ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาแห่งประเทศไทย (ย่อ: ป.วิ.อ.) เป็น อันเป็น (อังกฤษ: procedural law) ของประเทศไทย เป็นหนึ่งในบรรดาประมวลกฎหมายที่รัฐบาลไทย (แต่ครั้งที่ยังเรียกชื่อประเทศว่า "สยาม") เร่งผลิตใช้ เพื่อริเริ่มขอยกเลิกบรรดาสนธิสัญญาที่ราชอาณาจักรสยามทำไว้กับต่างประเทศ อันมีผลให้สยามต้องเสียเปรียบในด้านสิทธิสภาพนอกอาณาเขตและเอกราชทางการศาล
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ประเทศไทย) | |
---|---|
ข้อมูลทั่วไป | |
ผู้ตรา | สภาผู้แทนราษฎรไทย |
ผู้ลงนาม | คณะผู้สำเร็จราชการแทนสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล (อนุวัตรจาตุรนต์, อาทิตย์ทิพอาภา และ เจ้าพระยายมราช) |
วันลงนาม | 5 มิถุนายน 2478 |
ผู้ลงนามรับรอง | พระยาพหลพลพยุหเสนา (นายกรัฐมนตรี) |
วันประกาศ | 10 มิถุนายน 2478 (ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 52/หน้า 598/10 มิถุนายน 2478) |
วันเริ่มใช้ | 1 ตุลาคม 2478 |
ท้องที่ใช้ | ทั่วประเทศไทย |
ผู้รักษาการ | • ประธานศาลฎีกา • นายกรัฐมนตรี • รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย • รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม |
การแก้ไขเพิ่มเติม | |
ดูในบทความ | |
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง | |
• • | |
เว็บไซต์ | |
ดูเบื้องล่าง |
ในการร่างประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาของประเทศไทยนั้น คณะกรรมการยกร่างบันทึกว่า ได้ใช้ (อังกฤษ: South African Code of Criminal Procedure) ซึ่งอยู่ใน (อังกฤษ: Act 51 of 1977) ของสหภาพแอฟริกาใต้ (ยุคอาณานิคมในพระองค์ของจักรวรรดิบริติช และ สมัยการถือผิว) เป็นแม่แบบ อย่างไรก็ดี เมื่อพิเคราะห์แล้ว กลับพบว่า ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาของประเทศไทยมีบทบัญญัติเหมือนกับ "" (ญี่ปุ่น: 刑事訴訟法; โรมะจิ: Keiji Soshō Hō) หรือ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาของประเทศญี่ปุ่น ถึงร้อยละเก้าสิบ
โครงการร่างประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญานั้น เริ่มใน พ.ศ. 2477 ภายหลังประกาศใช้บรรพสุดท้ายของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในปีนั้น ซึ่งตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร แล้วเสร็จในปีเดียวกัน และประกาศใช้โดยคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในปีรุ่งขึ้น ให้แทนที่บรรดาพระราชบัญญัติเกี่ยวกับวิธีพิจารณาความอาญาที่ประกาศใช้เป็นการชั่วคราวก่อนหน้านี้ ตราบปัจจุบัน
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามีโครงสร้างแบ่งเป็นเจ็ดภาค คือ ภาค 1 ข้อความเบื้องต้น, ภาค 2 สอบสวน, ภาค 3 วิธีพิจารณาในศาลชั้นต้น, ภาค 4 อุทธรณ์ และฎีกา, ภาค 5 พยานหลักฐาน, ภาค 6 การบังคับตามคำพิพากษา และค่าธรรมเนียม และภาค 7 อภัยโทษ เปลี่ยนโทษหนักเป็นเบา และลดโทษ ตามลำดับ โดยตั้งแต่เริ่มมีผลใช้บังคับใน พ.ศ. 2478 จวบจนบัดนี้ ประมวลกฎหมายดังกล่าวมีอายุเกือบหนึ่งศตวรรษแล้ว
ประวัติ
มูลเหตุแห่งการจัดทำประมวลกฎหมายบ้านเมือง
กลางพุทธศตวรรษที่ 24 ไม่ต่างจากประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาคเดียวกัน ประเทศสยามต้องผจญอิทธิพลของวัฒนธรรมตะวันตกทั้งในด้านการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม จนที่สุดหลาย ๆ ประเทศ อาทิ ประเทศญี่ปุ่นและประเทศจีน รวมถึงสยามเองก็จำต้องยอมรับนับถือเอาแนวคิดทฤษฎีต่าง ๆ ของตะวันตกเข้ามาใช้ในประเทศตน โดยเฉพาะด้านการเมืองการปกครองของสยามนั้น ชาวตะวันตกต่างดูถูกดูแคลนว่าพระราชกำหนดบทพระอัยการกฎหมายตราสามดวงมีความล้าหลัง ป่าเถื่อน ไม่เหมาะสมกับสภาพการณ์ปัจจุบัน จึงไม่ยอมให้ใช้กฎหมายเหล่านั้นแก่ตนเป็นอันขาด เป็นเหตุให้สยามจำต้องทำสนธิสัญญาเสียเปรียบกับชาติตะวันตกหลายประเทศยอมยกสิทธิสภาพนอกอาณาเขตให้ชาวต่างชาติ
ประเทศสยามจึงเริ่มรับหลักกฎหมายในระบบคอมมอนลอว์ของประเทศอังกฤษเข้ามาใช้ในการวินิจฉัยชี้ขาดอรรถคดีในกรณีที่กฎหมายตราสามดวงไม่ครอบคลุมหรือไม่เหมาะสม กับทั้งมีการจัดตั้งโรงเรียนกฎหมายที่สอนกฎหมายระบบคอมมอนลอว์ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งวิวัฒนามาเป็นคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในปัจจุบัน อย่างไรก็ดี ครั้งนั้นกฎหมายตรามสามดวงก็ยังคงเป็นระบิลเมืองอยู่
และเพื่อให้มีกฎหมายที่ใหม่และทันสมัยสำหรับเป็นเงื่อนไขสำคัญให้สยามหลุดพ้นจากความเสียเปรียบในเรื่องสิทธิสภาพนอกอาณาเขตดังกล่าว พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงตัดสินพระราชหฤทัยให้มีการจัดทำประมวลกฎหมายบ้านเมืองดุจชาติตะวันตกทั้งหลาย ดังพระราชปรารภว่า
"...ในระหว่างตั้งแต่จุลศักราช 1217 ปีเถาะ สัปตศก รัตนโกสินทรศก 74 ประเทศไทยได้ทำหนังสือสัญญาทางพระราชไมตรีกับนานาประเทศ และหนังสือสัญญาทั้งปวงนั้นได้ทำตามแบบหนังสือสัญญาที่ฝรั่งได้ทำกับประเทศทางตะวันออก คือ ประเทศเตอรกี ประเทศจีน และประเทศญี่ปุ่น เป็นต้น มีข้อความอย่างเดียวกันที่ยอมให้กงสุลมีอำนาจตั้งศาลพิจารณาและพิพากษาคดีตามกฎหมายของเขา ในเมื่อคนในบังคับของชาตินั้น ๆ ที่เข้ามาอยู่ในประเทศทางตะวันออกเป็นความกันขึ้นเองหรือเป็นจำเลยของคนในบังคับของบ้านเมือง ลักษณการอย่างนี้ แม้จะมีประโยชน์ที่บรรเทาความรับผิดชอบแห่งเจ้าของประเทศได้อยู่บ้างในสมัยเมื่อแรกทำหนังสือสัญญา เวลายังมีชาวต่างประเทศพึ่งเข้ามาค้าขาย แต่ต่อมาเมื่อการค้าขายคบหากับนานาประเทศเจริญแพร่หลาย มีชาวต่างประเทศมาตั้งประกอบการค้าขายในพระราชอาณาจักรมากขึ้น ความลำบากในเรื่องคดีที่เกี่ยวข้องกับคนในบังคับต่างประเทศก็ยิ่งปรากฏเกิดมีทวีมากขึ้นทุกที เพราะเหตุที่คนทั้งหลายอันประกอบการสมาคมค้าขายอยู่ในประเทศบ้านเมืองอันเดียวกันต้องอยู่ในอำนาจศาลและในอำนาจกฎหมายต่าง ๆ กันตามชาติของบุคคล กระทำให้เป็นความลำบากขัดข้องทั้งในการปกครองบ้านเมืองและกีดกันประโยชน์ของคนทั้งหลายตลอดจนชนชาติต่างประเทศนั้น ๆ เองอยู่เป็นอันมาก ความลำบากด้วยเรื่องอำนาจศาลกงสุลเช่นว่ามานี้ย่อมมีทุกประเทศที่ได้ทำสัญญาโดยแบบอย่างอันเดียวกัน และต่างมีความประสงค์อย่างเดียวกันที่จะหาอุบายเลิกล้างวิธีศาลกงสุลต่างประเทศ ให้คนทั้งหลายไม่ว่าชาติใด ๆ บรรดาอยู่ในประเทศนั้น ๆ ได้รับประโยชน์อยู่ในอำนาจกฎหมายและอำนาจศาลสำหรับบ้านเมืองแต่อย่างเดียวทั่วกัน..."
