บทความนี้ไม่มีจาก |
นาฏศิลป์ไทย เป็นศิลปะการแสดงประกอบดนตรีของไทย เช่น ฟ้อน รำ ระบำ โขน แต่ละท้องถิ่นจะมีชื่อเรียกและมีลีลาท่าการแสดงที่แตกต่างกันไป สาเหตุหลักมาจากภูมิประเทศ ภูมิอากาศของแต่ละท้องถิ่น ความเชื่อ ศาสนา ภาษา นิสัยใจคอของผู้คน ชีวิตความเป็นอยู่ของแต่ละภาค
เป็นศิลปะการรำ และการละเล่น หรือที่นิยมเรียกกันทั่วไปว่า “ฟ้อน” การฟ้อนเป็นวัฒนธรรมของชาวล้านนา และกลุ่มชนเผ่าต่าง ๆ เช่น ชาวไต ชาวลื้อ ชาวยอง ชาวเขิน เป็นต้น ลักษณะของการฟ้อน แบ่งเป็น 2 แบบ คือ แบบดั้งเดิม และแบบที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ แต่ยังคงมีการรักษาเอกลักษณ์ทางการแสดงไว้คือ มีลีลาท่ารำที่แช่มช้า อ่อนช้อยมีการแต่งกายตามวัฒนธรรมท้องถิ่นที่สวยงามประกอบกับการบรรเลงและขับร้องด้วยวงดนตรีพื้นบ้าน เช่น วงสะล้อ ซอ ซึง วงปูเจ่ วงกลองแอว เป็นต้น โอกาสที่แสดงมักเล่นกันในงานประเพณีหรือต้อนรับแขกบ้านแขกเมือง
ประวัติศาสตร์นาฏศิลป์ไทย
นาฏศิลป์ไทยเป็นการเล่นเครื่องดนตรีหลาย ๆ ชนิดการละครฟ้อนรำและดนตรีอันมีคุณสมบัติตามคัมภีร์นาฏะหรือนาฏยะกำหนดว่า ต้องประกอบไปด้วย 3 ประการ คือ การฟ้อนรำ การดนตรี และการขับร้อง รวมเข้าด้วยกัน ซึ่งทั้ง 3 สิ่งนี้ เป็นอุปนิสัยของคนมาแต่ดึกดำบรรพ์ นาฏศิลป์ไทยมีที่มาและเกิดจากสาเหตุแนวคิดต่าง ๆ เช่น เกิดจากความรู้สึกกระทบกระเทือนทางอารมณ์ไม่ว่าจะอารมณ์แห่งสุข หรือความทุกข์และสะท้อนออกมาเป็นท่าทางแบบธรรมชาติและประดิษฐ์ขึ้นมาเป็นท่าทางลีลาการฟ้อนรำ หรือเกิดจากลัทธิความเชื่อในการนับถือสิ่งศักดิ์สิทธ์ เทพเจ้า โดยแสดงความเคารพบูชาด้วยการเต้นรำ ขับร้องฟ้อนรำให้เกิดความพึงพอใจ เป็นต้น นาฏศิลป์ไทยยังได้รับอิทธิพลแบบแผนตามแนวคิดจากต่างชาติเข้ามาผสมผสานด้วย เช่น วัฒนธรรมอินเดียเกี่ยวกับวรรณกรรมที่เป็นเรื่องของเทพเจ้าและตำนานการฟ้อนรำโดยผ่านเข้าสู่ประเทศไทยทั้งทางตรงและทางอ้อมคือผ่านชนชาติชวาและเขมร ก่อนที่จะนำมาปรับปรุงให้เป็นรูปแบบตามเอกลักษณ์ของไทย เช่น ตัวอย่างของเทวรูปศิวะปางนาฏราชที่สร้างเป็นท่าการร่ายรำของพระอิศวร ซึ่งมีทั้งหมด 108 ท่า หรือ 108 กรณะ โดยทรงฟ้อนรำครั้งแรกในโลก ณ ตำบลจิทรัมพรัม เมืองมัทราส อินเดียใต้ ปัจจุบันอยู่ในรัฐทมิฬนาดูนับเป็นคัมภีร์สำหรับการฟ้อนรำ แต่งโดยพระภรตมุนี เรียกว่า"คัมภีร์ภรตนาฏยศาสตร์" ถือเป็นอิทธิพลสำคัญต่อแบบแผนการสืบสานและถ่ายทอดนาฏศิลป์ของไทยจนเกิดขึ้นเป็นเอกลักษณ์ของตนเองที่มีรูปแบบ แบบแผนการเรียน การฝึกหัด จารีต ขนบธรรมเนียมมาจนถึงปัจจุบัน บรรดาผู้เชี่ยวชาญที่ศึกษาทางด้านนาฏศิลป์ไทยได้สันนิษฐานว่า อารยธรรมทางศิลปะด้านนาฏศิลป์ของอินเดียนี้ได้เผยแพร่เข้ามาสู่ประเทศไทยตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ตามประวัติการสร้างเทวาลัยศิวะนาฏราชที่สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 1800 ซึ่งเป็นระยะที่ไทยเริ่มก่อตั้งกรุงสุโขทัย ดังนั้นท่ารำไทยที่ดัดแปลงมาจากอินเดียในครั้งแรกจึงเป็นความคิดของนักปราชญ์ในสมัยกรุงศรีอยุธยา และมีการแก้ไขปรับปรุงหรือประดิษฐ์ขึ้นใหม่ในกรุงรัตนโกสินทร์ จนนำมาสู่การประดิษฐ์ท่าร่ายรำและละครไทยมาจนถึงปัจจุบัน
บันทึกในสมัยอยุธยา
ในสมัยอยุธยามีหลักฐานปรากฏในรัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชว่า มีการให้จัดแสดงโขน และการแสดงประเภทอื่นขึ้นในพระราชวังหลวงของกรุงศรีอยุธยา ในลักษณะที่กล่าวได้ว่าเกือบจะเหมือนกับรูปแบบของนาฏศิลป์ไทยที่ปรากฏอยู่ในประเทศไทยในปัจจุบัน และที่แพร่หลายไปยังประเทศเพื่อนบ้าน โดยในระหว่างที่ราชอาณาจักรอยุธยายังมีสัมพันธ์ทางการทูตโดยตรงกับฝรั่งเศส ราชทูตฝรั่งเศส ชื่อ ซีมง เดอ ลาลูแบร์ ได้เข้ามายังประเทศสยาม ในปี ค.ศ. 1687 และพำนักอยู่ในกรุงศรีอยุธยาเป็นเวลา 3 เดือน เพื่อให้จดบันทึกทุกอย่างเกี่ยวกับประเทศสยาม ตั้งแต่การปกครอง ภาษา ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณี โดย ลาลูแบร์ ได้มีโอกาสได้สังเกตการแสดงนาฏศิลป์ประเภทต่าง ๆ ในราชสำนักไทย และจดบันทึกไว้โดยละเอียดดังนี้:
"ชาวสยามมีศิลปะการเวทีอยู่สามประเภท: ประเภทที่เรียกว่า"โขน"นั้น เป็นการร่ายรำเข้า ๆ ออก ๆ หลายคำรบ ตามจังหวะซอและเครื่องดนตรีอย่างอื่นอีก ผู้แสดงนั้นสวมหน้ากาก และถืออาวุธ แสดงบทหนักไปในทางสู้รบกันมากกว่าจะเป็นการร่ายรำ และมาตรว่าการแสดงส่วนใหญ่จะหนักไปในทางโลดเต้นเผ่นโผนโจนทะยาน และวางท่าอย่างเกินสมควรแล้ว นาน ๆ ก็จะหยุดเจรจาออกมาสักคำสองคำ หน้ากาก (หัวโขน) ส่วนใหญ่นั้นน่าเกลียด เป็นหน้าสัตว์ที่มีรูปพรรณวิตถาร หรือไม่เป็นหน้าอสูรปีศาจ" ส่วนการแสดงประเภทที่เรียกว่า "ละคร" นั้นเป็นบทกวีที่ผสมผสานกัน ระหว่างมหากาพย์ และบทละครพูด ซึ่งแสดงกันยืดยาวไปสามวันเต็ม ๆ ตั้งแต่ ๘ โมงเช้า จนถึง ๑ ทุ่ม ละครเหล่านี้เป็น ประวัติศาสตร์ที่ร้อยเรียงเป็นบทกลอนที่เคร่งครึม และขับร้องโดยผู้แสดงหลายคนที่อยู่ในฉากพร้อม ๆ กัน และเพียงแต่ร้องโต้ตอบกันเท่านั้น โดยมีคนหนึ่งขับร้องในส่วนเนื้อเรื่อง ส่วนที่เหลือจะกล่าวบทพูด แต่ทั้งหมดที่ขับร้องล้วนเป็นผู้ชาย ไม่มีผู้หญิงเลย ... ส่วน "ระบำ" นั้นเป็นการรำคู่ของหญิงชาย ซึ่งแสดงออกอย่างอาจหาญ ... นักเต้นทั้งหญิงและชายจะสวมเล็บปลอมซึ่งยาวมาก และทำจากทองแดง นักแสดงจะขับร้องไปด้วยรำไปด้วย พวกเขาสามารถรำได้โดยไม่เข้าพัวพันกัน เพราะลักษณะการเต้นเป็นการเดินไปรอบ ๆ อย่างช้า ๆ โดยไม่มีการเคลื่อนไหวที่รวดเร็ว แต่เต็มไปด้วยการบิดและดัดลำตัว และท่อนแขน"
