นาฏราช (สันสกฤต: नटराज, อักษรโรมัน: Naṭarāja) มีอีกชื่อว่า อาฏลฺวลฺลาน (ทมิฬ: ஆடல்வல்லான், อักษรโรมัน: Ādalvallāṉ) เป็นรูปปั้นพระศิวะในฐานะเทพนักระบำแห่งจักรวาล การระบำของพระองค์มีชื่อเรียกว่า ตาณฑวะ มีการบรรยายถึงท่าระบำและศิลปะในเอกสารทางศาสนาฮินดูหลายแห่ง เช่น , ในภาษาทมิฬ และ Anshumadbhed agama กับ Uttarakamika agama ในภาษาสันสกฤตและครันถะ ระบำมูรติปรากฏในโบสถ์พราหมณ์หลักในลัทธิไศวะทั้งหมด และเป็นสัญลักษณ์ทางประติมากรรมที่รู้จักกันดีในอินเดีย และนิยมใช้เป็นสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรมอินเดีย โดยถือเป็นหนึ่งในภาพที่สวยงามที่สุดใน
ศิวนาฏราช | |
---|---|
เทพแห่งการระบำ | |
รูปปั้นสัมฤทธิ์ของพระศิวะ เทพแห่งการระบำ สมัยราชวงศ์โจฬะในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ปัจจุบันจัดแสดงที่ | |
ชื่ออื่น | Adalvallaan, Koothan, Sabesan, Ambalavanan |
ส่วนเกี่ยวข้อง | พระศิวะ |
สัญลักษณ์ | อัคนี |
คัมภีร์ | Anshumadbhed agama Uttarakamika agama |
รูปประติมากรรมนี้ให้พระศิวะเป็นเทพแห่งการเต้นระบำและนาฏศิลป์ นอกจากนี้ยังมีภาพนูนของนาฏราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หลายแห่ง เช่น นครวัด และในเกาะบาหลี ประเทศกัมพูชา และเอเชียกลาง
ศิวนาฏราชในศิลปะอินเดีย
นาฏราช หรือพระศิวะในฐานะของบรมครูองค์แรกแห่งการร่ายรำ พระหัตถ์ขวาด้านบน ทรงถือกลองรูปร่างคล้ายๆ นาฬิกาทราย (เอวคอด) กลองเล็ก ๆ ใบนี้ให้จังหวะประกอบการฟ้อนรำของพระศิวะ และที่สำคัญไม่แพ้กันก็คือ เสียงกลองเป็นสัญลักษณ์แทนธาตุแรกที่ถือกำเนิดขึ้นในจักรวาล นั่นคือ กลองเป็นสัญลักษณ์แห่งการสร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆ ทั้งมวล
พระหัตถ์ซ้ายด้านบน ถืออัคนี อันเป็นสัญลักษณ์แห่งการทำลายล้าง โดยคำว่า ทำลายล้าง ในที่นี้ หมายถึง ล้างความชั่ว ล้างอวิชชา ให้หมดไป เพื่อเปิดทางการสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ ขึ้นมาใหม่ พระกรและพระหัตถ์คู่ซ้าย-ขวา ซึ่งแทนการสร้างสรรค์และการทำลายล้างนี้ กางออกไปในระดับเสมอกัน อันบ่งบอกถึงความหมายที่ว่า "มีเกิด ก็ย่อมมีดับ" นั่นเอง
พระหัตถ์ขวาด้านล่างแบออก เรียกว่า ปางอภัยมุทรา (abhaya pose) ซึ่งมีความหมายว่า "จงอย่าได้กลัวเลย" (do not fear) เพราะไม่มีภัยใด ๆ จะมากล้ำกลาย ท่านี้บ่งว่าพระศิวะเป็นผู้ปกป้องอีกด้วย