สมยศ เชื้อไทย รองศาสตราจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการที่รัฐบาลสยามตัดสินใจจัดทำประมวลกฎหมายบ้านเมืองในครั้งนั้นว่า เป็นการพลิกระบบกฎหมายที่ใช้อยู่ในครั้งนั้นจากหน้ามือเป็นหลังมือทีเดียว เพราะเป็นการเปลี่ยนจากระบบคอมมอนลอว์ที่กฎหมายมาจากบรรทัดฐานที่ศาลกำหนด ไปเป็นระบบซีวิลลอว์ ที่กฎหมายมาจากกระบวนการนิติบัญญัติ โดยกล่าวว่า
"...การตัดสินใจทำประมวลกฎหมายครั้งนี้นับว่ามีความหมายในทางประวัติศาสตร์กฎหมายของไทยเป็นอย่างมาก เพราะเป็นการเปลี่ยนระบบกฎหมายจากการรับกฎหมายอังกฤษเข้ามาใช้ ซึ่งได้ปฏิบัติกันมาเป็นเวลาครึ่งศตวรรษ...มีความหมายว่าประเทศไทยหันเหจากการรับระบบคอมมอนลอว์ของอังกฤษมาใช้ เปลี่ยนไปรับระบบซีวิลลอว์ซึ่งเป็นระบบกฎหมายของภาคพื้นยุโรปที่มีนิติวิธีที่แตกต่างและตรงกันข้ามกับระบบคอมมอนลอว์ การที่ประเทศไทยประกาศใช้ประมวลกฎหมายจึงเป็นการเปลี่ยนแปลงจากระบบกฎหมายหนึ่งไปอีกระบบหนึ่งทีเดียว..."
เมื่อเล็งเห็นว่า การร่างประมวลกฎหมายดังตั้งความประสงค์ไว้นี้ จักต้องใช้ระยะเวลาอันยาวนาน เพื่อจัดการกับสถานการณ์ระหว่างนั้น รัฐบาลสยามก็ตรากฎหมายเป็นเรื่อง ๆ เพื่อใช้แทนกฎหมายตราสามดวงในส่วนที่ไม่เหมาะสม จนกว่างานจัดทำประมวลกฎหมายจะแล้วสิ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สำหรับ ในกฎหมายตราสามดวงนั้น ได้ถูกแทนที่โดย , , และ ตามลำดับ
การเริ่มจัดทำประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
หลังจากรัฐบาลสยามตัดสินใจจัดทำประมวลกฎหมายบ้านเมืองแล้ว ใน ร.ศ. 127 ซึ่งตรงกับ พ.ศ. 2451 ก็ได้เป็นประมวลกฎหมายฉบับแรกของประเทศและประกาศใช้ในปีนั้นเอง ครั้นแล้ว ก็เริ่มร่างและประกาศใช้ประมวลกฎหมายฉบับที่สอง คือ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ โดยบริบูรณ์ใน พ.ศ. 2477 อันเป็นช่วงหลังปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 แล้ว กินระยะเวลาตั้งแต่เริ่มร่างกฎหมายลักษณะอาญาจนถึงใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ได้พร้อมมูล มากกว่าสามสิบปี
หลังจากประกาศใช้ประมวลกฎหมายทั้งสอง อันเป็น (substantive law) ได้ครบทุกส่วนใน พ.ศ. 2477 แล้ว ปีนั้น รัฐบาลอันมี พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) เป็นนายกรัฐมนตรี ก็เร่งตั้งคณะกรรมการขึ้นเพื่อประมวลกฎหมายต่อ โดยตั้งใจให้ปรากฏตัวในรูปประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง แทนที่พระราชบัญญัติทั้งหลายอันประกาศใช้ก่อนหน้านี้เป็นการชั่วคราว
สำหรับคณะกรรมการยกร่างประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญานั้น มี (René Guyon) นักกฎหมายชาวฝรั่งเศส อดีตกรรมการร่างประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เป็นหัวเรือ โดยคณะกรรมการได้พยายามจัดระเบียบวิธีดำเนินคดีอาญาตามแนวปฏิบัติของศาลสยามในขณะนั้น แล้วนำหลักกฎหมายของสากลมาประกอบ เรอเน กียง ได้บันทึกไว้ว่า ทีแรกเขาคาดเดาเอาว่า กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาของสยามแต่เดิมในกฎหมายตราสามดวง คงจะคล้ายคลึงกับระบบกฎหมายใน แต่เมื่อพิเคราะห์โดยถ้วนถี่แล้ว กลับพบว่าต่างกันอย่างสิ้นเชิง คณะกรรมการยกร่างจึงใช้ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาแอฟริกาใต้ (South African Code of Criminal Procedure) ซึ่งอยู่ใน (Act 51 of 1977) ของแอฟริกาใต้ เป็นแม่แบบการร่างของสยาม
พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา) หนึ่งในกรรมการยกร่าง ได้ให้สัมภาษณ์เกี่ยวกับการใช้กฎหมายของแอฟริกาใต้ มาดัดแปลงเป็นประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาของสยาม ไว้ว่า
"...ที่เซ้าท์แอฟริกา [ประเทศแอฟริกาใต้] เขาใช้โค๊ด [ประมวลกฎหมาย] ของฮอลแลนด์ แล้วก็เอามาแปลง ฮอลแลนด์แปลงจนคนอังกฤษเข้าใจ คนฮอลแลนด์ก็เข้าใจ ของเราก็ต้องการให้คนอังกฤษเข้าใจ เพราะเขาเป็นคนมีอำนาจอยู่ในเวลานั้น..."
นอกจากนี้ สำหรับการซึ่งคณะกรรมการได้ชี้ขาดข้อสำคัญบางประการเกี่ยวกับกระบวนยุติธรรมทางอาญานั้น เรอเน กียง บันทึกไว้ตอนหนึ่งว่า
"...ในอดีตนั้น ศาลเป็นผู้ดำเนินการสอบสวนเบื้องต้นด้วย ซึ่งมีผลเป็นการเสียเวลาอย่างมหาศาล เพราะเท่ากับเป็นการสอบสวนซ้ำซ้อนนั่นเอง คณะกรรมการระดับสูง อันประกอบด้วยเจ้านาย จึงได้มีมติกำหนดให้กระบวนพิจารณาส่วนนี้เป็นอำนาจหน้าที่ของพนักงานสอบสวน และเพื่อให้การนี้เป็นไปอย่างถูกต้อง ก็ได้กำหนดให้มีการวางหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการให้หลักประกันแก่ผู้ต้องหาอย่างถี่ถ้วน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หลักเกณฑ์ในเรื่องการปล่อยตัวชั่วคราว จะโดยมีหลักประการหรือไม่ก็ตาม...
ได้มีการชี้ขาดในปัญหาเรื่องหลักเกณฑ์การรับฟังพยานหลักฐาน ด้วยการรับเอาระบบที่เรียกว่า la preuve morale [การใช้พยานหลักฐานที่ได้มาโดยสุจริต] มาใช้ อันเป็นสิ่งที่สอดคล้องกับธรรมเนียมปฏิบัติกันอยู่ในสยาม หลักเกณฑ์ในระบบพยานหลักฐานตามกฎหมาย (la preuve légale) ซึ่งมีการแยกระหว่างพยานที่รับฟังได้และพยานที่รับฟังไม่ได้นั้น เป็นอันว่าถูกตัดไป ไม่นำมาใช้ ดังนั้น ก็เท่ากับว่า ในระบบของสยามนั้น การแสดงความจริงให้ปรากฏแก่ศาลนั้น อาจทำได้โดยทุกวิถีทางที่สามารถให้ความกระจ่างแก่ศาล โดยมีข้อแม้อยู่ว่า พยานหลักฐานนั้น จะต้องมิใช่ได้มาโดยวิธีที่ต้องห้ามตามกฎหมาย..."