ในส่วนที่เกี่ยวกับการแต่งกายของนักแสดงโขน ลา ลูแบร์ ได้บันทึกไว้ว่า:
"นักเต้นใน "ระบำ" และ "โขน" จะสวมชฎาปลายแหลมทำด้วยกระดาษมีลวดลายสีทอง ซึ่งดูคล้าย ๆ หมวกของพวกข้าราชการสยามที่ใส่ในงานพิธี แต่จะหุ้มตลอดศีรษะด้านข้างไปจนถึงใต้หู และตกแต่งด้วยหินอัญมณีเลียนแบบ และมีห้อยพู่สองข้างเป็นไม้ทาสีทอง"
อิทธิพลต่อประเทศในอุษาคเนย์
นาฏศิลป์ และการละครของสยาม ที่ถูกพัฒนาขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยา มีความสมบูรณ์แบบสูง และมีอิทธิพลต่อศิลปวัฒนธรรมอาณาจักรข้างเคียงมาก ดังที่ กัปตันเจมส์ โลว์ นักวิชาการอังกฤษผู้เชี่ยวชาญด้านวัฒนธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้บันทึกไว้ในช่วงต้นรัตนโกสินทร์:
"พวกชาวสยามได้พัฒนาศิลปะการแสดงละครของตนจนเข้าถึงความสมบูรณ์แบบในระดับสูง -- และในแง่นี้ศิลปะของสยามจึงเผยแพร่ไปในประเทศเพื่อนบ้าน ทั้งในพม่า ลาว และกัมพูชา ซึ่งล้วนแต่เสาะหานักรำละครของสยามทั้งสิ้น"
ประเภทของนาฏศิลป์ไทย
นาฏศิลป์ไทย แบ่งออกเป็น 4 ประเภท
1.รำ คือการแสดงที่มุ่งเน้นถึงศิลปะท่วงท่า ดนตรี ไม่มีการแสดงเป็นเรื่องราว รำบางชุดเป็นการชมความงาม บางชุดตัดตอนมาจากวรรณคดี หรือบางทีก็ไม่จำเป็นที่จะต้องมีเนื้อเพลงเช่นการรำหน้าพาทย์เป็นต้น รำจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภทดังนี้
1.รำหน้าพาทย์ คือการรำประกอบเพลงหน้าพาทย์ เพลงหน้าพาทย์คือเพลงที่บรรเลงโดยไม่มีคำร้อง ใช้ในการเบิกโรง ประกอบอาอัปกิริยาต่างๆของตัวละคร โดยเพลงหน้าพาทย์จะมีท่ารำเฉพาะของแต่ละเพลง
2.รำบท คือการรำโดยใช้หลักนาฏศิลป์ แสดงออกตามบทร้อง หรือบทละคร แบ่งออกเป็น 4 ประเภทดังนี้
2.1 รำเดี่ยว เป็นการแสดงที่มุ่งอวดศิลปะทางนาฏศิลป์อย่างแท้จริงชึ่งผู้รำจะต้อมมีผีมือดีเยี่ยม เพราะเป็นการแสดงที่แสดงแต่เพียงผู้เดียว รำเดี่ยวโดยส่วนมากก็จะเป็นการรำฉุยฉายต่าง ๆ เช่น ฉุยฉายเบญจกาย ฉุยฉายวันทอง ฯลฯ เป็นต้น
2.2 รำคู่ การแสดงชุดนี้ไม่จำเป็นจะต้องพร้อมเพียงกันแต่อาจมีท่าที่เหมือนก็ได้ เพราะการรำคู่นี้เป็นการใช้ลีลาที่แตกต่างกันระหว่างผู้แสดงสองคน เช่นตัวพระ กับตัวนาง หรือบทบาทของตัวแสดงนั้น รำคู่นี้ก็จะแบ่งออกเป็นสองประเภท คือ 2.2.1 รำคู่สวยงามจากวรรณคดี เช่น หนุมานจับนาสุพรรณมัจฉา เป็นต้น 2.2.2 รำมุ่งอวดการใช้อุปกรณ์ เช่น การรำอาวุธ รำกระบี่กระบอง
2.3 รำหมู่ รำชุดนี้เป็นการรำที่เน้นความพร้อมเพรียง เช่นรำอวยพรชุดต่าง ๆ
2.4 รำละคร คือการรำที่ใช้ในการแสดงละครหรือโขน เป็นการแสดงท่าท่างสื่อความหมายไปกับบทร้อง หรือบทละคร และเพลงหน้าพาทย์ต่าง ๆ ในการแสดงละคร
2.ระบำ คือการแสดงที่มีความหมายในตัวใช้ผู้แสดงสองคนขึ้นไป คือผู้คิดได้มีวิสัยทัศน์และต้องการสื่อการแสดงชุดนั้นผ่านทางบทร้อง เพลง หรือการแต่งกายแบบ ที่มาจากแรงบันดาลใจ จากเรื่องต่าง ๆ เช่นวิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี และเป็นการแสดงที่จบในชุด ๆ เดียว เป็นต้น ระบำ จะแบ่งออกเป็นสองประเภทคือ
2.1 ระบำมาตรฐาน เป็นระบำที่บรมครูทางนาฏศิลป์ได้คิดค้นไว้ ทั้งเรื่องเพลง บทร้อง การแต่งกาย ท่ารำ ซึ่งไม่สามารถที่จะเปลี่ยนแปลงได้ ระบำมาตรฐานจะมีอยู่ทั้งหมด 6ชุด คือ ระบำสี่บท ระบำย่องหงิดหรือยู่หงิด ระบำพรหมมาตร ระบำดาวดึงส์ ระบำกฤษดา ระบำเทพบันเทิง
2.2 ระบำที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ เป็นระบำที่บรมครูหรือผู้รู้ทางนาฏศิลป์ได้คิดค้นและปรับปรุงชึ้นมาใหม่ ชึ่งสามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลงได้ตามโอกาส อาจเป็นระบำที่ได้แรงบัลดาลใจที่ผู้ประดิษฐ์ต้องการสื่ออาจเป็นเรื่องของการแต่งกาย วิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี ระบำปรับปรุงมีอยู่หลากหลายเช่น ระบำชุมนุมเผ่าไทย ระบำไกรราศสำเริง ระบำไก่ ระบำสุโขทัย ฯลฯ เป็นต้น
ฟ้อน และ เซิ้ง ก็จัดว่าเป็นระบำที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ เพราะผู้รู้หรือผู้เชี่ยวชาญทางนาฏศิลป์ได้คิดค้นขึ้นมา มีการแต่งการตามท้องถิ่นเพราะการแสดงแต่ละชุดได้เกิดขึ้นมาจากแรงบัลดาลใจของผู้คิดที่จะถ่ายทอดไม่ว่าจะเป็นเรื่องของวิถีชีวิต การแต่งกาย ดนตรี เพลง และการเรียกชื่อการแสดงนั้น จะเรียกตาม ภาษาท้องถิ่น และการแต่งกายก็แต่งกายตามท้องถิ่น เช่นภาคเหนือก็จะเรียกว่าฟ้อน เช่นฟ้อนเล็บ ฟ้อนเทียน ภาคอิสานก็จะเรียกและแต่งกายตามท้องถิ่น ทางภาคอิสานเช่น เซิ้งกะติ๊บข้าว เซิ้งสวิง เป็นต้น การแสดงต่าง ๆ ล้วนแล้วแต่เกิดขึ้นมาจากท้องถิ่นและแต่งกายตามท้องถิ่นไม่ได้มีหลักหรือ เกณฑ์ที่ใช้กันโดยทั่วไปในวงการนาฏศิลป์ไทยทั่วประเทศสามารถปรับปรุงหรื่อเปลี่ยนแปลงได้ตามโอกาสที่แสดง จึงถือว่า การฟ้อนและการเซิ้งเป็นระบำที่ปรับปรุงขึ้นใหม่
