ่งออกเป็นสามสปีชีส์ย่อย แต่ปัจจุบันผู้จัดจำแนกบางรายถือว่าเป็นสปีชีส์ที่มีเพียงสปีชีส์ย่อยเดียว
สามสปีชีส์ย่อย ได้แก่
- S.m. heudelotii (Duméril, 1861)
- S.m. leonensis (Thys van den Audenaerde, 1971) ประเทศไลบีเรียและประเทศเซียร์ราลีโอน
- S.m. melanotheron Rüppell, 1852 ประเทศโกตดิวัวร์ถึงทางตอนใต้ของประเทศแคเมอรูน
การนำมาใช้ประโยชน์
มนุษย์จับปลาหมอคางดำเพื่อนำมาบริโภค และเพาะพันธุ์สำหรับการค้าสัตว์น้ำ
อ้างอิง
- Lalèyè, P. (2020). "Sarotherodon melanotheron". IUCN Red List of Threatened Species. 2020: e.T182038A58328597. doi:10.2305/IUCN.UK.2020-2.RLTS.T182038A58328597.en. สืบค้นเมื่อ 19 November 2021.
- Froese, Rainer and Pauly, Daniel, eds. (2018). "Sarotherodon melanotheron" in . October 2018 version.
- สวทช, นิตยสารสาระวิทย์ โดย (2024-07-16). "ปลาหมอคางดำ บทเรียนของปลาต่างถิ่นเพื่อธุรกิจการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ". นิตยสารสาระวิทย์ โดย สวทช.
- "Blackchin Tilapia (Sarotherodon melanotheron) Ecological Risk Screening Summary" (PDF). . 1 October 2012. สืบค้นเมื่อ 9 February 2019.
- "Blackchin Tilapia (Sarotherodon melanotheron) Ecological Risk Screening Summary" (PDF). . 1 October 2012. สืบค้นเมื่อ 9 February 2019.
- Masterson, J. (30 April 2007). "Sarotherodon melanotheron". Smithsonian Marine Station at Fort Pierce. Smithsonian Marine Station. สืบค้นเมื่อ 29 January 2015.
- "พบปลาหมอสีคางดำที่แพร่ระบาดหนัก ถูกนำเข้าเพื่อปรับปรุงสายพันธุ์". Thai PBS. 2017-07-11. สืบค้นเมื่อ 2017-07-18.
- Sotelo, Yolanda (2013-07-06). "'Gloria' an abomination in Bataan fishponds". INQUIRER.net (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-09-19.
- Eyeson, K. N. (July 1992). "Residual biparental oral-brooding in the blackchin fish, Sarotherodon melanotheron Ruppell". Journal of Fish Biology (ภาษาอังกฤษ). 41 (1): 145–146. doi:10.1111/j.1095-8649.1992.tb03177.x. ISSN 0022-1112.
- "Blackchin Tilapia (Sarotherodon melanotheron) Ecological Risk Screening Summary" (PDF). . 1 October 2012. สืบค้นเมื่อ 9 February 2019.
- "มุมการเมือง". Thai PBS (ภาษาthai). 2023-11-17. สืบค้นเมื่อ 2023-11-17.
{{}}
: CS1 maint: unrecognized language () - "Govt seeks source of alien fish influx in 16 Thai provinces". Bangkok Post. 21 July 2024. สืบค้นเมื่อ 25 July 2024.
- Wancharoen, Supoj (2024-07-13). "More 'alien' fish found in Bangkok". Bangkok Post. สืบค้นเมื่อ 2024-07-16.
- "พบ 'หมอคางดำ' ระบาดเต็มคลองใกล้หาดระยอง 'ประมง' จ่อแก้ปัญหาด้วย 'กะพงขาว'". (ภาษาthai). 2024-07-12. สืบค้นเมื่อ 2024-07-16.