อย่างไรก็ดี แม้เรอเน กียง จะบันทึกว่า เขาใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาแห่งอัฟริกาใต้ในการร่าง แต่เมื่อพิเคราะห์แล้ว กลับพบว่า ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาของประเทศไทยมีบทบัญญัติเหมือนกับ "" (ญี่ปุ่น: 刑事訴訟法; โรมะจิ: Keiji Soshō Hō) หรือ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาของประเทศญี่ปุ่น ถึงร้อยละเก้าสิบ
การประกาศใช้ และสถานการณ์ภายหลัง
การร่างประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาดำเนินไปอย่างรวดเร็ว เริ่มโครงการใน พ.ศ. 2477 แล้วก็สำเร็จในปีนั้นเอง สภาผู้แทนราษฎรลงมติเห็นชอบใน "ร่างพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. 2477" แล้ว ปีรุ่งขึ้น ก็นำให้คณะผู้สำเร็จราชการแทนสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล (ภายหลังได้รับเฉลิมพระปรมาภิไธยเป็น พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร) ซึ่งสภาผู้แทนราษฎรแต่งตั้งไว้ตาม ประกาศประธานสภาผู้แทนราษฎร ลงวันที่ 7 มีนาคม 2477 ประกอบด้วย พันเอก พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตรจาตุรนต์, พลโท พลเรือโท พลอากาศโท พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา และ เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) ตามลำดับ ลงนามประกาศใช้
คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ชุดข้างต้นพิจารณาแล้ว ได้ลงนามแทนพระมหากษัตริย์เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2478 ตรา "พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. 2477" ขึ้น โดยประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 52 หน้า 598 ลงวันที่ 10 มิถุนายน 2478 ให้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาซึ่งแนบท้ายพระราชบัญญัติดังกล่าวมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2478 และมีผลเป็นอันยกเลิก พระราชบัญญัติลักษณะพยาน รัตนโกสินทรศก 113 กับทั้งพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาความมีโทษสำหรับใช้ไปพลางก่อน รัตนโกสินทร์ศก 115 โดยสิ้นเชิง สืบมาตราบปัจจุบันนี้
หลังจากที่สยามได้ประมวลกฎหมายถึงสามฉบับแล้ว รัฐบาลได้จัดให้มีการประมวลกฎหมายบ้านเมืองฉบับสำคัญสืบต่อมาอีก ได้แก่ กับทั้งได้พยายามใช้การมีกฎหมายอันทันสมัยทัดเทียมนานาอารยประเทศนี้เจรจาขอยกเลิกบรรดาสนธิสัญญาเสียเปรียบทั้งหลายเสมอมา ซึ่งการเจรจาก็มิใช่เรื่องง่ายเลย ต้องขอบคุณสหรัฐอเมริกาที่มีน้ำใจกว้างขวางช่วยเหลือสยามในการนี้ทุกเมื่อ และยังได้ส่ง (Edward Henry Strobel) นักการทูตและนักวิชาการด้านกฎหมายระหว่างประเทศ เข้ามาเป็นกำลังสำคัญให้ไทย ทว่า ฝรั่งเศสนั้นได้พยายามใช้ชั้นเชิงทางการทูตบ่ายเบี่ยงเลี่ยงหลีกการยกเลิกสนธิสัญญากับสยาม ส่วนประเทศอังกฤษ (สหราชอาณาจักร) นั้นก็ไม่ใคร่จะให้มีการยกเลิกเช่นกัน แต่ใช้ชั้นเชิงที่แนบเนียนกว่าฝรั่งเศส ทำให้รัฐบาลสยามต้องสู้รบปรบมือทางด้านนโยบายกับสองประเทศนี้เป็นเวลานาน ในที่สุด สยามก็ได้รับเอกราชทางการศาลคืนมาและยกเลิกสิทธิสภาพนอกอาณาเขตของชาวต่างชาติเป็นผลสำเร็จใน พ.ศ. 2481 ภายใต้รัฐบาลของ จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศแปลก พิบูลสงคราม
อย่างไรก็ดี แม้ว่าการจัดทำประมวลกฎหมายจะทำให้ประเทศสยามต้องเปลี่ยนระบบกฎหมายที่รับเข้ามาในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จากระบบคอมมอนลอว์ (Common Law System) อันกฎหมายเกิดจากบรรทัดฐานที่ศาลพิพากษากำหนดไว้ หรือที่สมัยนั้นเรียก "วิธีกฎหมายจารีตธรรม" เป็นระบบซีวิลลอว์ (Civil Law System) อันกฎหมายเกิดจากกระบวนการนิติบัญญัติ หรือที่ในสมัยนั้นเรียก "วิธีกฎหมายประมวลธรรม" (Code System) แต่ในทางปฏิบัติที่ผ่านมา นักกฎหมายไทยยังติดอยู่กับนิติวิธีทางระบบคอมมอนลอว์อยู่มาก ซึ่งบรรดาผู้ยกร่างประมวลเคยตระหนักถึงและแสดงความห่วงใยประเด็นนี้ไว้อยู่แล้ว ดังที่ (Georges Padoux) มีหนังสือถึง สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ และพระองค์ก็ทรงเห็นด้วย กับทั้งได้มีลายพระหัตถ์ลงวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2456 กราบบังทูลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ว่า
"ข้าพระพุทธเจ้าขอพระราชทานนำหนังสือความเห็นของมองสิเออปาดูซ์ว่าด้วยวิธีจัดการศึกษากฎหมายขึ้นกราบบังคมทูลพระกรุณาทราบใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท
แลเค้าความเห็นอันนี้ มองซิเออปาดูซ์ได้เขียนยื่นแก่เสนาบดียุติธรรมไว้แล้วแต่รัตนโกสินทรศก 129 แต่หามีผลสำเร็จประการใดไม่ ข้าพระพุทธเจ้าได้ความสันนิษฐานเข้าใจเอาเองว่าจะเป็นด้วยประชุมแห่งเหตุหลายประการ จะรับพระราชทานสาธกแต่เหตุสำคัญอันหนึ่งว่า จำเดิมแต่รัฐบาลได้ปรารภร่างประมวลอาญาจนถึงได้ประกาศเป็นพระราชกฤษฎีกา พระเจ้าพี่ยาเธอกรมหลวงราชบุรีผู้ทรงตำแหน่งเสนาบดีในกาลนั้นไม่ทรงเห็นชอบด้วยวิธีกฎหมายประมวลธรรม (Code System) ซึ่งใช้อยู่ในคอนติเนนต์ยุโรป ฝ่ายเธอเป็นเนติบัณฑิตสำนักอังกฤษซึ่งใช้วิธีกฎหมายจารีตธรรม (Common Law System) ความปรากฏในครั้งนั้นอยู่บ้างว่า เธอเอาพระองค์ออกห่างจากการตรวจสอบแก้ไขประมวลอาญา แลได้กราบบังคมทูลพระกรุณาคัดค้านต้นร่างนั้น ถึงแก่ขอให้เลิกกรรมการฝรั่งเศสซึ่งร่างประมวลกฎหมายนั้นเสีย แลอาสาว่าจะควบคุมตั้งกรรมการขึ้นใหม่เพื่อร่างประมวลกฎหมายแพ่งอาญาให้ลงกับทำนองวิธีจารีตธรรม (base on Common Law) ข้าพระพุทธเจ้ายอมรับอยู่ว่า การที่เธอทรงคัดค้านดังนี้นั้นเป็นความจริงใจด้วยมุ่งหมายความเจริญแก่พระนคร การอันนี้ถ้าทำได้สำเร็จจะเป็นอัศจรรย์มิใช่น้อย เพราะว่าการที่จะเอาจารีตธรรมอันเป็นพื้นประเพณีบ้านเมืองมาทำประมวลเป็นบทเป็นหมวดลงได้นั้นมิใช่ง่าย นิติบัณฑิตในสำนักอังกฤษและอเมริกาเองก็ยังแก่งแย่งกัน ยังมิอาจเห็นปรองดองลงกันได้ มิพักต้องกล่าวถึงว่าจะเป็นผลสำเร็จทันตาเห็น...
พระบาทสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง ผู้ทรงพระปัญญาญาณหยั่งเห็นกาลใกล้ไกล ทรงพระราชดำริชั่งได้ชั่งเสียในวิธีกฎหมายทั้ง 2 นั้นแล้ว พระราชทานพระราชวินิจฉัยไว้เป็นเด็ดขาดว่า พระราชกำหนดกฎหมายแก่งประเทศเราอันโบราณกระษัตราธิราชเจ้าได้ทรงบัญญัติไว้สืบ ๆ มา มีบทมาตราเป็นลักษณะหมวดหมู่เป็นทำนองเดียวกันกับวิธีกฎหมายประมวลธรรม (System of Codified Law) ซึ่งใช้อยู่ในคอนติเนนต์นั้น ถ้าจะคุมเข้ากันแลผ่อนผันแก้ไขก็จะลงกันได้โดยสะดวก...