ส่วนพระกรซ้ายด้านล่างพาดขวางลำตัวระดับอก ในลักษณะคล้ายๆ งวงช้าง ซึ่งบางคนตีความว่า เป็นงวงของพระคเณศ เทพเจ้าแห่งความสำเร็จ และเป็นบุตรของพระศิวะอีกต่างหาก ปลายนิ้วของพระกรที่เป็นงวงช้างนี้ชี้ไปที่พระบาทซ้ายที่ยกขึ้น มาจากพื้น ก็ตีความกันว่า พระบาทที่ยกขึ้นมานี้บ่งบอกถึงการหลุดพ้นจากวัฏสงสาร
ส่วนพระบาทขวานั้นเหยียบอยู่บนอสูรมูลาคนี ซึ่งเป็นตัวแทนของอวิชชา เมื่ออวิชชาถูก 'เหยียบ' ไม่ให้โผล่ขึ้นมาบดบังความจริง ความรู้แจ้ง (วิชชา) ก็จะปรากฏขึ้นนั่นเอง
วงกลม ๆ ที่ล้อมพระศิวะอยู่ก็คือ ขอบเขตแห่งการร่ายรำ อันเป็นตัวแทนของจักรวาลทั้งมวล โดยมีขอบด้านนอกเป็นเปลวไฟ และมีขอบด้านในเป็นน้ำในมหาสมุทร พระศิวะในปางนาฏราชนี้ยังแสดงคู่ตรงกันข้ามกันเช่น กลอง = สร้าง vs ไฟ = ทำลาย แม้พระศิวะจะร่ายรำ ขยับมือ ขยับเท้าและแขนขาอย่างต่อเนื่อง แต่พระพักตร์กลับสงบนิ่งเฉย เหมือนไร้ความรู้สึก ซึ่งเป็นเสมือนการสอนว่า การเกิด-ดับของสรรพสิ่งที่เกิดขึ้นอยู่โดยตลอด พระเกศาของพระศิวะยาวสยาย ปลิวสะบัดยื่นออกไปทั้งซ้ายขวา เป็นสัญลักษณ์แทนผู้ละทิ้งชีวิตทางโลก แต่ก็มีพระแม่คงคาและพระจันทร์เสี้ยวอันเป็นสัญลักษณ์แห่งเทพสตรีประดับอยู่ด้วย
ศิวนาฏราชในศิลปขอม
ปราสาทหินในศิลปขอม ทับหน้าของปรางค์ประธานจะแกะสลักเป็นรูปพระศิวนาฏราช หรือ พระอิศวรทรงฟ้อนรำ ซึ่งจัดเป็นประติมากรรมที่สำคัญที่สุดในศาสนาพราหมณ์ลัทธิไศวนิกาย ในศิลปขอมนั้นภาพพระศิวนาฏราชจะเป็นภาพสลักนูนต่ำทั้งสิ้น ไม่เป็นประติมากรรมชนิดลอยตัว ส่วนทับหลังของปราสาทจะเป็นรูปพระนารายณ์บรรทมสินธิ์
ศิวนาฏราชกับศิลปการแสดง
นาฏศิลป์
ภาพการร่ายรำของพระศิวะนับว่ามีบทบาทสำคัญในคติความเชื่อของผู้ที่นับถือศาสนาฮินดู ลัทธิไศวนิกาย ตามตำนานระบุว่าการร่ายรำของพระศิวะเป็นที่เลื่องลือและยกย่องของเหล่าเทพทั้งมวลถึงความสวยงามและน่ายำเกรงในที ในจังหวะลีลาอันเป็นสัญลักษณ์แห่งการเนรมิตสร้างสรรค์
การร่ายรำนี้ภายหลังพระภรตมุนีได้ทราบ จึงขอร้องให้พระคเณศไปกราบบังคมทูลให้พระศิวะซึ่งเป็นพระราชบิดาร่ายรำอีกครั้งเพื่อจะได้จารึกท่าการร่ายรำนี้เป็นบทนาฏยศาสตร์สืบไป พระศิวะท่านจึงได้ร่ายรำให้ชมอีกและได้เรียกเหล่าเทพเทวดาทั้งปวงมาชมพระองค์ร่ายรำอีกครั้ง