{{}}
: CS1 maint: unrecognized language () - "เตือนภัย!ปลาหมอคางดำห่วงทำลายพันธุ์สัตว์น้ำเลสาบ". SongkhlaFocus (ภาษาthai). 2024-07-01. สืบค้นเมื่อ 2024-07-16.
{{}}
: CS1 maint: unrecognized language () - Lalèyè, P. (2010). "Sarotherodon melanotheron ssp. leonensis". IUCN Red List of Threatened Species. 2010: e.T183111A8037523. สืบค้นเมื่อ 9 February 2019.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
plahmxkhangda chuxwithyasastr Sarotherodon melanotheron epnplanakrxyinwngsplahmxsi mithinkaenidinaexfrikatawntk milksnakhlaykbplahmxethshruxplahmxsi ephiyngaetbriewnitkhangmisida emuxotetmwycamikhnadyawthung 8 niw hruxmakkwannplahmxkhangdasthanakarxnurkskhwamesiyngta IUCN 3 1 karcaaenkchnthangwithyasastrodemn yuaekhrioxt Eukaryotaxanackr stw Animaliaiflm stwmiaeknsnhlng Chordatachn plathimikankhrib Actinopterygiixndb Cichliformeswngs Cichlidae Cichlidaeskul Sarotherodon 1852 spichis Sarotherodon melanotheronchuxthwinamSarotherodon melanotheron 1852 chuxphxngTilapia melanotheron Ruppell 1852 Tilapia heudelotii 1861 Chromis heudelotii Dumeril 1861 Tilapia rangii Dumeril 1861 Chromis macrocephalus Bleeker 1862 Tilapia macrocephala Bleeker 1862 Chromis microcephalus 1862 Tilapia microcephala Gunther 1862 Melanogenes macrocephalus Bleeker 1863 Melanogenes microcephalus Bleeker 1863 Tilapia leonensis 1971lksnaplahmxkhangdamisisid echdsitangknip echn sifaxxn sm aelaehluxngthxng pkticamicudsiekhmitkhangemuxotetmwy nxkcaknimkmisiekhmthikhxbhlngehnguxkaelaplaykhribxxnkhxngkhribhlng latwmkmilayesn cud hruxdang thiimsmaesmx mipakelksungmifnkhnadelkhlayrxysi eriyngkn 3 6 aethw platwphuaelatwemiymikhwamaetktangknelknxy pktihwkhxngplatwphucaihykwahwkhxngplatwemiyelknxy bangxacmisithxngthiaephnpidehnguxk khribhlngmikan 15 17 kan aelakankhribxxn 10 12 kan khribknmikan 3 kan aelakankhribxxn 8 10 kan khwamyawkhxdhang caudal peduncle praman 0 6 thung 0 9 ethakhxngkhwamluk samarthecriyetibotidyawsudthung 28 esntiemtr 11 niw aetpkticayawthungpraman 17 5 esntiemtr 6 9 niw karkracaytwplahmxkhangdamithinkaenidinaexfrikatawntktngaetpraethsmxrieteniycnthungpraethsaekhemxrun aelaidmikarnaekhasuhlaypraethsinexechiy shrthxemrika aelayuorp nxkcakniplahmxkhangdaidklayepnstwrukraninrthflxrida praethsshrth praethsithy aelapraethsfilippinsthinxasyaelachiwwithyaplahmxkhangdasamarththntxkhwamekhmsungid phbidmakinbriewnpachayeln aelasamarthekhaipxasyinnacud echn pakaemna aelanaekhmid inaexfrikathangtawntkcaphbidechphaainthaelsabnakrxyaelapakaemna odymicanwnmakinpachayeln plahmxkhangdamkxyurwmepnfung aelaswnihycaxxkhakininewlaklangkhun aemwacakinxaharinewlaklangwnbang xaharhlkidaek sahrayaelaesssakphuch rwmthunghxysxngfaaelaaephlngktxnstw odykinaebbkhabxaharkhunmaaelaklunepnkha immisiehnguxk plahmxkhangdawangikhiklchayfnginnatun twemiycaekiywpharasitwphu khudhlum