ครั้นเมื่อข้าพระพุทธเจ้ากับกรรมการมีชื่อรับพระราชทานประชุมปรึกษาตรวจสอบแก้ร่างประมวลแพ่งจนจะสำเร็จลงในเดือนธันวาคมนั้น มองสิเออปาดูซ์จึงได้ร้องขอให้ข้าพระพุทธเจ้าพิจารณาพิเคราะห์ถึงวิธีศึกษาวิชากฎหมายว่า บัดนี้ถึงเวลาจำเป็นแล้วที่จะพึงดำริจัดการให้เข้าทำนองวิธีสั่งสอนฝ่ายคอนติเนนต์ คือ กฎหมายประมวลธรรม สำแดงเหตุว่าวิธีทั้ง 2 ผิดกันหลายประการ แลรัฐบาลจะออกประกาศให้ใช้กฎหมายวิธีประมวลธรรมนี้ แต่ผู้พิพากษาตุลาการจะไม่ชำนาญในวิธีนั้นจะบังคับอรรถคดีให้ถูกต้องโดยทำนองมิได้ ย่อมจะบังเกิดเป็นความลำบากใหญ่แก่ราชการศาลสถิตยุติธรรม ข้าพระพุทธเจ้าได้สนทนาปรึกษาด้วยมองสิเออปาดูซ์กับเป็นต้น เห็นด้วยเกล้าฯ ว่า ถึงกาลจำเป็นจะทิ้งรารอไว้ดังนี้มิได้ ควรจะตระเตรียมดัดแปลงการโรงเรียนให้ลงร่องลงรอยกลมกลืนกับทำนองนี้จึงจะทันท่วงที ข้าพระพุทธเจ้าจึงสั่งให้มองสิเออปาดูซ์รวบรวมความเห็นที่ได้เขียนไว้เดิม ตกเติมเพิ่มข้อความลงให้กระจ่างเป็นฉบับเดียวกันมายื่น เพื่อได้นำขึ้นกราบบังคมทูลพระกรุณา ขอพระราชทานเรียนพระราชปฏิบัติ..."
แม้บรรดากรรมการร่างกฎหมายจะแสดงความเป็นห่วงเพียงนั้น แต่อิทธิพลของระบบคอมมอนลอว์ยังส่งผลต่อประเทศไทยมาก ทำให้การใช้กฎหมายไทยเป็นสันเป็นดอนตลอดมา ดังที่ ศาสตราจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า
"...ตลอดเวลาที่ผ่านมาจวบจนกระทั่งปัจจุบัน ก็ยังคงมีปัญหาในการทำความเข้าใจหลักกฎหมายที่ปรากฏอยู่เบื้องหลังตัวบท การนำหลักกฎหมายคอมมอนลอว์มาตีความประมวลกฎหมายยังปรากฏอยู่ในคำสอนทางตำราและในแนวคำพิพากษาของศาล ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนในหลาย ๆ เรื่องส่งผลโดยตรงให้นักกฎหมายไทยส่วนหนึ่งใช้ประมวลกฎหมายอย่างขาดความเข้าใจที่แท้จริง
ในอีกมุมหนึ่ง การรับกฎหมายสมัยใหม่จากตะวันตกและละเลยคุณค่าที่มีอยู่ในกฎหมายไทยเดิม โดยเฉพาะความคิดที่ว่ากฎหมายคือธรรม แล้วหันมายึดถือความคิดแบบ legal positivism ที่ถือว่า กฎหมายคือคำสั่งของผู้ปกครองแผ่นดิน ยิ่งส่งผลโดยตรงให้นักกฎหมายกลายเป็นคนคับแคบ เดินตามผู้มีอำนาจ ตีความตามตัวอักษร คำตอบที่ออกมาในหลายเรื่องจึงไม่สอดคล้องกับความเป็นจริงในสังคม หนักไปกว่านั้นก็คือ การแยกว่ากฎหมายกับความยุติธรรมเป็นคนละเรื่องกัน
โครงสร้าง
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาของไทย ประกอบด้วยบทบัญญัติทั้งหมด เจ็ดภาค สิบสองลักษณะ และยี่สิบเอ็ดหมวด ดังต่อไปนี้
- ภาค 1 ข้อความเบื้องต้น
- ลักษณะ 1 หลักทั่วไป
- ลักษณะ 2 อำนาจพนักงานสอบสวนและศาล
- หมวด 1 หลักทั่วไป
- หมวด 2 อำนาจสืบสวนและสอบสวน
- หมวด 3 อำนาจศาล
- ลักษณะ 3 การฟ้องคดีอาญา และคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา
- หมวด 1 การฟ้องคดีอาญา
- หมวด 2 การฟ้องคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา
- ลักษณะ 4 หมายเรียก และหมายอาญา
- หมวด 1 หมายเรียก
- หมวด 2 หมายอาญา
- ส่วนที่ 1 หลักทั่วไป
- ส่วนที่ 2 หมายจับ
- ส่วนที่ 3 หมายค้น
- ส่วนที่ 4 หมายขัง หมายจำคุก หมายปล่อย
- ลักษณะ 5 จับ ขัง จำคุก ค้น ปล่อยชั่วคราว
- หมวด 1 จับ ขัง จำคุก
- หมวด 2 ค้น
- หมวด 3 ปล่อยชั่วคราว
- ภาค 2 สอบสวน
- ลักษณะ 1 หลักทั่วไป
- ลักษณะ 2 การสอบสวน
- หมวด 1 การสอบสวนสามัญ
- หมวด 2 การชันสูตรพลิกศพ
- ภาค 3 วิธีพิจารณาในศาลชั้นต้น
- ลักษณะ 1 ฟ้องคดีอาญา และไต่สวนมูลฟ้อง
- ลักษณะ 2 การพิจารณา
- ลักษณะ 3 คำพิพากษา และคำสั่ง
- ภาค 4 อุทธรณ์ และฎีกา
- ลักษณะ 1 อุทธรณ์
- หมวด 1 หลักทั่วไป
- หมวด 2 การพิจารณา คำพิพากษา และคำสั่งชั้นอุทธรณ์
- ลักษณะ 2 ฎีกา
- หมวด 1 หลักทั่วไป
- หมวด 2 การพิจารณา คำพิพากษา และคำสั่งชั้นฎีกา
- ลักษณะ 1 อุทธรณ์
- ภาค 5 พยานหลักฐาน
- หมวด 1 หลักทั่วไป
- หมวด 2 พยานบุคคล
- หมวด 3 พยานเอกสาร
- หมวด 4 พยานวัตถุ
- หมวด 5 ผู้เชี่ยวชาญ
- ภาค 6 การบังคับตามคำพิพากษา และค่าธรรมเนียม
- หมวด 1 การบังคับตามคำพิพากษา
- หมวด 2 ค่าธรรมเนียม
- ภาค 7 อภัยโทษ เปลี่ยนโทษหนักเป็นเบา และลดโทษ
การแก้ไขเพิ่มเติม
นับแต่เริ่มมีผลใช้บังคับครั้งแรกใน พ.ศ. 2477 จวบจนถึงบัดนี้ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาได้รับการแก้ไขเพิ่มเติมแล้วสามสิบสองครั้ง ซึ่งครั้งล่าสุดโดย พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ 29) พ.ศ. 2551
เชิงอรรถ
- แสวง บุญเฉลิมวิภาศ, 2552: 204.
- แสวง บุญเฉลิมวิภาศ, 2552 : 239-240.
- Japanese Code of Criminal Procedure, 2009 : Online.
- ราชกิจจานุเบกษา; 2478, 10 มิถุนายน : ออนไลน์.
- สมยศ เชื้อไทย, 2551 : 11.
- ราชกิจจานุเบกษา; 2451, 1 มิถุนายน : ออนไลน์.
- สมยศ เชื้อไทย, 2551 : 11-12.
- แสวง บุญเฉลิมวิภาส, 2552 : 238-239.
- แสวง บุญเฉลิมวิภาศ, 2552 : 228-229.
- แสวง บุญเฉลิมวิภาศ, 2552 : 239.
- ภาควิชานิติศึกษาทางสังคม ปรัชญา และประวัติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์; 2523, 12 กันยายน : 37.
- แสวง บุญเฉลิมวิภาศ, 2552 : 240-241.
- ราชกิจจานุเบกษา; 2477, 7 มีนาคม : ออนไลน์.
- พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พุทธศักราช 2477 มาตรา 3 วรรคหนึ่ง
"ให้ใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ตามที่ตราไว้ต่อท้ายพระราชบัญญัตินี้ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พุทธศักราช 2478 เป็นต้นไป"
- พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พุทธศักราช 2477 มาตรา 4
"ภายใต้บังคับแห่งบทบัญญัติมาตรา 3 ตั้งแต่วันใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญานี้สืบไป ให้ยกเลิกมาตรา 14, 16 และมาตรา 87 ถึง 96 ในกฎหมายลักษณะอาญา พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาความมีโทษสำหรับใช้ไปพลางก่อน ร.ศ. 115 และบรรดากฎหมาย กฎ และข้อบังคับอื่น ๆ ในส่วนที่มีบัญญัติไว้แล้วในประมวลกฎหมายนี้ หรือซึ่งขัดหรือแย้งกับประมวลกฎหมายนี้"
- แสวง บุญเฉลิมวิภาศ, 2552 : 242.