3. ละคร คือการแสดงเรื่องราวโดยมีตัวละครต่างดำเนินเรื่องมีผูกเหตุหรือการผูกปมของเรื่อง ละครอาจประกอบไปด้วยศิลปะหลายแขนงเช่น การรำ ร้อง หรือดนตรี ละครจะแบ่งออกเป็นสองประเภทได้แก่ 3.1 ละครแบบดั้งเดิม มีอยู่สามประเภท คือ โนห์ราชาตรี ละครนอก ละครใน 3.2 ละครที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ มีอยู่หกประเภท ละครดึกดำบรรพ์ ละครพันทาง ละครเสภา ละครพูด ละครร้อง ละครสังคีต
4.มหรสพ' คือการแสดงรื่นเริง หรือการแสดงที่ใช้ในงานพิธีต่าง ๆ มีรูปแบบและวิธีการแสดงที่เป็นแบบแผน เช่น การแสดงโขน หนังใหญ่เป็นต้น
ดนตรีและเพลงประกอบการแสดงนาฏศิลป์
ดนตรี เพลง และการขับร้องเพลงไทยสำหรับประกอบการแสดง สามารถแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดงนาฏศิลป์ไทย และเพลงสำหรับประกอบการแสดงนาฏศิลป์ไทย
ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดงนาฏศิลป์ไทย
ประกอบด้วย
ดนตรีประกอบการแสดงโขน – ละคร
วงดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดงโขนและละครของไทยคือ วงปี่พาทย์ ซึ่งมีขนาดของวงเป็นแบบวงประเภทใดนั้นขึ้นอยู่กับลักษณะของการแสดงนั้น ๆ ด้วย เช่น การแสดงโขนนั่งราวใช้วงปี่พาทย์เครื่องห้า 2 วง การแสดงละครในอาจใช้วงปี่พาทย์เครื่องคู่ หรือการแสดงดึกดำบรรพ์ต้องใช้วงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์เป็นต้น
ดนตรีประกอบการแสดงรำและระบำมาตรฐาน
การแสดงรำและระบำที่เป็นชุดการแสดงที่เรียกว่า รำมาตรฐานและระบำมาตรฐานนั้น เครื่องดนตรีทีใช้ประกอบการแสดงอาจมีการนำเครื่องดนตรีบางชนิดเข้ามาประกอบการแสดง จะใช้วงปี่พาทย์บรรเลง เช่น ระบำกฤดาภินิหาร อาจนำเครื่องดนตรี ขิมหรือซอด้วง ม้าล่อ กลองต๊อก และกลองแด๋ว มาบรรเลงในช่วงท้ายของการรำที่เป็นเพลงเชิดจีนก็ได้
ดนตรีประกอบการแสดงพื้นเมือง
ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดงพื้นเมืองภาคต่าง ๆ ของไทยจะเป็นวงดนตรีพื้นบ้าน ซึ่งนับเป็นเอกลักษณ์ที่มีคุณค่าของแต่ละภูมิภาค ได้แก่
ดนตรีพื้นบ้านภาคเหนือ
มีเครื่องดนตรี เช่น พิณเปี๊ยะ ซึง สะล้อ ปี่แน ปี่กลาง ปี่ก้อย ปี่ตัด ปี่เล็ก ป้าดไม้ (ระนาดไม้) ป้าดเหล็ก (ระนาดเหล็ก) ป้าดฆ้อง (ฆ้องวงใหญ่) ฆ้องหุ่ย ฆ้องเหม่ง กลองหลวง กลองแอว กลองปู่เจ่ กลองปูจา กลองสะบัดไชย กลองเซิง กลองเต่งทิ้ง กลองม่าน และกลองตะโล้ดโป้ด เมื่อนำมารวมเป็นวง จะได้วงต่าง ๆ คือ วงสะล้อ ซอ ซึง วงปู่จา วงกลองแอว วงกลองม่าน วงปี่จุม วงเติ่งทิ้ง วงกลองปูจาและวงกลองสะบัดไชย
ดนตรีพื้นเมืองภาคกลาง
เป็นเครื่องดนตรีประเภทเดียวกับวงดนตรีหลักของไทยคือ วงปี่พาทย์และเครื่องสาย ซึ่งลักษณะในการนำมาใช้อำนาจนำมาเป็นบางส่วนหรือบางประเภท เช่น กลองตะโพนและเครื่องประกอบจังหวะนำมาใช้ในการเล่นเพลงอีแซว เพลงเกี่ยวข้าว กลองรำมะนาใช้เล่นเพลงลำตัด กลองยาวใช้เล่นรำเถิดเทิง กลองโทนใช้เล่นรำวงและรำโทน ส่วนเครื่องเดินทำนองก็นิยมใช้ระนาด ซอหรือปี่ เป็นต้น
ดนตรีพื้นเมืองภาคอีสาน
มีเครื่องดนตรีสำคัญ ได้แก่ พิณ อาจเรียกต่างกันไปตามท้องถิ่น เช่น ซุง หมากจับปี่ หมากตับแต่งและหมากต๊ดโต่ง ซอ โปงลาง แคน โหวด กลองยาวอีสาน กลองกันตรึม ซอกันตรึม ซอด้วง ซอตรัวเอก ปี่อ้อ ปราเตรียง ปี่สไล เมื่อนำมาประสมวงแล้วจะได้วงดนตรีพื้นเมือง คือ วงโปงลาง วงแคน วงมโหรีอีสานใต้ วงทุ่มโหม่ง และวงเจรียงเมริน
ดนตรีพื้นเมืองภาคใต้
มีเครื่องดนตรีที่สำคัญ ได้แก่ กลองโนรา กลองชาตรีหรือกลองตุ๊ก กลองโพน กลองปืด โทน กลองทับ รำมะนา โหม่ง ฆ้องคู่ ปี่กาหลอ ปี่ไหน กรับพวงภาคใต้ แกระ และนำเครื่องดนตรีสากลเข้ามาผสม ได้แก่ ไวโอลิน กีต้าร์ เบนโจ อัคคอร์เดียน ลูกแซ็ก ส่วนการประสมวงนั้น เป็นการประสมวงตามประเภทของการแสดงแต่ละชนิด
เพลงไทยสำหรับประกอบการแสดงนาฏศิลป์ไทย
เพลงไทยประกอบการแสดงโขน ละคร รำ และระบำมาตรฐาน
เพลงไทยที่ใช้บรรเลงและขับร้องประกอบการแสดงนาฏศิลป์ไทย โขน ละคร รำและระบำมาตรฐานนั้นแบ่งได้เป็น 2 ประเภทดังนี้
เพลงหน้าพาทย์
โดยหลักใหญ่ ๆ เพลงหน้าพาทย์แบ่งออกเป็นสองอย่างด้วยกันคือ เพลงหน้าพาทย์ใช้บรรเลงอย่างหนึ่ง และเพลงหน้าพาทย์ใช้ประกอบกิริยาอาการของตัวโขนละครตามบทอีกอย่างหนึ่ง ปี่พาทย์ที่ไม่ได้ประกอบการแสดงจะมีอิสระในการบรรเลงไม่กำหนดเวลาที่แน่นอนอยู่ที่ผู้บรรเลงเป็นส่วนใหญ่ ปี่พาทย์ที่ประกอบการแสดงนั้นผู้บรรเลงจะต้องยึดผู้แสดงเป็นหลักโดยใช้จังหวะที่แน่นอนท่วงทำนองเพลงต้องให้สอดคล้องกับผู้แสดงจึงจะเกิดความสมดุลกัน และเกิดสุนทรีย์รสมากขึ้น
เพลงขับร้องรับส่ง