aelaepnfaynakarphsmphnthu inthisudtwphucatxbsnxnginlksnaxyuningaelasrangphnthakhuphsmkn plahmxkhangdaepnplathitwphufkikhinpak aetphbwatwemiykhxngsayphnthuhnunginpraethskanaksamarthfkikhinpakiddwychnidphnthutangthinrthflxrida praethsshrth echuxwaplahmxkhangdathuknaekhamainrthflxrida praethsshrthxemrika phankarhludrxdcakkarkhastwna aemcamikhxsngsywamikarplxyodyectnaxyubang inbangphunthi plahmxkhangdaxackhidepn 90 khxngmwlchiwphaphkhxngplathnghmd plahmxkhangdasamarthaephrkracayorkhihaelaaekhngkhnkbplaphunthinid inhawayxaceriykplachnidniwa plahmxsinaekhm saltwater tilapia enuxngcaksamarthxyurxdaelaxackrathngphsmphnthuinnathaellwnid inhawayphbidtamchayhadthikabngaelainthaelsabrxb oxxahu aelaxacrwmthungekaaxun plachnidnithuxepnstwrngkhwaninkhlxngaelaxangekbnakhxnghaway enuxngcakkhyayphnthuxyangrwderw aekhngkhnkbsayphnthuxuninphunthi aelamktayincanwnmak twxyangechn in kh s 1991 thithaelsabwilsnbnekaaoxxahu ekidorkhtidechuxrasungthaihplahmxsitaypraman 20 000 tw swnihyepnplahmxkhangda echuxwaepntwaethnimekin 0 5 khxngprachakrplahmxsithnghmdinthaelsab praethsfilippins immibnthukthungwithithiplahmxkhangdathuknaekhamasuaehlngnakhxngfilippins aetechuxwaxacmacakkarkhastwnaaelathukplxysuthrrmchatiinaehlngnaiklcnghwdbataxnaelacnghwdbulakhnemuxpraman kh s 2015 plachnidnithuxepnphykhukkhamtxbxpla enuxngcakkhyayphnthuxyangrwderw thaihphunthisahrbplachnidxunldlng odyechphaaphunthisahrbkarephaaphnthuplanwlcnthrthael xawmanilasungxyuiklkbcnghwdbataxnaelacnghwdbulakhnksamarthphbplahmxkhangdaid aemwacaimichnacudktam tamthimikarphbwaepnhnunginplathithukphdkhunmabnchayfngbasexok emuxwnthi 17 knyayn kh s 2020 praethsithy inpraethsithy plahmxkhangdathuknaekhamacakkanaemux ph s 2553 odybristhexkchn ephuxthdlxngeliyng odyidrbxnuyatcakkrmpramng aetimprasbkhwamsaerc aemwacamikaraecngehtukhwamesiyhaytxkrmpramngipaelw aetemux ph s 2555 krmpramngephingidrbrayngankaraephrkracayepnkhrngaerkinphunthi xaephxxmphwa cnghwdsmuthrsngkhram in ph s 2566 plahmxkhangdaepnsayphnthuthithukhamnaekhamainpraeths cakkarsarwcphbwaplachnidnikalngaephrkracayphnthuxyangrwderwinphakhklang odyphbmakepnphiessinphunthicnghwdsmuthrsakhr smuthrsngkhram aelasmuthrprakar aelayngmirayngankarphbehnthicnghwdchumphrdwy in ph s 2567 plahmxkhangdaklayepnwaraaehngchati enuxngcakphbkarrabadrunaernginhlayphunthimakkhuneruxy srangkhwamesiyhayihkbekstrkrphueliyngplaaelakungcanwnmak rthbalprakaswacakacdplahmxkhangdaihsinsak hnunginwithikhwbkhumprachakrplathiniymichkhux karplxyplankla echn plakaphngkhaw lngsuaehlngnathrrmchati miraynganwaplahmxkhangdasamarthprbtwihdarngchiwitinnakrxybriewnchayfnghruxpakaemnaidepnxyangdi karrabadkhrngihykhxngplahmxkhangdakhukkhamsingmichiwitechphaathinaelachnidiklsuyphnthubriewnaehlmaemphimphaelathaelsabsngkhla