- ธานินทร์ กรัยวิเชียร, 2517 : 6.
- แสวง บุญเฉลิมวิภาศ, 2552 : 243-244.
- แสวง บุญเฉลิมวิภาศ, 2552 : 244-245.
อ้างอิง
- ธานินทร์ กรัยวิเชียร. (2517). "อิทธิพลของกฎหมายอังกฤษในระบบกฎหมายไทย". วารสารนิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, (ปีที่ 11, ฉบับที่ 2).
- ภาควิชานิติศึกษาทางสังคม ปรัชญา และประวัติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (2523, 12 กันยายน). บันทึกคำสัมภาษณ์พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา). (เอกสารในห้องสมุดสัญญาธรรมศักดิ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ท่าพระจันทร์ กรุงเทพมหานคร).
- ราชกิจจานุเบกษา.
- (2451, 1 มิถุนายน). กฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. 127. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: <ลิงก์>. (เข้าถึงเมื่อ: 8 พฤศจิกายน 2553).
- (2477, 7 มีนาคม). ประกาศ ตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: <ลิงก์ 2007-09-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน>. (เข้าถึงเมื่อ: 8 พฤศจิกายน 2553).
- (2478, 10 มิถุนายน). พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พุทธศักราช 2477. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: <ลิงก์>. (เข้าถึงเมื่อ: 8 พฤศจิกายน 2553).
- ราชบัณฑิตยสถาน.
- (2551, 7 กุมภาพันธ์). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: <ลิงก์ 2009-03-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน>. (เข้าถึงเมื่อ: 8 พฤศจิกายน 2553).
- (ม.ป.ป.). ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: <ลิงก์ 2017-07-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน>. (เข้าถึงเมื่อ: 8 พฤศจิกายน 2553).
- สมยศ เชื้อไทย. (2551). ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ฉบับใช้เรียน. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ : วิญญูชน. .
- สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2551, 11 กุมภาพันธ์). ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: <คลิก 2010-03-01 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน>. (เข้าถึงเมื่อ: 8 พฤศจิกายน 2553).
- . (2552). ประวัติศาสตร์กฎหมายไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ : วิญญูชน. .
- Japanese Code of Criminal Procedure. (2009). [Online]. Available: <link 2011-11-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน>. (Accessed: 19 January 2011).
ดูเพิ่ม
- ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ตัวบท)
- ห้องสมุดกฎหมายสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา 2011-02-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- โครงการกฎหมายลองดู 2010-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Criminal Procedure Code of Thailand 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน - English Official Translation by the Office of Justice Affairs, Ministry of Justice of Thailand (Current to 2002)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
pramwlkdhmaywithiphicarnakhwamxayaaehngpraethsithy yx p wi x epn xnepn xngkvs procedural law khxngpraethsithy epnhnunginbrrdapramwlkdhmaythirthbalithy aetkhrngthiyngeriykchuxpraethswa syam erngphlitich ephuxrierimkhxykelikbrrdasnthisyyathirachxanackrsyamthaiwkbtangpraeths xnmiphlihsyamtxngesiyepriybindansiththisphaphnxkxanaekhtaelaexkrachthangkarsalpramwlkdhmaywithiphicarnakhwamxaya praethsithy khxmulthwipphutrasphaphuaethnrasdrithyphulngnamkhnaphusaercrachkaraethnsmedcphraecaxyuhwxannthmhidl xnuwtrcaturnt xathitythiphxapha aela ecaphrayaymrach wnlngnam5 mithunayn 2478phulngnamrbrxngphrayaphhlphlphyuhesna naykrthmntri wnprakas10 mithunayn 2478 rachkiccanuebksa elm 52 hna 598 10 mithunayn 2478 wnerimich1 tulakhm 2478thxngthiichthwpraethsithyphurksakar prathansaldika naykrthmntri rthmntriwakarkrathrwngmhadithy rthmntriwakarkrathrwngyutithrrmkaraekikhephimetimduinbthkhwamkdhmaythiekiywkhxng ewbistduebuxnglang inkarrangpramwlkdhmaywithiphicarnakhwamxayakhxngpraethsithynn khnakrrmkarykrangbnthukwa idich xngkvs South African Code of Criminal Procedure sungxyuin xngkvs Act 51 of 1977 khxngshphaphaexfrikait yukhxananikhminphraxngkhkhxngckrwrrdibritich aela smykarthuxphiw epnaemaebb xyangirkdi emuxphiekhraahaelw klbphbwa pramwlkdhmaywithiphicarnakhwamxayakhxngpraethsithymibthbyytiehmuxnkb yipun 刑事訴訟法 ormaci Keiji Soshō Hō hrux pramwlkdhmaywithiphicarnakhwamxayakhxngpraethsyipun thungrxylaekasib okhrngkarrangpramwlkdhmaywithiphicarnakhwamxayann erimin ph s 2477 phayhlngprakasichbrrphsudthaykhxngpramwlkdhmayaephngaelaphanichyinpinn sungtrngkbrchsmyphrabathsmedcphrapremnthrmhaxannthmhidl phraxthmramathibdinthr aelwesrcinpiediywkn aelaprakasichodykhnaphusaercrachkaraethnphraxngkhinpirungkhun ihaethnthibrrdaphrarachbyytiekiywkbwithiphicarnakhwamxayathiprakasichepnkarchwkhrawkxnhnani trabpccubn pramwlkdhmaywithiphicarnakhwamxayamiokhrngsrangaebngepnecdphakh khux phakh 1 khxkhwamebuxngtn phakh 2 sxbswn phakh 3 withiphicarnainsalchntn phakh 4 xuththrn aeladika phakh 5 phyanhlkthan phakh 6 karbngkhbtamkhaphiphaksa aelakhathrrmeniym aelaphakh 7 xphyoths epliynothshnkepneba aelaldoths tamladb odytngaeterimmiphlichbngkhbin ph s 2478 cwbcnbdni pramwlkdhmaydngklawmixayuekuxbhnungstwrrsaelwprawtimulehtuaehngkarcdthapramwlkdhmaybanemuxng klangphuththstwrrsthi 24 imtangcakpraethsxun inphumiphakhediywkn praethssyamtxngphcyxiththiphlkhxngwthnthrrmtawntkthngindankaremuxng karpkkhrxng esrsthkic aelasngkhm cnthisudhlay praeths xathi praethsyipunaelapraethscin rwmthungsyamexngkcatxngyxmrbnbthuxexaaenwkhidthvsditang khxngtawntkekhamaichinpraethstn odyechphaadankaremuxngkarpkkhrxngkhxngsyamnn chawtawntktangduthukduaekhlnwaphrarachkahndbthphraxykarkdhmaytrasamdwngmikhwamlahlng paethuxn imehmaasmkbsphaphkarnpccubn cungimyxmihichkdhmayehlannaektnepnxnkhad epnehtuihsyamcatxngthasnthisyyaesiyepriybkbchatitawntkhlaypraethsyxmyksiththisphaphnxkxanaekhtihchawtangchati praethssyamcungerimrbhlkkdhmayinrabbkhxmmxnlxwkhxngpraethsxngkvsekhamaichinkarwinicchychikhadxrrthkhdiinkrnithikdhmaytrasamdwngimkhrxbkhlumhruximehmaasm kbthngmikarcdtngorngeriynkdhmaythisxnkdhmayrabbkhxmmxnlxwinrchkalphrabathsmedcphraprminthrmhaculalngkrn phraculcxmeklaecaxyuhw sungwiwthnamaepnkhnanitisastr mhawithyalythrrmsastr inpccubn xyangirkdi