เวทนา เป็นนามธรรมอย่างหนึ่งมีการกล่าวถึงในพระพุทธศาสนา หมายถึง การเสวยอารมณ์, ความรู้สึก
เวทนาขันธ์ เป็นองค์ประกอบหนึ่งของขันธ์ ๕ (หรือ เบญจขันธ์ อันได้แก่ รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์)
เวทนา สามารถจัดออกเป็นประเภทต่างๆ ได้หลายแบบ เช่น
- เวทนา ๒
- เวทนา ๓
- เวทนา ๕
- เวทนา ๖
เวทนา ๒
เวทนา ๒ แบ่งการเสวยอารมณ์ ออกเป็นสองอย่าง คือ
- กายิกเวทนา หมายถึง เวทนาทางกาย การเสวยอารมณ์ทางกาย ความรู้สึกทางกาย
- เจตสิกเวทนา หมายถึง เวทนาทางใจ การเสวยอารมณ์ทางใจ ความรู้สึกทางใจ
เวทนา ๓
เวทนา ๓ แบ่งการเสวยอารมณ์ ความรู้สึก รสของอารมณ์ ออกเป็นสามอย่าง คือ
- สุขเวทนา หมายถึง ความรู้สึกสุข สบาย ทางกายก็ตาม ทางใจก็ตาม
- ทุกขเวทนา หมายถึง ความรู้สึกทุกข์ ไม่สบาย ทางกายก็ตาม ทางใจก็ตาม
- อทุกขมสุขเวทนา หมายถึง ความรู้สึกเฉยๆ จะสุขก็ไม่ใช่ ทุกข์ก็ไม่ใช่ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อุเบกขาเวทนา
เวทนา ๕
เวทนา ๕ แบ่ง การเสวยอารมณ์ ออกเป็นห้าอย่าง คือ
เวทนา ๖
เวทนา ๖ แบ่ง การเสวยอารมณ์ ออกเป็นหกอย่าง คือ
- จักษุสัมผัสชา เวทนา หมายถึง เวทนาอันเกิดจากสัมผัสทางตา
- โสตสัมผัสชา เวทนา หมายถึง เวทนาอันเกิดจากสัมผัสทางหู
- ฆานสัมผัสชา เวทนา หมายถึง เวทนาอันเกิดจากสัมผัสทางจมูก
- ชิวหาสัมผัสชา เวทนา หมายถึง เวทนาอันเกิดจากสัมผัสทางลิ้น
- กายสัมผัสชา เวทนา หมายถึง เวทนาอันเกิดจากสัมผัสทางกาย
- มโนสัมผัสชา เวทนา หมายถึง เวทนาอันเกิดจากสัมผัสทางใจ
เวทนาเจตสิก
ในคัมภีร์พระอภิธรรม มีการกล่าวถึงเวทนา ในลักษณะที่เป็นเจตสิก(คือ ธรรมชาติที่อาศัยจิตเกิด) เรียกว่า เวทนาเจตสิก เป็นธรรมชาติที่เสวยอารมณ์ จำแนกเป็น เวทนา ๓ และ เวทนา ๕ (ดังบรรยายไปแล้วข้างต้น)
เวทนาตามหลักปฏิจจสมุปบาท
- เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา...
- เพราะผัสสะดับเวทนาจึงดับ เพราะเวทนาดับ ตัณหาจึงดับ...
เพราะผัสสะเป็นปัจจัย ย่อมเกิดความเสวยอารมณ์ เป็นสุขบ้าง เป็นทุกข์บ้าง มิใช่ทุกข์มิใช่สุขบ้าง
ผู้ที่รู้สึกสุขเวทนา ย่อมเพลิดเพลิน พูดถึง ดำรงอยู่ด้วยความติดใจ จึงมีราคานุสัยนอนเนื่องอยู่
ผู้ที่รู้สึกทุกขเวทนา ย่อมเศร้าโศก ลำบาก ร่ำไห้ คร่ำครวญทุ่มอก โกรธ หลง จึงมีปฏิฆานุสัยนอนเนื่องอยู่
ผู้ที่รู้สึกอทุกขมสุขเวทนา ย่อมไม่ทราบชัดความตั้งขึ้น ความดับไป คุณ โทษ และที่สลัดออกแห่งเวทนานั้น ตามความเป็นจริง จึงมีอวิชชานุสัยนอนเนื่องอยู่
ดูเพิ่ม
- ปฏิจจสมุปบาท
- ผัสสะ
- อนุสัย
- นอกจากนี้ยังมี เวทนา๑๘ เวทนา๓๖ เวทนา๑๐๘ อ่านรายละเอียดได้ใน อัฏฐสตปริยายสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๘
อ้างอิง
- พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์".
- พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม".
- ฉฉักกสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๔
- เทศนาสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๖
- อัฏฐสตปริยายสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๘
- "พระอภิธัมมัตถสังคหะ" และ "อภิธัมมัตถวิภาวินีฎีกา"
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ewthna epnnamthrrmxyanghnungmikarklawthunginphraphuththsasna hmaythung kareswyxarmn khwamrusuk ewthnakhnth epnxngkhprakxbhnungkhxngkhnth 5 hrux ebyckhnth xnidaek rupkhnth ewthnakhnth syyakhnth sngkharkhnth wiyyankhnth ewthna samarthcdxxkepnpraephthtang idhlayaebb echn ewthna 2 ewthna 3 ewthna 5 ewthna 6ewthna 2ewthna 2 aebngkareswyxarmn xxkepnsxngxyang khux kayikewthna hmaythung ewthnathangkay kareswyxarmnthangkay khwamrusukthangkay ectsikewthna hmaythung ewthnathangic kareswyxarmnthangic khwamrusukthangicewthna 3ewthna 3 aebngkareswyxarmn khwamrusuk rskhxngxarmn xxkepnsamxyang khux sukhewthna hmaythung khwamrusuksukh sbay thangkayktam thangicktam thukkhewthna hmaythung khwamrusukthukkh imsbay thangkayktam thangicktam xthukkhmsukhewthna hmaythung khwamrusukechy casukhkimich thukkhkimich eriykxikxyanghnungwa xuebkkhaewthnaewthna 5ewthna 5 aebng kareswyxarmn xxkepnhaxyang khux sukh hmaythung khwamsukh khwamsbaythangkay thukkh hmaythung khwamthukkh khwamimsbay khwamecbpwdthangkay osmns hmaythung khwamaechmchun plumic sukhic xnekidcaksukhcungekidosmns othmns hmaythung khwamesiyic khwamesraosk esrahmxng thukkhic xnekidcakthukkhcungekidothmns xuebkkha hmaythung khwamrusukechy imsukhimthukkhewthna 6ewthna 6 aebng kareswyxarmn xxkepnhkxyang khux cksusmphscha ewthna hmaythung ewthnaxnekidcaksmphsthangta ostsmphscha ewthna hmaythung ewthnaxnekidcaksmphsthanghu khansmphscha ewthna hmaythung ewthnaxnekidcaksmphsthangcmuk chiwhasmphscha ewthna hmaythung ewthnaxnekidcaksmphsthanglin kaysmphscha ewthna hmaythung ewthnaxnekidcaksmphsthangkay monsmphscha ewthna hmaythung ewthnaxnekidcaksmphsthangicewthnaectsikinkhmphirphraxphithrrm mikarklawthungewthna inlksnathiepnectsik khux thrrmchatithixasycitekid eriykwa ewthnaectsik epnthrrmchatithieswyxarmn caaenkepn ewthna 3 aela ewthna 5 dngbrryayipaelwkhangtn ewthnatamhlkpticcsmupbathephraaphssaepnpccy cungmiewthna ephraaewthnaepnpccy cungmitnha ephraaphssadbewthnacungdb ephraaewthnadb tnhacungdb ephraaphssaepnpccy yxmekidkhwameswyxarmn epnsukhbang epnthukkhbang miichthukkhmiichsukhbang phuthirusuksukhewthna yxmephlidephlin phudthung darngxyudwykhwamtidic cungmirakhanusynxnenuxngxyu phuthirusukthukkhewthna yxmesraosk labak raih khrakhrwythumxk okrth hlng cungmiptikhanusynxnenuxngxyu phuthirusukxthukkhmsukhewthna yxmimthrabchdkhwamtngkhun khwamdbip khun oths aelathisldxxkaehngewthnann tamkhwamepncring cungmixwichchanusynxnenuxngxyuduephimpticcsmupbath phssa xnusy nxkcakniyngmi ewthna18 ewthna36 ewthna108 xanraylaexiydidin xtthstpriyaysutr phraitrpidk elmthi 18xangxingphrathrrmpidk prayuthth pyut ot phcnanukrmphuththsasn chbbpramwlsphth phrathrrmpidk prayuthth pyut ot phcnanukrmphuththsasn chbbpramwlthrrm chchkksutr phraitrpidk elmthi 14 ethsnasutr phraitrpidk elmthi 16 xtthstpriyaysutr phraitrpidk elmthi 18 phraxphithmmtthsngkhha aela xphithmmtthwiphawinidika