nxkcakniyngphbwaplahmxkhangdarukranaehlngnainekhtchanemuxngaelaicklangkrungethphmhankhrdwyxnukrmwithanplahmxkhangdaekhythukcdaebngxxkepnsamspichisyxy aetpccubnphucdcaaenkbangraythuxwaepnspichisthimiephiyngspichisyxyediyw samspichisyxy idaek S m heudelotii Dumeril 1861 S m leonensis Thys van den Audenaerde 1971 praethsilbieriyaelapraethsesiyrralioxn S m melanotheron Ruppell 1852 praethsoktdiwwrthungthangtxnitkhxngpraethsaekhemxrunkarnamaichpraoychnmnusycbplahmxkhangdaephuxnamabriophkh aelaephaaphnthusahrbkarkhastwna karcbplahmxkhangdainpraethsfilippinsxangxingLaleye P 2020 Sarotherodon melanotheron IUCN Red List of Threatened Species 2020 e T182038A58328597 doi 10 2305 IUCN UK 2020 2 RLTS T182038A58328597 en subkhnemux 19 November 2021 Froese Rainer and Pauly Daniel eds 2018 Sarotherodon melanotheron in October 2018 version swthch nitysarsarawithy ody 2024 07 16 plahmxkhangda btheriynkhxngplatangthinephuxthurkickarephaaeliyngstwna nitysarsarawithy ody swthch Blackchin Tilapia Sarotherodon melanotheron Ecological Risk Screening Summary PDF 1 October 2012 subkhnemux 9 February 2019 Blackchin Tilapia Sarotherodon melanotheron Ecological Risk Screening Summary PDF 1 October 2012 subkhnemux 9 February 2019 Masterson J 30 April 2007 Sarotherodon melanotheron Smithsonian Marine Station at Fort Pierce Smithsonian Marine Station subkhnemux 29 January 2015 phbplahmxsikhangdathiaephrrabadhnk thuknaekhaephuxprbprungsayphnthu Thai PBS 2017 07 11 subkhnemux 2017 07 18 Sotelo Yolanda 2013 07 06 Gloria an abomination in Bataan fishponds INQUIRER net phasaxngkvs subkhnemux 2020 09 19 Eyeson K N July 1992 Residual biparental oral brooding in the blackchin fish Sarotherodon melanotheron Ruppell Journal of Fish Biology phasaxngkvs 41 1 145 146 doi 10 1111 j 1095 8649 1992 tb03177 x ISSN 0022 1112 Blackchin Tilapia Sarotherodon melanotheron Ecological Risk Screening Summary PDF 1 October 2012 subkhnemux 9 February 2019 mumkaremuxng Thai PBS phasathai 2023 11 17 subkhnemux 2023 11 17 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a CS1 maint unrecognized language lingk Govt seeks source of alien fish influx in 16 Thai provinces Bangkok Post 21 July 2024 subkhnemux 25 July 2024 Wancharoen Supoj 2024 07 13 More alien fish found in Bangkok Bangkok Post subkhnemux 2024 07 16 phb hmxkhangda rabadetmkhlxngiklhadrayxng pramng cxaekpyhadwy kaphngkhaw phasathai 2024 07 12 subkhnemux 2024 07 16 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a CS1 maint unrecognized language lingk etuxnphy plahmxkhangdahwngthalayphnthustwnaelsab SongkhlaFocus phasathai 2024 07 01 subkhnemux 2024 07 16 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a CS1 maint unrecognized language lingk Laleye P 2010 Sarotherodon melanotheron ssp leonensis IUCN Red List of Threatened Species 2010 e T183111A8037523 subkhnemux 9 February 2019