khrngnnkdhmaytramsamdwngkyngkhngepnrabilemuxngxyu phrabrmrupthrngma phrabrmrachanusawriyphrabathsmedcphraprminthrmhaculalngkrn thilanphrarachwngdusit aelaephuxihmikdhmaythiihmaelathnsmysahrbepnenguxnikhsakhyihsyamhludphncakkhwamesiyepriybineruxngsiththisphaphnxkxanaekhtdngklaw phrabathsmedcphraprminthrmhaculalngkrn phraculcxmeklaecaxyuhw cungthrngtdsinphrarachhvthyihmikarcdthapramwlkdhmaybanemuxngducchatitawntkthnghlay dngphrarachprarphwa inrahwangtngaetculskrach 1217 piethaa sptsk rtnoksinthrsk 74 praethsithyidthahnngsuxsyyathangphrarachimtrikbnanapraeths aelahnngsuxsyyathngpwngnnidthatamaebbhnngsuxsyyathifrngidthakbpraethsthangtawnxxk khux praethsetxrki praethscin aelapraethsyipun epntn mikhxkhwamxyangediywknthiyxmihkngsulmixanactngsalphicarnaaelaphiphaksakhditamkdhmaykhxngekha inemuxkhninbngkhbkhxngchatinn thiekhamaxyuinpraethsthangtawnxxkepnkhwamknkhunexnghruxepncaelykhxngkhninbngkhbkhxngbanemuxng lksnkarxyangni aemcamipraoychnthibrrethakhwamrbphidchxbaehngecakhxngpraethsidxyubanginsmyemuxaerkthahnngsuxsyya ewlayngmichawtangpraethsphungekhamakhakhay aettxmaemuxkarkhakhaykhbhakbnanapraethsecriyaephrhlay michawtangpraethsmatngprakxbkarkhakhayinphrarachxanackrmakkhun khwamlabakineruxngkhdithiekiywkhxngkbkhninbngkhbtangpraethskyingpraktekidmithwimakkhunthukthi ephraaehtuthikhnthnghlayxnprakxbkarsmakhmkhakhayxyuinpraethsbanemuxngxnediywkntxngxyuinxanacsalaelainxanackdhmaytang kntamchatikhxngbukhkhl krathaihepnkhwamlabakkhdkhxngthnginkarpkkhrxngbanemuxngaelakidknpraoychnkhxngkhnthnghlaytlxdcnchnchatitangpraethsnn exngxyuepnxnmak khwamlabakdwyeruxngxanacsalkngsulechnwamaniyxmmithukpraethsthiidthasyyaodyaebbxyangxnediywkn aelatangmikhwamprasngkhxyangediywknthicahaxubayeliklangwithisalkngsultangpraeths ihkhnthnghlayimwachatiid brrdaxyuinpraethsnn idrbpraoychnxyuinxanackdhmayaelaxanacsalsahrbbanemuxngaetxyangediywthwkn smys echuxithy rxngsastracarykhnanitisastr mhawithyalythrrmsastr aesdngkhwamkhidehnekiywkbkarthirthbalsyamtdsiniccdthapramwlkdhmaybanemuxnginkhrngnnwa epnkarphlikrabbkdhmaythiichxyuinkhrngnncakhnamuxepnhlngmuxthiediyw ephraaepnkarepliyncakrabbkhxmmxnlxwthikdhmaymacakbrrthdthanthisalkahnd ipepnrabbsiwillxw thikdhmaymacakkrabwnkarnitibyyti odyklawwa kartdsinicthapramwlkdhmaykhrngninbwamikhwamhmayinthangprawtisastrkdhmaykhxngithyepnxyangmak ephraaepnkarepliynrabbkdhmaycakkarrbkdhmayxngkvsekhamaich sungidptibtiknmaepnewlakhrungstwrrs mikhwamhmaywapraethsithyhnehcakkarrbrabbkhxmmxnlxwkhxngxngkvsmaich epliyniprbrabbsiwillxwsungepnrabbkdhmaykhxngphakhphunyuorpthiminitiwithithiaetktangaelatrngknkhamkbrabbkhxmmxnlxw karthipraethsithyprakasichpramwlkdhmaycungepnkarepliynaeplngcakrabbkdhmayhnungipxikrabbhnungthiediyw emuxelngehnwa karrangpramwlkdhmaydngtngkhwamprasngkhiwni cktxngichrayaewlaxnyawnan ephuxcdkarkbsthankarnrahwangnn rthbalsyamktrakdhmayepneruxng ephuxichaethnkdhmaytrasamdwnginswnthiimehmaasm cnkwangancdthapramwlkdhmaycaaelwsin odyechphaaxyangying sahrb inkdhmaytrasamdwngnn idthukaethnthiody aela tamladb karerimcdthapramwlkdhmaywithiphicarnakhwamxaya phrarachkvsdikaihichbthbyytiaehngpramwlkdhmayaephngaelaphanichy brrph 1 aelabrrph 2 thiidtrwccharaihm ph s 2468 hlngcakrthbalsyamtdsiniccdthapramwlkdhmaybanemuxngaelw in r s 127 sungtrngkb ph s 2451 kidepnpramwlkdhmaychbbaerkkhxngpraethsaelaprakasichinpinnexng khrnaelw kerimrangaelaprakasichpramwlkdhmaychbbthisxng khux pramwlkdhmayaephngaelaphanichy odybriburnin ph s 2477 xnepnchwnghlngptiwtisyam ph s 2475 aelw kinrayaewlatngaeterimrangkdhmaylksnaxayacnthungichpramwlkdhmayaephngaelaphanichyidphrxmmul makkwasamsibpi hlngcakprakasichpramwlkdhmaythngsxng xnepn substantive law idkhrbthukswnin ph s 2477 aelw pinn rthbalxnmi phrayaphhlphlphyuhesna phcn phhloythin epnnaykrthmntri kerngtngkhnakrrmkarkhunephuxpramwlkdhmaytx odytngicihprakttwinruppramwlkdhmaywithiphicarnakhwamxaya aelapramwlkdhmaywithiphicarnakhwamaephng aethnthiphrarachbyytithnghlayxnprakasichkxnhnaniepnkarchwkhraw sahrbkhnakrrmkarykrangpramwlkdhmaywithiphicarnakhwamxayann mi Rene Guyon nkkdhmaychawfrngess xditkrrmkarrangpramwlkdhmayaephngaelaphanichy epnhwerux odykhnakrrmkaridphyayamcdraebiybwithidaeninkhdixayatamaenwptibtikhxngsalsyaminkhnann aelwnahlkkdhmaykhxngsaklmaprakxb erxen kiyng idbnthukiwwa thiaerkekhakhadedaexawa kdhmaywithiphicarnakhwamxayakhxngsyamaetediminkdhmaytrasamdwng khngcakhlaykhlungkbrabbkdhmayin aetemuxphiekhraahodythwnthiaelw klbphbwatangknxyangsineching khnakrrmkarykrangcungich pramwlkdhmaywithiphicarnakhwamxayaaexfrikait South African Code of Criminal Procedure sungxyuin Act 51 of 1977 khxngaexfrikait epnaemaebbkarrangkhxngsyam phrayamanwracheswi plxd wiechiyr n sngkhla phrayamanwracheswi plxd wiechiyr n sngkhla hnunginkrrmkarykrang idihsmphasnekiywkbkarichkdhmaykhxngaexfrikait maddaeplngepnpramwlkdhmaywithiphicarnakhwamxayakhxngsyam iwwa thiesathaexfrika praethsaexfrikait ekhaichokhd pramwlkdhmay khxnghxlaelnd aelwkexamaaeplng hxlaelndaeplngcnkhnxngkvsekhaic khnhxlaelndkekhaic khxngeraktxngkarihkhnxngkvsekhaic ephraaekhaepnkhnmixanacxyuinewlann nxkcakni sahrbkarsungkhnakrrmkaridchikhadkhxsakhybangprakarekiywkbkrabwnyutithrrmthangxayann erxen kiyng bnthukiwtxnhnungwa inxditnn salepnphudaeninkarsxbswnebuxngtndwy sungmiphlepnkaresiyewlaxyangmhasal ephraaethakbepnkarsxbswnsasxnnnexng khnakrrmkarradbsung xnprakxbdwyecanay cungidmimtikahndihkrabwnphicarnaswnniepnxanachnathikhxngphnkngansxbswn aelaephuxihkarniepnipxyangthuktxng kidkahndihmikarwanghlkeknthekiywkbkarihhlkpraknaekphutxnghaxyangthithwn odyechphaaxyangying hlkeknthineruxngkarplxytwchwkhraw caodymihlkprakarhruximktam idmikarchikhadinpyhaeruxnghlkeknthkarrbfngphyanhlkthan dwykarrbexarabbthieriykwa la preuve morale karichphyanhlkthanthiidmaodysucrit maich xnepnsingthisxdkhlxngkbthrrmeniymptibtiknxyuinsyam hlkeknthinrabbphyanhlkthantamkdhmay la preuve legale sungmikaraeykrahwangphyanthirbfngidaelaphyanthirbfngimidnn epnxnwathuktdip imnamaich dngnn kethakbwa inrabbkhxngsyamnn karaesdngkhwamcringihpraktaeksalnn xacthaidodythukwithithangthisamarthihkhwamkracangaeksal odymikhxaemxyuwa phyanhlkthannn