บางตำนานกล่าวว่าได้ชมการร่ายรำนี้เมื่อองค์พระอิศวรท่านร่ายรำหลังจากปราบฤๅษีผู้ฝ่าฝืนเทวบัญญ้ติ และปรารถนาจะได้ชมอีก องค์พระนารายณ์ได้ประทานคำแนะนำให้ไปบำเพ็ญตบะที่เชิงเขาไกรลาสเพื่อบูชาองค์พระศิวะ ด้วยอำนาจแห่งการบูชานี้ องค์พระศิวะจึงโปรดประทานพรให้ และถามในสิ่งที่พญาอนันตนาคราชปรารถนา พญานาคราชจึงกราบทูลว่าอยากจะได้เห็นองค์พระศิวะร่ายรำอีกสักครั้ง พระศิวะก็โปรดประทานดังปรารถนา และได้เสด็จลงมาร่ายรำยังมนุษยโลก ซึ่งเชื่อกันว่าสถานที่นั้นคือ วิหาร จิทัมพรัม ในรัฐทมิฬนาฑู ประเทศอินเดีย
ท่าฟ้อนรำทั้ง 108 ท่าขององค์พระศิวะนี้เป็นท่าพื้นฐานสำหรับวิชานาฏยศาสตร์ อันเป็นท่ารำต้นแบบของชาวอินเดีย และแพร่หลายมาถึงเขมร และไทย ผู้รับอิทธิพลด้านวัฒนธรรมของอินเดียสืบต่อมา ผู้ที่นับถือศาสนาฮินดูนั้นเชื่อว่าจังหวะการร่ายรำของพระศิวะอาจบันดาลให้เกิดผลดีและผลร้ายแก่โลกได้ ฉะนั้นจึงจำเป็นที่จะต้องอ้อนวอนให้พระองค์ฟ้อนรำในจังหวะที่พอดี โลกจึงจะร่มเย็นเป็นสุข หากพระองค์โกรธกริ้วด้วยการร่ายรำในจังหวะที่รุนแรงแล้วก็ย่อมจะนำมาซึ่งภัยพิบัติแก่โลกนานัปการ
ดุริยางคศิลป์
กลองในพระหัตถ์ของพระศิวะในปางศิวะนาฏราชนี้ เป็นกลองสองหน้า เอวตรงกลางคอด มีลูกตุ้มยึดกับสายสำหรับใช้กระทบหน้ากลองทั้ง 2 ข้าง กลองนี้เรียกว่ากลอง ทมรุ ซึ่งเป็นเครื่องดนตรีเพียงชิ้นเดียวที่องค์พระศิวะท่านเลือกใช้ประกอบการร่ายรำอันยิ่งใหญ่นี้ ผู้ประกอบพิธีในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ได้นำเอากลองนี้มาใช้ในการประกอบพิธีมงคล และพัฒนามาเป็นเครื่องดนตรีที่เรียกว่า "บัณเฑาะว์" ในปัจจุบัน คำว่าบัณเฑาะว์มาจากคำบาลีว่า "ปณวะ" หรือ "ตาณฑวะ" ในภาษาสันสกฤต
อ้างอิง
- "கூத்தன் சபேசன் அம்பலவாணன் நடராஜன்Sagarva Bharath Foundation". 20 July 2020.
- Rajarajan, R. K. K. (January 2018). "If this is Citambaram-Nataraja, then where is Tillai-Kūttaṉ? An Introspective Reading of Tēvāram Hymns". In Pedarapu Chenna Reddy, ed. History, Culture and Archaeological Studies Recent Trends, Commemoration Volume to Prof. M.L.K. Murthy, Vol. II, Delhi: B.R. Publishing Corporation, Pp. 613-634, PLS. 54.1-6. (ภาษาอังกฤษ).
- Archana Verma (2011). Performance and Culture: Narrative, Image and Enactment in India. Cambridge Scholars Publishing. pp. 19–26. ISBN .
