นรสิงห์ (สันสกฤต: नरसिंह, แปลตรงตัว 'มนุษย์-สิงโต', Narasiṃha) เป็นอวตารของพระวิษณุ โดยมีร่างกายท่อนล่างเป็นมนุษย์ และร่างกายท่อนบนเป็นสิงโต ลงมาทำลายความชั่วร้ายและยุติการกดขี่ข่มเหงทางศาสนาและความหายนะบนโลก ฟื้นฟูธรรม นอกจากนี้ นรสิงห์ยังได้รับการกล่าวถึงเป็นเทพแห่งโยคะ ในรูปแบบโยคะ-นรสิงห์
นรสิงห์ | |
---|---|
เทพแห่งการป้องกัน, การทำลายล้าง, โยคะ และ (เวลา); ผู้ทำลายความชั่วร้าย | |
ส่วนหนึ่งของ ทศาวตาร | |
รูปปั้นนรสิงห์ที่เวงกเฏศวรมนเทียร | |
ชื่อในอักษรเทวนาครี | नरसिंह |
ชื่อในการทับศัพท์ภาษาสันสกฤต | Narasimha |
ส่วนเกี่ยวข้อง | เทพหัวสิงโต, -มหากาล, , อวตารที่สี่ของพระวิษณุ |
ที่ประทับ | เกษียรสมุทร |
อาวุธ | จักร, , |
เทศกาล | นรสิงห์ชยันตี, โฮลี |
คู่ครอง | พระลักษมี |
นรสิงห์เป็นหนึ่งในเทพหลักในลัทธิไวษณพ และตำนานของเขาได้รับการยกย่องใน, , และในธรรมเนียมอื่น ๆ ของลัทธิไวษณพ
เรื่องราว
หิรัณยกศิปุบำเพ็ญตบะเป็นเวลานาน จนได้รับพรจากพระพรหม ให้เป็นผู้ที่ฆ่าไม่ตายจากมนุษย์, สัตว์, เทวดา ให้ฆ่าไม่ตายทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน ให้ฆ่าไม่ตายทั้งจากอาวุธและมือ ให้ฆ่าไม่ตายทั้งในเรือนและนอกเรือน
หิรัณยกศิปุ ได้อาละวาดสร้างความเดือดร้อนไปทั่วทั้งสามภพ พระอินทร์จึงทูลเชิญพระนารายณ์อวตารเกิดมาเป็น นรสิงห์ คือ มนุษย์ครึ่งสิงห์ นรสิงห์สังหารหิรัณยกศิปุด้วยกรงเล็บด้วยการฉีกอก ที่กึ่งกลางบานประตู ในเวลาโพล้เพล้ ก่อนตาย นรสิงห์ได้ถามหิรัณยกศิปุว่า สิ่งที่ฆ่าเจ้าเป็นมนุษย์หรือสัตว์หรือเทวดาหรือไม่ คำตอบก็คือ ไม่ สิ่งที่สังหารเป็นมือหรืออาวุธหรือไม่ คำตอบก็คือ ไม่ ในเรือนหรือนอกเรือนหรือไม่ คำตอบก็คือ ไม่ และเป็นเวลากลางวันหรือกลางคืนหรือไม่ คำตอบก็คือ ไม่ นรสิงห์จึงประกาศว่า บัดนี้ พรที่ประทานจากพระพรหมได้สลายไปสิ้นแล้ว เทวดาทั้งสามภพจึงยินดี
รูปประติมากรรมหรือรูปวาดของนรสิงห์ตอนสังหารหิรัณยกศิปุ จึงมักสลักมีรูปเทวดาองค์เล็ก ๆ 2 องค์อยู่ข้างล่างแสดงกิริยายินดีด้วย
ระเบียงภาพ
- ประติมากรรมนูนต่ำนรสิงห์สังหารหิรัณยกศิปุอสูร
- ประติมากรรมนูนสูงนรสิงห์ประดับเทวสถาน วัดมุนีศวรัม ประเทศศรีลังกา
อ้างอิง
- George M. Williams (2008). Handbook of Hindu Mythology. Oxford University Press. p. 223. ISBN .
- Gavin D. Flood (1996). An Introduction to Hinduism. Cambridge University Press. p. 111. ISBN .
- Soifer 1991, p. 102.
- Soifer 1991, p. 92.
- Farley P. Richmond; Darius L. Swann; Phillip B. Zarrilli (1993). Indian Theatre: Traditions of Performance. Motilal Banarsidass. pp. 127 with footnote 1. ISBN .
- นรสิงห์ 2012-08-31 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542
- เทปสนทนา เรื่อง คุยเฟื่องเรื่องเขมร: วีระ ธีรภัทร - ดร.สุเนตร ชุตินธรานนท์
บรรณานุกรม
- Soifer, Deborah A. (1991). The Myths of Narasimha and Vamana: Two Avatars in Cosmological Perspective. SUNY Press. ISBN .
แหล่งข้อมูลอื่น
- Iconography and Symbolism of Pañcamukha Narasimha, R. Kalidos (1987)
- The story of Lord Narasimha
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
nrsingh snskvt नरस ह aepltrngtw mnusy singot Narasiṃha epnxwtarkhxngphrawisnu odymirangkaythxnlangepnmnusy aelarangkaythxnbnepnsingot lngmathalaykhwamchwrayaelayutikarkdkhikhmehngthangsasnaaelakhwamhaynabnolk funfuthrrm nxkcakni nrsinghyngidrbkarklawthungepnethphaehngoykha inrupaebboykha nrsinghnrsinghethphaehngkarpxngkn karthalaylang oykha aela ewla phuthalaykhwamchwrayswnhnungkhxng thsawtarruppnnrsinghthiewngketswrmnethiyrchuxinxksrethwnakhriनरस हchuxinkarthbsphthphasasnskvtNarasimhaswnekiywkhxngethphhwsingot mhakal xwtarthisikhxngphrawisnuthiprathbeksiyrsmuthrxawuthckr ethskalnrsinghchynti ohlikhukhrxngphralksmi nrsinghepnhnunginethphhlkinlththiiwsnph aelatanankhxngekhaidrbkarykyxngin aelainthrrmeniymxun khxnglththiiwsnpheruxngrawhirnyksipubaephytbaepnewlanan cnidrbphrcakphraphrhm ihepnphuthikhaimtaycakmnusy stw ethwda ihkhaimtaythnginewlaklangwnaelaklangkhun ihkhaimtaythngcakxawuthaelamux ihkhaimtaythngineruxnaelanxkeruxn hirnyksipu idxalawadsrangkhwameduxdrxnipthwthngsamphph phraxinthrcungthulechiyphranaraynxwtarekidmaepn nrsingh khux mnusykhrungsingh nrsinghsngharhirnyksipudwykrngelbdwykarchikxk thikungklangbanpratu inewlaophlephl kxntay nrsinghidthamhirnyksipuwa singthikhaecaepnmnusyhruxstwhruxethwdahruxim khatxbkkhux im singthisngharepnmuxhruxxawuthhruxim khatxbkkhux im ineruxnhruxnxkeruxnhruxim khatxbkkhux im aelaepnewlaklangwnhruxklangkhunhruxim khatxbkkhux im nrsinghcungprakaswa bdni phrthiprathancakphraphrhmidslayipsinaelw ethwdathngsamphphcungyindi ruppratimakrrmhruxrupwadkhxngnrsinghtxnsngharhirnyksipu cungmkslkmirupethwdaxngkhelk 2 xngkhxyukhanglangaesdngkiriyayindidwyraebiyngphaphpratimakrrmnuntanrsinghsngharhirnyksipuxsur pratimakrrmnunsungnrsinghpradbethwsthan wdmuniswrm praethssrilngkaxangxingGeorge M Williams 2008 Handbook of Hindu Mythology Oxford University Press p 223 ISBN 978 0 19 533261 2 Gavin D Flood 1996 An Introduction to Hinduism Cambridge University Press p 111 ISBN 978 0 521 43878 0 Soifer 1991 p 102 Soifer 1991 p 92 Farley P Richmond Darius L Swann Phillip B Zarrilli 1993 Indian Theatre Traditions of Performance Motilal Banarsidass pp 127 with footnote 1 ISBN 978 81 208 0981 9 nrsingh 2012 08 31 thi ewyaebkaemchchin tamphcnanukrmchbbrachbnthitysthan ph s 2542 ethpsnthna eruxng khuyefuxngeruxngekhmr wira thirphthr dr suentr chutinthrannthbrrnanukrmSoifer Deborah A 1991 The Myths of Narasimha and Vamana Two Avatars in Cosmological Perspective SUNY Press ISBN 9780791407998 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb nrsingh Iconography and Symbolism of Pancamukha Narasimha R Kalidos 1987 The story of Lord Narasimha