catxngmiichidmaodywithithitxnghamtamkdhmay xyangirkdi aemerxen kiyng cabnthukwa ekhaichpramwlkdhmaywithiphicarnakhwamxayaaehngxfrikaitinkarrang aetemuxphiekhraahaelw klbphbwa pramwlkdhmaywithiphicarnakhwamxayakhxngpraethsithymibthbyytiehmuxnkb yipun 刑事訴訟法 ormaci Keiji Soshō Hō hrux pramwlkdhmaywithiphicarnakhwamxayakhxngpraethsyipun thungrxylaekasib karprakasich aelasthankarnphayhlng cxmphlaeplk phibulsngkhram karrangpramwlkdhmaywithiphicarnakhwamxayadaeninipxyangrwderw erimokhrngkarin ph s 2477 aelwksaercinpinnexng sphaphuaethnrasdrlngmtiehnchxbin rangphrarachbyytiihichpramwlkdhmaywithiphicarnakhwamxaya ph s 2477 aelw pirungkhun knaihkhnaphusaercrachkaraethnsmedcphraecaxyuhwxannthmhidl phayhlngidrbechlimphraprmaphiithyepn phrabathsmedcphrapremnthrmhaxannthmhidl phraxthmramathibdinthr sungsphaphuaethnrasdraetngtngiwtam prakasprathansphaphuaethnrasdr lngwnthi 7 minakhm 2477 prakxbdwy phnexk phraecawrwngsethx phraxngkhecaxxskharnuthis krmhmunxnuwtrcaturnt phloth phleruxoth phlxakasoth phraecawrwngsethx phraxngkhecaxathitythiphxapha aela ecaphrayaymrach pn sukhum tamladb lngnamprakasich khnaphusaercrachkaraethnphraxngkhchudkhangtnphicarnaaelw idlngnamaethnphramhakstriyemuxwnthi 5 mithunayn 2478 tra phrarachbyytiihichpramwlkdhmaywithiphicarnakhwamxaya ph s 2477 khun odyprakasin rachkiccanuebksa elm 52 hna 598 lngwnthi 10 mithunayn 2478 ihpramwlkdhmaywithiphicarnakhwamxayasungaenbthayphrarachbyytidngklawmiphlichbngkhbtngaetwnthi 1 tulakhm 2478 aelamiphlepnxnykelik phrarachbyytilksnaphyan rtnoksinthrsk 113 kbthngphrarachbyytiwithiphicarnakhwammiothssahrbichipphlangkxn rtnoksinthrsk 115 odysineching submatrabpccubnni hlngcakthisyamidpramwlkdhmaythungsamchbbaelw rthbalidcdihmikarpramwlkdhmaybanemuxngchbbsakhysubtxmaxik idaek kbthngidphyayamichkarmikdhmayxnthnsmythdethiymnanaxarypraethsniecrcakhxykelikbrrdasnthisyyaesiyepriybthnghlayesmxma sungkarecrcakmiicheruxngngayely txngkhxbkhunshrthxemrikathiminaickwangkhwangchwyehluxsyaminkarnithukemux aelayngidsng Edward Henry Strobel nkkarthutaelankwichakardankdhmayrahwangpraeths ekhamaepnkalngsakhyihithy thwa frngessnnidphyayamichchnechingthangkarthutbayebiyngeliynghlikkarykeliksnthisyyakbsyam swnpraethsxngkvs shrachxanackr nnkimikhrcaihmikarykelikechnkn aetichchnechingthiaenbeniynkwafrngess thaihrthbalsyamtxngsurbprbmuxthangdannoybaykbsxngpraethsniepnewlanan inthisud syamkidrbexkrachthangkarsalkhunmaaelaykeliksiththisphaphnxkxanaekhtkhxngchawtangchatiepnphlsaercin ph s 2481 phayitrthbalkhxng cxmphl cxmphlerux cxmphlxakasaeplk phibulsngkhram xyangirkdi aemwakarcdthapramwlkdhmaycathaihpraethssyamtxngepliynrabbkdhmaythirbekhamainsmyrchkalphrabathsmedcphraprminthrmhaculalngkrn phraculcxmeklaecaxyuhw cakrabbkhxmmxnlxw Common Law System xnkdhmayekidcakbrrthdthanthisalphiphaksakahndiw hruxthismynneriyk withikdhmaycaritthrrm epnrabbsiwillxw Civil Law System xnkdhmayekidcakkrabwnkarnitibyyti hruxthiinsmynneriyk withikdhmaypramwlthrrm Code System aetinthangptibtithiphanma nkkdhmayithyyngtidxyukbnitiwithithangrabbkhxmmxnlxwxyumak sungbrrdaphuykrangpramwlekhytrahnkthungaelaaesdngkhwamhwngiypraednniiwxyuaelw dngthi Georges Padoux mihnngsuxthung smedcphraecabrmwngsethx phraxngkhecaswsdiosphn krmphraswsdiwdnwisisd aelaphraxngkhkthrngehndwy kbthngidmilayphrahtthlngwnthi 15 minakhm ph s 2456 krabbngthulphrabathsmedcphraprminthrmhawchirawuth phramngkudeklaecaxyuhw wa khaphraphuththecakhxphrarachthannahnngsuxkhwamehnkhxngmxngsiexxpaduswadwywithicdkarsuksakdhmaykhunkrabbngkhmthulphrakrunathrabitfalaxxngthuliphrabath aelekhakhwamehnxnni mxngsiexxpadusidekhiynyunaekesnabdiyutithrrmiwaelwaetrtnoksinthrsk 129 aethamiphlsaercprakaridim khaphraphuththecaidkhwamsnnisthanekhaicexaexngwacaepndwyprachumaehngehtuhlayprakar carbphrarachthansathkaetehtusakhyxnhnungwa caedimaetrthbalidprarphrangpramwlxayacnthungidprakasepnphrarachkvsdika phraecaphiyaethxkrmhlwngrachburiphuthrngtaaehnngesnabdiinkalnnimthrngehnchxbdwywithikdhmaypramwlthrrm Code System sungichxyuinkhxntienntyuorp fayethxepnentibnthitsankxngkvssungichwithikdhmaycaritthrrm Common Law System khwampraktinkhrngnnxyubangwa ethxexaphraxngkhxxkhangcakkartrwcsxbaekikhpramwlxaya aelidkrabbngkhmthulphrakrunakhdkhantnrangnn thungaekkhxihelikkrrmkarfrngesssungrangpramwlkdhmaynnesiy aelxasawacakhwbkhumtngkrrmkarkhunihmephuxrangpramwlkdhmayaephngxayaihlngkbthanxngwithicaritthrrm base on Common Law khaphraphuththecayxmrbxyuwa karthiethxthrngkhdkhandngninnepnkhwamcringicdwymunghmaykhwamecriyaekphrankhr karxnnithathaidsaerccaepnxscrrymiichnxy ephraawakarthicaexacaritthrrmxnepnphunpraephnibanemuxngmathapramwlepnbthepnhmwdlngidnnmiichngay nitibnthitinsankxngkvsaelaxemrikaexngkyngaekngaeyngkn yngmixacehnprxngdxnglngknid miphktxngklawthungwacaepnphlsaercthntaehn phrabathsmedcphraphuththecahlwng phuthrngphrapyyayanhyngehnkaliklikl thrngphrarachdarichngidchngesiyinwithikdhmaythng 2 nnaelw phrarachthanphrarachwinicchyiwepneddkhadwa phrarachkahndkdhmayaekngpraethseraxnobrankrastrathirachecaidthrngbyytiiwsub ma mibthmatraepnlksnahmwdhmuepnthanxngediywknkbwithikdhmaypramwlthrrm System of Codified Law sungichxyuinkhxntienntnn thacakhumekhaknaelphxnphnaekikhkcalngknidodysadwk khrnemuxkhaphraphuththecakbkrrmkarmichuxrbphrarachthanprachumpruksatrwcsxbaekrangpramwlaephngcncasaerclngineduxnthnwakhmnn mxngsiexxpaduscungidrxngkhxihkhaphraphuththecaphicarnaphiekhraahthungwithisuksawichakdhmaywa bdnithungewlacaepnaelwthicaphungdaricdkarihekhathanxngwithisngsxnfaykhxntiennt khux kdhmaypramwlthrrm saaedngehtuwawithithng 2 phidknhlayprakar aelrthbalcaxxkprakasihichkdhmaywithipramwlthrrmni aetphuphiphaksatulakarcaimchanayinwithinncabngkhbxrrthkhdiihthuktxngodythanxngmiid yxmcabngekidepnkhwamlabakihyaekrachkarsalsthityutithrrm khaphraphuththecaidsnthnapruksadwymxngsiexxpaduskbepntn ehndwyekla wa thungkalcaepncathingrarxiwdngnimiid khwrcatraetriymddaeplngkarorngeriynihlngrxnglngrxyklmklunkbthanxngnicungcathnthwngthi khaphraphuththecacungsngihmxngsiexxpadusrwbrwmkhwamehnthiidekhiyniwedim tketimephimkhxkhwamlngihkracangepnchbbediywknmayun ephuxidnakhunkrabbngkhmthulphrakruna