- Encyclopædia Britannica (2015)
- T. A. Gopinatha Rao (1997). Elements of Hindu Iconography. Motilal Banarsidass. pp. 223–224. ISBN .
- Gomathi Narayanan (1986), SHIVA NATARAJA AS A SYMBOL OF PARADOX, Journal of South Asian Literature, Vol. 21, No. 2, pages 208-216
- Anna Libera Dallapiccola (2007). Indian Art in Detail. . p. 28. ISBN .
- David Smith (2003). The Dance of Siva: Religion, Art and Poetry in South India. . pp. 1–2. ISBN .
- Frank Burch Brown (2014). The Oxford Handbook of Religion and Arts. Oxford University Press. pp. 489–490. ISBN .
- Saroj Panthey (1987). Iconography of Śiva in Pahāṛī Paintings. Mittal Publications. pp. 59–60, 88. ISBN .
- Banerjee, P. (1969). "A Siva Icon from Piandjikent". . 31 (1): 73–80. doi:10.2307/3249451. JSTOR 3249451.
- Mahadev Chakravarti (1986). The Concept of Rudra-Śiva Through the Ages. . p. 178 with footnotes. ISBN .
แหล่งข้อมูลอื่น
- Śiva's Dance: Iconography and Dance Practice in South and Southeast Asia, Alessandra Iyer (2000), Music in Art
- , Freer Sackler Gallery, Smithsonian
- Nataraja: India's Cycle of Fire, Stephen Pyne (1994)
- Chidambareswarar Nataraja Temple
- Nataraja Image Archive
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
natrach snskvt नटर ज xksrormn Naṭaraja mixikchuxwa xatl wl lan thmil ஆடல வல ல ன xksrormn Adalvallaṉ epnruppnphrasiwainthanaethphnkrabaaehngckrwal karrabakhxngphraxngkhmichuxeriykwa tanthwa mikarbrryaythungtharabaaelasilpainexksarthangsasnahinduhlayaehng echn inphasathmil aela Anshumadbhed agama kb Uttarakamika agama inphasasnskvtaelakhrntha rabamurtipraktinobsthphrahmnhlkinlththiiswathnghmd aelaepnsylksnthangpratimakrrmthiruckkndiinxinediy aelaniymichepnsylksnthangwthnthrrmxinediy odythuxepnhnunginphaphthiswyngamthisudinsiwnatrachethphaehngkarrabaruppnsmvththikhxngphrasiwa ethphaehngkarraba smyrachwngsoclainkhriststwrrsthi 10 pccubncdaesdngthichuxxunAdalvallaan Koothan Sabesan AmbalavananswnekiywkhxngphrasiwasylksnxkhnikhmphirAnshumadbhed agama Uttarakamika agama ruppratimakrrmniihphrasiwaepnethphaehngkaretnrabaaelanatsilp nxkcakniyngmiphaphnunkhxngnatrachinexechiytawnxxkechiyngithlayaehng echn nkhrwd aelainekaabahli praethskmphucha aelaexechiyklangsiwnatrachinsilpaxinediynatrach hruxphrasiwainthanakhxngbrmkhruxngkhaerkaehngkarrayra phrahtthkhwadanbn thrngthuxklxngruprangkhlay nalikathray exwkhxd klxngelk ibniihcnghwaprakxbkarfxnrakhxngphrasiwa aelathisakhyimaephknkkhux esiyngklxngepnsylksnaethnthatuaerkthithuxkaenidkhuninckrwal nnkhux klxngepnsylksnaehngkarsrangsrrkhsingtang thngmwl phrahtthsaydanbn thuxxkhni xnepnsylksnaehngkarthalaylang odykhawa thalaylang inthini hmaythung langkhwamchw langxwichcha ihhmdip ephuxepidthangkarsrangsrrkhsingtang khunmaihm phrakraelaphrahtthkhusay khwa