คือเพลงไทยทีนำมาบรรจุไว้ในบทโขน – ละคร อาจนำมาจากเพลงตับ เถา หรือเพลงเกร็ด เพื่อบรรเลงขับร้องประกอบการรำบทหรือใช้บทของตัวโขน ละครหรือเป็นบทขับร้องในเพลงสำหรับการรำแลระบำ เช่น เพลงช้าปี่ เพลงขึ้นพลับพลา เพลงนกกระจอกทอง เพลงลมพัดชายเขา เพลงเวสสุกรรม เพลงแขกตะเขิ่ง เพลงแขกเจ้าเซ็น เป็นต้น
เพลงไทยประกอบการแสดงพื้นเมือง เพลงไทยที่ใช้ประกอบการแสดงนาฏศิลป์พื้นเมือง
เป็นบทเพลงพื้นบ้านที่ใช้บรรเลงและขับร้องประกอบการแสดงนาฏศิลป์พื้นเมือง โดยแบ่งออกตามภูมิภาคดังนี้
เพลงบรรเลงและขับร้องประกอบนาฏศิลป์พื้นเมืองภาคเหนือ
เพลงประกอบการฟ้อนเล็บได้แก่ เพลงแหย่งหลวง ฟ้อนเทียน ได้แก่ เพลงลาวเสี่ยงเทียน ฟ้อนสาวไหม ได้แก่ เพลงปราสาทไหวและสาวสมเด็จ ระบำซอ ได้แก่ ทำนองซอยิ๊และซอจ๊อยเชียงแสน บรเลง เพลงลาวจ้อย ต้อยตลิ่งและลาวกระแซ เป็นต้น
เพลงบรรเลงและขับร้องประกอบนาฏศิลป์พื้นเมืองภาคกลาง
เพลงประกอบการเต้นรำกำเคียว ได้แก่ เพลงระบำชาวนา เป็นต้น
เพลงบรรเลงและขับร้องประกอบนาฏศิลป์พื้นเมืองภาคอีสาน
เพลงประกอบการแสดงเซิ้งโปงลาง บรรเลงเพลงลายโปงลาง เซิ้งภูไทย บรรเลงลายลำภูไทย เป็นต้น
เพลงบรรเลงและขับร้องประกอบนาฏศิลป์พื้นเมืองภาคใต้
เพลงประกอบการแสดงลิเกป่า นิยมใช้เพลงตะลุ่มโปง เพลงสร้อยสน เพลงดอกดิน การแสดงชุดรองเง็งบรรเลงเพลงลาฆูดูวอ เพลงมะอีนังลามา เพลงลานัง เพลงปูโจ๊ะปิชัง เป็นต้น
การแต่งกายนาฏศิลป์ไทย
การแสดงนาฏศิลป์ไทยทั้งโขนและละครนั้นได้จำแนกผู้แสดงออกเป็น 4 ประเภทตามลักษณะของบทบาทและการฝึกหัดคือ ตัวพระ ตัวนาง ตัวยักษ์และตัวลิง ซึ่งในแต่ละตัวละครนั้น นอกจากบุคลิกลักษณะที่ถ่ายทอดออกมาให้ผู้ชมทราบจากการแสดงแล้ว เครื่องแต่งการของผู้แสดงก็ยังเป็นสัญลักษณ์ที่สำคัญอย่างหนึ่งที่บ่งบอกว่า ผู้นั้นรับบทบาทแสดงเป็นตัวใด
เครื่องแต่งการนาฏศิลป์ไทยมีความงดงามและกรรมวิธีการประดิษฐ์ที่วิจิตรบรรจงเป็นอย่างยิ่ง ทั้งนี้เพราะที่มาของเครื่องแต่งกายนาฏศิลป์ไทยนั้น จำลองแบบมาจากเครื่องทรงของพระมหากษัตริย์ (เครื่องต้น) แล้วนำมาพัฒนาให้เหมาะสมต่อการแสดง ซึ่งจำแนกออกเป็น 4 ฝ่าย ดังนี้
เครื่องแต่งตัวพระ
คือ เครื่องแต่งกายของตัวพระมีลักษณะคล้ายเทพมีวิชา
เครื่องแต่งตัวนาง
คือ เครื่องแต่งกายของผู้แสดงหรือผู้รำที่แสดงเป็นหญิง สำหรับเครื่องแต่งตัวพระและนางนี้ จะใช้แต่งกายสำหรับผู้ระบำมาตรฐาน เช่น ระบำสี่บท ระบำพรหมาสตร์และระบำกฤดาภินิหาร เป็นต้น และยังใช้แต่งกายสำหรับตัวละครในการแสดงละครนอกและละครในด้วย ส่วนในระบำเบ็ดเตล็ด เช่น ระบำนพรัตน์ ระบำตรีลีลา ระบำไตรภาคี ระบำไกรลาสสำเริง ระบำโบราณคดีชุดต่าง ๆ หรือระบำสัตว์ต่าง ๆ จะใช้เครื่องแต่งกายตามความเหมาะสมกับการแสดงนั้น ๆ เช่น นุ่งโจงกระเบน ห่มผ้าสไบ และสวมชุดไทยต่าง ๆ เป็นต้น ตลอดจนยังมีการแสดงหรือการฟ้อนรำแบบพื้นเมืองของท้องถิ่นต่าง ๆ ซึ่งจะมีการแต่งกายที่แตกต่างกันไปตามแต่ละท้องถิ่น
เครื่องแต่งตัวยักษ์ (ทศกัณฐ์)
คือ เครื่องแต่งกายของผู้แสดงเป็นตัวยักษ์ เป็นเครื่องยักษ์
เครื่องแต่งตัวลิง
คือ เครื่องแต่งกายของผู้แสดงเป็นตัวลิง
นาฏศิลป์กับบทบาททางสังคม
นาฏศิลป์เป็นศิลปะแขนงหนึ่งที่สร้างสรรค์สุนทรียะด้านจิตใจและอารมณ์ให้กับคนในสังคมและมีอิทธิพลต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ที่สามารถสะท้อนวิถีชีวิตและกิจกรรมของคนในสังคม ทั้งที่เป็นกิจกรรมส่วนตัวและกิจกรรมส่วนรวม ดังพิจารณาได้จากบทบาทของนาฏศิลป์ที่มีผลต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ทางด้านต่าง ๆ เช่น บทบาทในพิธีกรรมรัฐพิธีและราชพิธี การแสดงนาฏศิลป์ในพิธีกรรมต่าง ๆ สามารถแสดงถึงความเชื่อในพลังเหนือธรรมชาติของภูตผีปีศาจและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย เช่น การฟ้อนรำในพิธีรำผีฟ้าเพื่อรักษาโรค หรือสะเดาะเคราะห์ของภาคอีสาน การฟ้อนผีมดผีเม็งในภาคเหนือ ที่จะมีผู้หญิงมาเข้าทรง เป็นต้น
อ้างอิง
- เชิงอรรถ
- นาฏศิลป์ไทย 2012-08-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- นาฏศิลป์ไทย
- นาฏศิลป์ไทย 2018-08-14 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Leonowens, A. H. (1873). "SIAMESE LITERATURE AND ART", The English Governess at the Siamese Court: Being Recollections of Six Years in the Royal Palace at Bangkok, Entered according to Act of Congress, in the year 1870 by, Fields, Osgood, & Co., in the Office of the Librarian of Congress, at Washington. Boston: James R. Osgood and Company. p. 176. ISBN
- Simon La Loubère, The Kingdom of Siam (Oxford Univ Press, 1986) (1693), p. 49
- La Loubère (1693), at 49