khxphrarachthaneriynphrarachptibti aembrrdakrrmkarrangkdhmaycaaesdngkhwamepnhwngephiyngnn aetxiththiphlkhxngrabbkhxmmxnlxwyngsngphltxpraethsithymak thaihkarichkdhmayithyepnsnepndxntlxdma dngthi sastracarykhnanitisastr mhawithyalythrrmsastr klawwa tlxdewlathiphanmacwbcnkrathngpccubn kyngkhngmipyhainkarthakhwamekhaichlkkdhmaythipraktxyuebuxnghlngtwbth karnahlkkdhmaykhxmmxnlxwmatikhwampramwlkdhmayyngpraktxyuinkhasxnthangtaraaelainaenwkhaphiphaksakhxngsal khwamekhaicthikhladekhluxninhlay eruxngsngphlodytrngihnkkdhmayithyswnhnungichpramwlkdhmayxyangkhadkhwamekhaicthiaethcring inxikmumhnung karrbkdhmaysmyihmcaktawntkaelalaelykhunkhathimixyuinkdhmayithyedim odyechphaakhwamkhidthiwakdhmaykhuxthrrm aelwhnmayudthuxkhwamkhidaebb legal positivism thithuxwa kdhmaykhuxkhasngkhxngphupkkhrxngaephndin yingsngphlodytrngihnkkdhmayklayepnkhnkhbaekhb edintamphumixanac tikhwamtamtwxksr khatxbthixxkmainhlayeruxngcungimsxdkhlxngkbkhwamepncringinsngkhm hnkipkwannkkhux karaeykwakdhmaykbkhwamyutithrrmepnkhnlaeruxngknokhrngsrangpramwlkdhmaywithiphicarnakhwamxayakhxngithy prakxbdwybthbyytithnghmd ecdphakh sibsxnglksna aelayisibexdhmwd dngtxipni phakh 1 khxkhwamebuxngtn lksna 1 hlkthwip lksna 2 xanacphnkngansxbswnaelasal hmwd 1 hlkthwip hmwd 2 xanacsubswnaelasxbswn hmwd 3 xanacsal lksna 3 karfxngkhdixaya aelakhdiaephngthiekiywenuxngkbkhdixaya hmwd 1 karfxngkhdixaya hmwd 2 karfxngkhdiaephngthiekiywenuxngkbkhdixaya lksna 4 hmayeriyk aelahmayxaya hmwd 1 hmayeriyk hmwd 2 hmayxaya swnthi 1 hlkthwip swnthi 2 hmaycb swnthi 3 hmaykhn swnthi 4 hmaykhng hmaycakhuk hmayplxy lksna 5 cb khng cakhuk khn plxychwkhraw hmwd 1 cb khng cakhuk hmwd 2 khn hmwd 3 plxychwkhraw phakh 2 sxbswn lksna 1 hlkthwip lksna 2 karsxbswn hmwd 1 karsxbswnsamy hmwd 2 karchnsutrphliksph phakh 3 withiphicarnainsalchntn lksna 1 fxngkhdixaya aelaitswnmulfxng lksna 2 karphicarna lksna 3 khaphiphaksa aelakhasng phakh 4 xuththrn aeladika lksna 1 xuththrn hmwd 1 hlkthwip hmwd 2 karphicarna khaphiphaksa aelakhasngchnxuththrn lksna 2 dika hmwd 1 hlkthwip hmwd 2 karphicarna khaphiphaksa aelakhasngchndika phakh 5 phyanhlkthan hmwd 1 hlkthwip hmwd 2 phyanbukhkhl hmwd 3 phyanexksar hmwd 4 phyanwtthu hmwd 5 phuechiywchay phakh 6 karbngkhbtamkhaphiphaksa aelakhathrrmeniym hmwd 1 karbngkhbtamkhaphiphaksa hmwd 2 khathrrmeniym phakh 7 xphyoths epliynothshnkepneba aelaldothskaraekikhephimetimnbaeterimmiphlichbngkhbkhrngaerkin ph s 2477 cwbcnthungbdni pramwlkdhmaywithiphicarnakhwamxayaidrbkaraekikhephimetimaelwsamsibsxngkhrng sungkhrnglasudody phrarachbyytiaekikhephimetimpramwlkdhmaywithiphicarnakhwamxaya chbbthi 29 ph s 2551echingxrrthaeswng buyechlimwiphas 2552 204 aeswng buyechlimwiphas 2552 239 240 Japanese Code of Criminal Procedure 2009 Online rachkiccanuebksa 2478 10 mithunayn xxniln smys echuxithy 2551 11 rachkiccanuebksa 2451 1 mithunayn xxniln smys echuxithy 2551 11 12 aeswng buyechlimwiphas 2552 238 239 aeswng buyechlimwiphas 2552 228 229 aeswng buyechlimwiphas 2552 239 phakhwichanitisuksathangsngkhm prchya aelaprawtisastr khnanitisastr mhawithyalythrrmsastr 2523 12 knyayn 37 aeswng buyechlimwiphas 2552 240 241 rachkiccanuebksa 2477 7 minakhm xxniln phrarachbyytiihichpramwlkdhmaywithiphicarnakhwamxaya phuththskrach 2477 matra 3 wrrkhhnung ihichpramwlkdhmaywithiphicarnakhwamxaya tamthitraiwtxthayphrarachbyytini tngaetwnthi 1 tulakhm phuththskrach 2478 epntnip phrarachbyytiihichpramwlkdhmaywithiphicarnakhwamxaya phuththskrach 2477 matra 4 phayitbngkhbaehngbthbyytimatra 3 tngaetwnichpramwlkdhmaywithiphicarnakhwamxayanisubip ihykelikmatra 14 16 aelamatra 87 thung 96 inkdhmaylksnaxaya phrarachbyytiwithiphicarnakhwammiothssahrbichipphlangkxn r s 115 aelabrrdakdhmay kd aelakhxbngkhbxun inswnthimibyytiiwaelwinpramwlkdhmayni hruxsungkhdhruxaeyngkbpramwlkdhmayni aeswng buyechlimwiphas 2552 242 thaninthr krywiechiyr 2517 6 aeswng buyechlimwiphas 2552 243 244 aeswng buyechlimwiphas 2552 244 245 xangxingthaninthr krywiechiyr 2517 xiththiphlkhxngkdhmayxngkvsinrabbkdhmayithy warsarnitisastr khnanitisastr culalngkrnmhawithyaly pithi 11 chbbthi 2 phakhwichanitisuksathangsngkhm prchya aelaprawtisastr khnanitisastr mhawithyalythrrmsastr 2523 12 knyayn bnthukkhasmphasnphrayamanwracheswi plxd wiechiyr n sngkhla exksarinhxngsmudsyyathrrmskdi khnanitisastr mhawithyalythrrmsastr sunythaphracnthr krungethphmhankhr rachkiccanuebksa 2451 1 mithunayn kdhmaylksnaxaya r s 127 xxniln ekhathungidcak lt lingk gt ekhathungemux 8 phvscikayn 2553 2477 7 minakhm prakas tngphusaercrachkaraethnphraxngkh xxniln ekhathungidcak lt lingk 2007 09 30 thi ewyaebkaemchchin gt ekhathungemux 8 phvscikayn 2553 2478 10 mithunayn phrarachbyytiihichpramwlkdhmaywithiphicarnakhwamxaya phuththskrach 2477 xxniln ekhathungidcak lt lingk gt ekhathungemux 8 phvscikayn 2553 rachbnthitysthan 2551 7 kumphaphnth phcnanukrm chbbrachbnthitysthan ph s 2542 xxniln ekhathungidcak lt lingk 2009 03 03 thi ewyaebkaemchchin gt ekhathungemux 8 phvscikayn 2553 m p p sphthbyytirachbnthitysthan xxniln ekhathungidcak lt lingk 2017 07 15 thi ewyaebkaemchchin gt ekhathungemux 8 phvscikayn 2553 smys echuxithy 2551 pramwlkdhmayaephngaelaphanichy chbbicheriyn phimphkhrngthi 5 krungethph wiyyuchn ISBN 9789742886370 sankngankhnakrrmkarkvsdika 2551 11 kumphaphnth pramwlkdhmaywithiphicarnakhwamxaya xxniln ekhathungidcak lt khlik 2010 03 01 thi ewyaebkaemchchin gt ekhathungemux 8 phvscikayn 2553 2552 prawtisastrkdhmayithy phimphkhrngthi 8 krungethph wiyyuchn ISBN 9789742886257 Japanese Code of Criminal Procedure 2009 Online Available lt link 2011 11 13 thi ewyaebkaemchchin gt Accessed 19 January 2011 duephimwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb pramwlkdhmaywithiphicarnakhwamxaya praethsithy pramwlkdhmaywithiphicarnakhwamxaya twbth hxngsmudkdhmaysankngankhnakrrmkarkvsdika 2011 02 03 thi ewyaebkaemchchin okhrngkarkdhmaylxngdu 2010 03 04 thi ewyaebkaemchchin Criminal Procedure Code of Thailand 2016 03 04 thi ewyaebkaemchchin English Official Translation by the Office of Justice Affairs Ministry of Justice of Thailand Current to 2002