sungaethnkarsrangsrrkhaelakarthalaylangni kangxxkipinradbesmxkn xnbngbxkthungkhwamhmaythiwa miekid kyxmmidb nnexng phrahtthkhwadanlangaebxxk eriykwa pangxphymuthra abhaya pose sungmikhwamhmaywa cngxyaidklwely do not fear ephraaimmiphyid camaklaklay thanibngwaphrasiwaepnphupkpxngxikdwy swnphrakrsaydanlangphadkhwanglatwradbxk inlksnakhlay ngwngchang sungbangkhntikhwamwa epnngwngkhxngphrakhens ethphecaaehngkhwamsaerc aelaepnbutrkhxngphrasiwaxiktanghak playniwkhxngphrakrthiepnngwngchangnichiipthiphrabathsaythiykkhun macakphun ktikhwamknwa phrabaththiykkhunmanibngbxkthungkarhludphncakwtsngsar swnphrabathkhwannehyiybxyubnxsurmulakhni sungepntwaethnkhxngxwichcha emuxxwichchathuk ehyiyb imihophlkhunmabdbngkhwamcring khwamruaecng wichcha kcapraktkhunnnexng wngklm thilxmphrasiwaxyukkhux khxbekhtaehngkarrayra xnepntwaethnkhxngckrwalthngmwl odymikhxbdannxkepneplwif aelamikhxbdaninepnnainmhasmuthr phrasiwainpangnatrachniyngaesdngkhutrngknkhamknechn klxng srang vs if thalay aemphrasiwacarayra khybmux khybethaaelaaekhnkhaxyangtxenuxng aetphraphktrklbsngbningechy ehmuxnirkhwamrusuk sungepnesmuxnkarsxnwa karekid dbkhxngsrrphsingthiekidkhunxyuodytlxd phraeksakhxngphrasiwayawsyay pliwsabdyunxxkipthngsaykhwa epnsylksnaethnphulathingchiwitthangolk aetkmiphraaemkhngkhaaelaphracnthresiywxnepnsylksnaehngethphstripradbxyudwysiwnatrachinsilpkhxmprasathhininsilpkhxm thbhnakhxngprangkhprathancaaekaslkepnrupphrasiwnatrach hrux phraxiswrthrngfxnra sungcdepnpratimakrrmthisakhythisudinsasnaphrahmnlththiiswnikay insilpkhxmnnphaphphrasiwnatrachcaepnphaphslknuntathngsin imepnpratimakrrmchnidlxytw swnthbhlngkhxngprasathcaepnrupphranaraynbrrthmsinthisiwnatrachkbsilpkaraesdngnatsilp phaphkarrayrakhxngphrasiwanbwamibthbathsakhyinkhtikhwamechuxkhxngphuthinbthuxsasnahindu lththiiswnikay tamtananrabuwakarrayrakhxngphrasiwaepnthieluxngluxaelaykyxngkhxngehlaethphthngmwlthungkhwamswyngamaelanayaekrnginthi incnghwalilaxnepnsylksnaehngkarenrmitsrangsrrkh karrayraniphayhlngphraphrtmuniidthrab cungkhxrxngihphrakhensipkrabbngkhmthulihphrasiwasungepnphrarachbidarayraxikkhrngephuxcaidcarukthakarrayraniepnbthnatysastrsubip phrasiwathancungidrayraihchmxikaelaideriykehlaethphethwdathngpwngmachmphraxngkhrayraxikkhrng bangtananklawwaidchmkarrayraniemuxxngkhphraxiswrthanrayrahlngcakprabvisiphufafunethwbyyti aelaprarthnacaidchmxik xngkhphranaraynidprathankhaaenanaihipbaephytbathiechingekhaikrlasephuxbuchaxngkhphrasiwa dwyxanacaehngkarbuchani xngkhphrasiwacungoprdprathanphrih aelathaminsingthiphyaxnntnakhrachprarthna phyanakhrachcungkrabthulwaxyakcaidehnxngkhphrasiwarayraxikskkhrng phrasiwakoprdprathandngprarthna aelaidesdclngmarayrayngmnusyolk sungechuxknwasthanthinnkhux wihar cithmphrm inrththmilnathu praethsxinediy thafxnrathng 108 