- James Low, On Siamese Literature (1839), p. 177|url=http://www.siamese-heritage.org/jsspdf/2001/JSS_095_0i_Smyth_JamesLowOnSiameseLiterature.pdf 2022-11-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir natsilpithy epnsilpakaraesdngprakxbdntrikhxngithy echn fxn ra raba okhn aetlathxngthincamichuxeriykaelamililathakaraesdngthiaetktangknip saehtuhlkmacakphumipraeths phumixakaskhxngaetlathxngthin khwamechux sasna phasa nisyickhxkhxngphukhn chiwitkhwamepnxyukhxngaetlaphakh karaesdngnatsilpithy mitharathixxnchxyaelaepnexklksnaetktangkniptamlksnapracathin xnsungepnexklksnkhxngpwngchnchawsyam epnsilpakarra aelakarlaeln hruxthiniymeriykknthwipwa fxn karfxnepnwthnthrrmkhxngchawlanna aelaklumchnephatang echn chawit chawlux chawyxng chawekhin epntn lksnakhxngkarfxn aebngepn 2 aebb khux aebbdngedim aelaaebbthiprbprungkhunihm aetyngkhngmikarrksaexklksnthangkaraesdngiwkhux mililatharathiaechmcha xxnchxymikaraetngkaytamwthnthrrmthxngthinthiswyngamprakxbkbkarbrrelngaelakhbrxngdwywngdntriphunban echn wngsalx sx sung wngpuec wngklxngaexw epntn oxkasthiaesdngmkelnkninnganpraephnihruxtxnrbaekhkbanaekhkemuxngprawtisastrnatsilpithynatsilpithyepnkarelnekhruxngdntrihlay chnidkarlakhrfxnraaeladntrixnmikhunsmbtitamkhmphirnatahruxnatyakahndwa txngprakxbipdwy 3 prakar khux karfxnra kardntri aelakarkhbrxng rwmekhadwykn sungthng 3 singni epnxupnisykhxngkhnmaaetdukdabrrph natsilpithymithimaaelaekidcaksaehtuaenwkhidtang echn ekidcakkhwamrusukkrathbkraethuxnthangxarmnimwacaxarmnaehngsukh hruxkhwamthukkhaelasathxnxxkmaepnthathangaebbthrrmchatiaelapradisthkhunmaepnthathanglilakarfxnra hruxekidcaklththikhwamechuxinkarnbthuxsingskdisithth ethpheca odyaesdngkhwamekharphbuchadwykaretnra khbrxngfxnraihekidkhwamphungphxic epntn natsilpithyyngidrbxiththiphlaebbaephntamaenwkhidcaktangchatiekhamaphsmphsandwy echn wthnthrrmxinediyekiywkbwrrnkrrmthiepneruxngkhxngethphecaaelatanankarfxnraodyphanekhasupraethsithythngthangtrngaelathangxxmkhuxphanchnchatichwaaelaekhmr kxnthicanamaprbprungihepnrupaebbtamexklksnkhxngithy echn twxyangkhxngethwrupsiwapangnatrachthisrangepnthakarrayrakhxngphraxiswr sungmithnghmd 108 tha hrux 108 krna odythrngfxnrakhrngaerkinolk n tablcithrmphrm emuxngmthras xinediyit pccubnxyuinrththmilnadunbepnkhmphirsahrbkarfxnra aetngodyphraphrtmuni eriykwa khmphirphrtnatysastr thuxepnxiththiphlsakhytxaebbaephnkarsubsanaelathaythxdnatsilpkhxngithycnekidkhunepnexklksnkhxngtnexngthimirupaebb aebbaephnkareriyn karfukhd carit khnbthrrmeniymmacnthungpccubn brrdaphuechiywchaythisuksathangdannatsilpithyidsnnisthanwa xarythrrmthangsilpadannatsilpkhxngxinediyniidephyaephrekhamasupraethsithytngaetsmykrungsrixyuthya tamprawtikarsrangethwalysiwanatrachthisrangkhuninpi ph s 1800 sungepnrayathiithyerimkxtngkrungsuokhthy dngnntharaithythiddaeplngmacakxinediyinkhrngaerkcungepnkhwamkhidkhxngnkprachyinsmykrungsrixyuthya aelamikaraekikhprbprunghruxpradisthkhunihminkrungrtnoksinthr cnnamasukarpradisththarayraaelalakhrithymacnthungpccubn phaphwadtwlakhrphra nang nadsilpsyam Siamese actor and actress odyaehmmaexnna lioxonewns emux ph s 2413 cakhnngsux karbanaelakaremuxnginrachsankkhingmngkud The English Governess at the Siamese Court rangphaphcakphaphthaykhxnghlwngxkhninvmitr citr citrakhni bnthukinsmyxyuthya insmyxyuthyamihlkthanpraktinrchsmykhxngsmedcphranaraynmharachwa mikarihcdaesdngokhn aelakaraesdngpraephthxunkhuninphrarachwnghlwngkhxngkrungsrixyuthya inlksnathiklawidwaekuxbcaehmuxnkbrupaebbkhxngnatsilpithythipraktxyuinpraethsithyinpccubn aelathiaephrhlayipyngpraethsephuxnban odyinrahwangthirachxanackrxyuthyayngmismphnththangkarthutodytrngkbfrngess rachthutfrngess chux simng edx laluaebr idekhamayngpraethssyam inpi kh s 1687 aelaphankxyuinkrungsrixyuthyaepnewla 3 eduxn ephuxihcdbnthukthukxyangekiywkbpraethssyam tngaetkarpkkhrxng phasa tlxdcnwthnthrrmpraephni ody laluaebr idmioxkasidsngektkaraesdngnatsilppraephthtang inrachsankithy aelacdbnthukiwodylaexiyddngni chawsyammisilpakarewthixyusampraephth praephththieriykwa okhn nn epnkarrayraekha xxk hlaykharb tamcnghwasxaelaekhruxngdntrixyangxunxik phuaesdngnnswmhnakak aelathuxxawuth aesdngbthhnkipinthangsurbknmakkwacaepnkarrayra aelamatrwakaraesdngswnihycahnkipinthangoldetnephnophnocnthayan aelawangthaxyangekinsmkhwraelw nan kcahyudecrcaxxkmaskkhasxngkha hnakak hwokhn swnihynnnaekliyd epnhnastwthimirupphrrnwitthar hruximepnhnaxsurpisac swnkaraesdngpraephththieriykwa lakhr nnepnbthkwithiphsmphsankn rahwangmhakaphy aelabthlakhrphud sungaesdngknyudyawipsamwnetm tngaet 8 omngecha cnthung 1 thum lakhrehlaniepn prawtisastrthirxyeriyngepnbthklxnthiekhrngkhrum aelakhbrxngodyphuaesdnghlaykhnthixyuinchakphrxm kn aelaephiyngaetrxngottxbknethann odymikhnhnungkhbrxnginswnenuxeruxng swnthiehluxcaklawbthphud aetthnghmdthikhbrxnglwnepnphuchay immiphuhyingely swn raba nnepnkarrakhukhxnghyingchay sungaesdngxxkxyangxachay nketnthnghyingaelachaycaswmelbplxmsungyawmak aelathacakthxngaedng nkaesdngcakhbrxngipdwyraipdwy phwkekhasamarthraidodyimekhaphwphnkn ephraalksnakaretnepnkarediniprxb xyangcha odyimmikarekhluxnihwthirwderw aetetmipdwykarbidaeladdlatw aelathxnaekhn inswnthiekiywkbkaraetngkaykhxngnkaesdngokhn la luaebr idbnthukiwwa nketnin raba aela okhn caswmchdaplayaehlmthadwykradasmilwdlaysithxng sungdukhlay hmwkkhxngphwkkharachkarsyamthiisinnganphithi aetcahumtlxdsirsadankhangipcnthungithu aelatkaetngdwyhinxymnieliynaebb aelamihxyphusxngkhangepnimthasithxng xiththiphltxpraethsinxusakheny natsilp aelakarlakhrkhxngsyam thithukphthnakhuninsmykrungsrixyuthya mikhwamsmburnaebbsung aelamixiththiphltxsilpwthnthrrmxanackrkhangekhiyngmak dngthi kptnecms olw nkwichakarxngkvsphuechiywchaydanwthnthrrmexechiytawnxxkechiyngitidbnthukiwinchwngtnrtnoksinthr phwkchawsyamidphthnasilpakaraesdnglakhrkhxngtncnekhathungkhwamsmburnaebbinradbsung aelainaengnisilpakhxngsyamcungephyaephripinpraethsephuxnban thnginphma law aelakmphucha sunglwnaetesaahankralakhrkhxngsyamthngsin praephthkhxngnatsilpithynatsilpithy aebngxxkepn 4 praephth 1 ra khuxkaraesdngthimungennthungsilpathwngtha dntri immikaraesdngepneruxngraw rabangchudepnkarchmkhwamngam bangchudtdtxnmacakwrrnkhdi hruxbangthikimcaepnthicatxngmienuxephlngechnkarrahnaphathyepntn racaaebngxxkepn 2 praephthdngni 1 rahnaphathy khuxkarraprakxbephlnghnaphathy ephlnghnaphathykhuxephlngthibrrelngodyimmikharxng ichinkarebikorng prakxbxaxpkiriyatangkhxngtwlakhr odyephlnghnaphathycamitharaechphaakhxngaetlaephlng 2 rabth khuxkarraodyichhlknatsilp aesdngxxktambthrxng hruxbthlakhr aebngxxkepn 4 praephthdngni 2 1 raediyw epnkaraesdngthimungxwdsilpathangnatsilpxyangaethcringchungphuracatxmmiphimuxdieyiym ephraaepnkaraesdngthiaesdngaetephiyngphuediyw raediywodyswnmakkcaepnkarrachuychaytang echn chuychayebyckay chuychaywnthxng l epntn 2 2 rakhu karaesdngchudniimcaepncatxngphrxmephiyngknaetxacmithathiehmuxnkid ephraakarrakhuniepnkarichlilathiaetktangknrahwangphuaesdngsxngkhn echntwphra kbtwnang hruxbthbathkhxngtwaesdngnn rakhunikcaaebngxxkepnsxngpraephth khux 2 2 1 rakhuswyngamcakwrrnkhdi echn hnumancbnasuphrrnmccha epntn 2 2 2 ramungxwdkarichxupkrn echn karraxawuth rakrabikrabxng 2 3 rahmu rachudniepnkarrathiennkhwamphrxmephriyng echnraxwyphrchudtang 2 4 ralakhr khuxkarrathiichinkaraesdnglakhrhruxokhn epnkaraesdngthathangsuxkhwamhmayipkbbthrxng hruxbthlakhr aelaephlnghnaphathytang inkaraesdnglakhr 2 raba khuxkaraesdngthimikhwamhmayintwichphuaesdngsxngkhnkhunip khuxphukhididmiwisythsnaelatxngkarsuxkaraesdngchudnnphanthangbthrxng ephlng hruxkaraetngkayaebb thimacakaerngbndalic cakeruxngtang echnwithichiwit wthnthrrm praephni aelaepnkaraesdngthicbinchud ediyw epntn raba caaebngxxkepnsxngpraephthkhux 2 1 rabamatrthan epnrabathibrmkhruthangnatsilpidkhidkhniw thngeruxngephlng bthrxng karaetngkay thara sungimsamarththicaepliynaeplngid rabamatrthancamixyuthnghmd 6chud khux rabasibth rabayxnghngidhruxyuhngid rabaphrhmmatr rabadawdungs rabakvsda rabaethphbnething 2 2 rabathiprbprungkhunihm epnrabathibrmkhruhruxphuruthangnatsilpidkhidkhnaelaprbprungchunmaihm chungsamarthprbprungepliynaeplngidtamoxkas xacepnrabathiidaerngbldalicthiphupradisthtxngkarsuxxacepneruxngkhxngkaraetngkay withichiwit wthnthrrm praephni rabaprbprungmixyuhlakhlayechn rabachumnumephaithy rabaikrrassaering rabaik rabasuokhthy l epntn fxn aela esing kcdwaepnrabathiprbprungkhunihm ephraaphuruhruxphuechiywchaythangnatsilpidkhidkhnkhunma mikaraetngkartamthxngthinephraakaraesdngaetlachudidekidkhunmacakaerngbldalickhxngphukhidthicathaythxdimwacaepneruxngkhxngwithichiwit karaetngkay dntri ephlng aelakareriykchuxkaraesdngnn caeriyktam phasathxngthin aelakaraetngkaykaetngkaytamthxngthin echnphakhehnuxkcaeriykwafxn echnfxnelb fxnethiyn phakhxisankcaeriykaelaaetngkaytamthxngthin thangphakhxisanechn esingkatibkhaw esingswing epntn karaesdngtang lwnaelwaetekidkhunmacakthxngthinaelaaetngkaytamthxngthinimidmihlkhrux eknththiichknodythwipinwngkarnatsilpithythwpraethssamarthprbprunghruxepliynaeplngidtamoxkasthiaesdng cungthuxwa karfxnaelakaresingepnrabathiprbprungkhunihm 3 lakhr khuxkaraesdngeruxngrawodymitwlakhrtangdaenineruxngmiphukehtuhruxkarphukpmkhxngeruxng lakhrxacprakxbipdwysilpahlayaekhnngechn karra rxng hruxdntri lakhrcaaebngxxkepnsxngpraephthidaek 3 1 lakhraebbdngedim mixyusampraephth khux onhrachatri lakhrnxk lakhrin 3 2 lakhrthiprbprungkhunihm mixyuhkpraephth lakhrdukdabrrph lakhrphnthang lakhrespha lakhrphud lakhrrxng lakhrsngkhit 4 mhrsph khuxkaraesdngrunering hruxkaraesdngthiichinnganphithitang mirupaebbaelawithikaraesdngthiepnaebbaephn echn karaesdngokhn hnngihyepntndntriaelaephlngprakxbkaraesdngnatsilpdntri ephlng aelakarkhbrxngephlngithysahrbprakxbkaraesdng samarthaebngxxkepn 2 klum khux dntrithiichprakxbkaraesdngnatsilpithy aelaephlngsahrbprakxbkaraesdngnatsilpithy dntrithiichprakxbkaraesdngnatsilpithy prakxbdwy dntriprakxbkaraesdngokhn lakhr wngdntrithiichprakxbkaraesdngokhnaelalakhrkhxngithykhux wngpiphathy sungmikhnadkhxngwngepnaebbwngpraephthidnnkhunxyukblksnakhxngkaraesdngnn dwy echn karaesdngokhnnngrawichwngpiphathyekhruxngha 2 wng karaesdnglakhrinxacichwngpiphathyekhruxngkhu hruxkaraesdngdukdabrrphtxngichwngpiphathydukdabrrphepntn dntriprakxbkaraesdngraaelarabamatrthan karaesdngraaelarabathiepnchudkaraesdngthieriykwa ramatrthanaelarabamatrthannn ekhruxngdntrithiichprakxbkaraesdngxacmikarnaekhruxngdntribangchnidekhamaprakxbkaraesdng caichwngpiphathybrrelng echn rabakvdaphinihar xacnaekhruxngdntri khimhruxsxdwng malx klxngtxk aelaklxngaedw mabrrelnginchwngthaykhxngkarrathiepnephlngechidcinkid dntriprakxbkaraesdngphunemuxng dntrithiichprakxbkaraesdngphunemuxngphakhtang khxngithycaepnwngdntriphunban sungnbepnexklksnthimikhunkhakhxngaetlaphumiphakh idaek dntriphunbanphakhehnux miekhruxngdntri echn phinepiya sung salx piaen piklang pikxy pitd pielk padim ranadim padehlk ranadehlk padkhxng khxngwngihy khxnghuy khxngehmng klxnghlwng klxngaexw klxngpuec klxngpuca klxngsabdichy klxngesing klxngetngthing klxngman aelaklxngtaoldopd emuxnamarwmepnwng caidwngtang khux wngsalx sx sung wngpuca wngklxngaexw wngklxngman wngpicum wngetingthing wngklxngpucaaelawngklxngsabdichy dntriphunemuxngphakhklang epnekhruxngdntripraephthediywkbwngdntrihlkkhxngithykhux wngpiphathyaelaekhruxngsay sunglksnainkarnamaichxanacnamaepnbangswnhruxbangpraephth echn klxngtaophnaelaekhruxngprakxbcnghwanamaichinkarelnephlngxiaesw ephlngekiywkhaw klxngramanaichelnephlnglatd klxngyawichelnraethidething klxngothnichelnrawngaelaraothn swnekhruxngedinthanxngkniymichranad sxhruxpi epntn dntriphunemuxngphakhxisan miekhruxngdntrisakhy idaek phin xaceriyktangkniptamthxngthin echn sung hmakcbpi hmaktbaetngaelahmaktdotng sx opnglang aekhn ohwd klxngyawxisan klxngkntrum sxkntrum sxdwng sxtrwexk pixx praetriyng pisil emuxnamaprasmwngaelwcaidwngdntriphunemuxng khux wngopnglang wngaekhn wngmohrixisanit wngthumohmng aelawngecriyngemrin dntriphunemuxngphakhit miekhruxngdntrithisakhy idaek klxngonra klxngchatrihruxklxngtuk klxngophn klxngpud othn klxngthb ramana ohmng khxngkhu pikahlx piihn krbphwngphakhit aekra aelanaekhruxngdntrisaklekhamaphsm idaek iwoxlin kitar ebnoc xkhkhxrediyn lukaesk swnkarprasmwngnn epnkarprasmwngtampraephthkhxngkaraesdngaetlachnid ephlngithysahrbprakxbkaraesdngnatsilpithy ephlngithyprakxbkaraesdngokhn lakhr ra aelarabamatrthan ephlngithythiichbrrelngaelakhbrxngprakxbkaraesdngnatsilpithy okhn lakhr raaelarabamatrthannnaebngidepn 2 praephthdngni ephlnghnaphathy odyhlkihy ephlnghnaphathyaebngxxkepnsxngxyangdwyknkhux ephlnghnaphathyichbrrelngxyanghnung aelaephlnghnaphathyichprakxbkiriyaxakarkhxngtwokhnlakhrtambthxikxyanghnung piphathythiimidprakxbkaraesdngcamixisrainkarbrrelngimkahndewlathiaennxnxyuthiphubrrelngepnswnihy piphathythiprakxbkaraesdngnnphubrrelngcatxngyudphuaesdngepnhlkodyichcnghwathiaennxnthwngthanxngephlngtxngihsxdkhlxngkbphuaesdngcungcaekidkhwamsmdulkn aelaekidsunthriyrsmakkhun ephlngkhbrxngrbsng khuxephlngithythinamabrrcuiwinbthokhn lakhr xacnamacakephlngtb etha hruxephlngekrd ephuxbrrelngkhbrxngprakxbkarrabthhruxichbthkhxngtwokhn lakhrhruxepnbthkhbrxnginephlngsahrbkarraaelraba echn ephlngchapi ephlngkhunphlbphla ephlngnkkracxkthxng ephlnglmphdchayekha ephlngewssukrrm ephlngaekhktaekhing ephlngaekhkecaesn epntn ephlngithyprakxbkaraesdngphunemuxng ephlngithythiichprakxbkaraesdngnatsilpphunemuxng epnbthephlngphunbanthiichbrrelngaelakhbrxngprakxbkaraesdngnatsilpphunemuxng odyaebngxxktamphumiphakhdngni ephlngbrrelngaelakhbrxngprakxbnatsilpphunemuxngphakhehnux ephlngprakxbkarfxnelbidaek ephlngaehynghlwng fxnethiyn idaek ephlnglawesiyngethiyn fxnsawihm idaek ephlngprasathihwaelasawsmedc rabasx idaek thanxngsxyiaelasxcxyechiyngaesn brelng ephlnglawcxy txytlingaelalawkraaes epntn ephlngbrrelngaelakhbrxngprakxbnatsilpphunemuxngphakhklang ephlngprakxbkaretnrakaekhiyw idaek ephlngrabachawna epntn ephlngbrrelngaelakhbrxngprakxbnatsilpphunemuxngphakhxisan ephlngprakxbkaraesdngesingopnglang brrelngephlnglayopnglang esingphuithy brrelnglaylaphuithy epntn ephlngbrrelngaelakhbrxngprakxbnatsilpphunemuxngphakhit ephlngprakxbkaraesdngliekpa niymichephlngtalumopng ephlngsrxysn ephlngdxkdin karaesdngchudrxngengngbrrelngephlnglakhuduwx ephlngmaxinnglama ephlnglanng ephlngpuocapichng epntnkaraetngkaynatsilpithykaraesdngnatsilpithythngokhnaelalakhrnnidcaaenkphuaesdngxxkepn 4 praephthtamlksnakhxngbthbathaelakarfukhdkhux twphra twnang twyksaelatwling sunginaetlatwlakhrnn nxkcakbukhliklksnathithaythxdxxkmaihphuchmthrabcakkaraesdngaelw ekhruxngaetngkarkhxngphuaesdngkyngepnsylksnthisakhyxyanghnungthibngbxkwa phunnrbbthbathaesdngepntwid ekhruxngaetngkarnatsilpithymikhwamngdngamaelakrrmwithikarpradisththiwicitrbrrcngepnxyangying thngniephraathimakhxngekhruxngaetngkaynatsilpithynn calxngaebbmacakekhruxngthrngkhxngphramhakstriy ekhruxngtn aelwnamaphthnaihehmaasmtxkaraesdng sungcaaenkxxkepn 4 fay dngni ekhruxngaetngtwphra khux ekhruxngaetngkaykhxngtwphramilksnakhlayethphmiwicha ekhruxngaetngtwnang khux ekhruxngaetngkaykhxngphuaesdnghruxphurathiaesdngepnhying sahrbekhruxngaetngtwphraaelanangni caichaetngkaysahrbphurabamatrthan echn rabasibth rabaphrhmastraelarabakvdaphinihar epntn aelayngichaetngkaysahrbtwlakhrinkaraesdnglakhrnxkaelalakhrindwy swninrabaebdetld echn rabanphrtn rabatrilila rabaitrphakhi rabaikrlassaering rabaobrankhdichudtang hruxrabastwtang caichekhruxngaetngkaytamkhwamehmaasmkbkaraesdngnn echn nungocngkraebn hmphasib aelaswmchudithytang epntn tlxdcnyngmikaraesdnghruxkarfxnraaebbphunemuxngkhxngthxngthintang sungcamikaraetngkaythiaetktangkniptamaetlathxngthin ekhruxngaetngtwyks thsknth khux ekhruxngaetngkaykhxngphuaesdngepntwyks epnekhruxngyks ekhruxngaetngtwling khux ekhruxngaetngkaykhxngphuaesdngepntwlingnatsilpkbbthbaththangsngkhmnatsilpepnsilpaaekhnnghnungthisrangsrrkhsunthriyadanciticaelaxarmnihkbkhninsngkhmaelamixiththiphltxkardaeninchiwitkhxngmnusythisamarthsathxnwithichiwitaelakickrrmkhxngkhninsngkhm thngthiepnkickrrmswntwaelakickrrmswnrwm dngphicarnaidcakbthbathkhxngnatsilpthimiphltxkardaeninchiwitkhxngmnusythangdantang echn bthbathinphithikrrmrthphithiaelarachphithi karaesdngnatsilpinphithikrrmtang samarthaesdngthungkhwamechuxinphlngehnuxthrrmchatikhxngphutphipisacaelasingskdisiththithnghlay echn karfxnrainphithiraphifaephuxrksaorkh hruxsaedaaekhraahkhxngphakhxisan karfxnphimdphiemnginphakhehnux thicamiphuhyingmaekhathrng epntnxangxingechingxrrthnatsilpithy 2012 08 18 thi ewyaebkaemchchin natsilpithy natsilpithy 2018 08 14 thi ewyaebkaemchchinLeonowens A H 1873 SIAMESE LITERATURE AND ART The English Governess at the Siamese Court Being Recollections of Six Years in the Royal Palace at Bangkok Entered according to Act of Congress in the year 1870 by Fields Osgood amp Co in the Office of the Librarian of Congress at Washington Boston James R Osgood and Company p 176 ISBN 978 059 8 61691 3 Simon La Loubere The Kingdom of Siam Oxford Univ Press 1986 1693 p 49 La Loubere 1693 at 49 James Low On Siamese Literature 1839 p 177 url http www siamese heritage org jsspdf 2001 JSS 095 0i Smyth JamesLowOnSiameseLiterature pdf 2022 11 12 thi ewyaebkaemchchin