thakhxngxngkhphrasiwaniepnthaphunthansahrbwichanatysastr xnepntharatnaebbkhxngchawxinediy aelaaephrhlaymathungekhmr aelaithy phurbxiththiphldanwthnthrrmkhxngxinediysubtxma phuthinbthuxsasnahindunnechuxwacnghwakarrayrakhxngphrasiwaxacbndalihekidphldiaelaphlrayaekolkid channcungcaepnthicatxngxxnwxnihphraxngkhfxnraincnghwathiphxdi olkcungcarmeynepnsukh hakphraxngkhokrthkriwdwykarrayraincnghwathirunaerngaelwkyxmcanamasungphyphibtiaekolknanpkar duriyangkhsilp klxnginphrahtthkhxngphrasiwainpangsiwanatrachni epnklxngsxnghna exwtrngklangkhxd miluktumyudkbsaysahrbichkrathbhnaklxngthng 2 khang klxngnieriykwaklxng thmru sungepnekhruxngdntriephiyngchinediywthixngkhphrasiwathaneluxkichprakxbkarrayraxnyingihyni phuprakxbphithiinsasnaphrahmn hindu idnaexaklxngnimaichinkarprakxbphithimngkhl aelaphthnamaepnekhruxngdntrithieriykwa bnethaaw inpccubn khawabnethaawmacakkhabaliwa pnwa hrux tanthwa inphasasnskvtxangxing க த தன சப சன அம பலவ ணன நடர ஜன Sagarva Bharath Foundation 20 July 2020 Rajarajan R K K January 2018 If this is Citambaram Nataraja then where is Tillai Kuttaṉ An Introspective Reading of Tevaram Hymns In Pedarapu Chenna Reddy ed History Culture and Archaeological Studies Recent Trends Commemoration Volume to Prof M L K Murthy Vol II Delhi B R Publishing Corporation Pp 613 634 PLS 54 1 6 phasaxngkvs Archana Verma 2011 Performance and Culture Narrative Image and Enactment in India Cambridge Scholars Publishing pp 19 26 ISBN 978 1 4438 2832 1 Encyclopaedia Britannica 2015 T A Gopinatha Rao 1997 Elements of Hindu Iconography Motilal Banarsidass pp 223 224 ISBN 978 81 208 0877 5 Gomathi Narayanan 1986 SHIVA NATARAJA AS A SYMBOL OF PARADOX Journal of South Asian Literature Vol 21 No 2 pages 208 216 Anna Libera Dallapiccola 2007 Indian Art in Detail p 28 ISBN 978 0 674 02691 9 David Smith 2003 The Dance of Siva Religion Art and Poetry in South India pp 1 2 ISBN 978 0 521 52865 8 Frank Burch Brown 2014 The Oxford Handbook of Religion and Arts Oxford University Press pp 489 490 ISBN 978 0 19 517667 4 Saroj Panthey 1987 Iconography of Siva in Pahaṛi Paintings Mittal Publications pp 59 60 88 ISBN 978 81 7099 016 1 Banerjee P 1969 A Siva Icon from Piandjikent 31 1 73 80 doi 10 2307 3249451 JSTOR 3249451 Mahadev Chakravarti 1986 The Concept of Rudra Siva Through the Ages p 178 with footnotes ISBN 978 81 208 0053 3 aehlngkhxmulxunnatrach thiokhrngkarphinxngkhxngwikiphiediy phaphaelasuxcakkhxmmxnskhxmulcakwikisneths Siva s Dance Iconography and Dance Practice in South and Southeast Asia Alessandra Iyer 2000 Music in Art Freer Sackler Gallery Smithsonian Nataraja India s Cycle of Fire Stephen Pyne 1994 Chidambareswarar Nataraja Temple Nataraja Image Archive bthkhwamsasnaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk