ในสาขาอณูชีววิทยาและชีวเคมี directionality (ทิศทาง) หมายถึงทิศทางทางเคมีในกรดนิวคลีอิกสายเดี่ยวจากต้นสายไปยังปลายสาย เพราะสำหรับดีเอ็นเอหรืออาร์เอ็นเอสายเดี่ยว วิธีการระบุตำแหน่งอะตอมคาร์บอนทางเคมีสำหรับวงแหวนน้ำตาลเพนโทส (pentose) ที่เป็นนิวคลีโอไทด์ จะทำให้ให้มีส่วนสุดด้าน 5′ (อ่านว่า ไฟฟ์ไพรม์) ซึ่งบ่อยครั้งเป็นกลุ่มฟอสเฟตที่เชื่อมอยู่กับคาร์บอน 5′ ในวงแหวนไรโบส และมีส่วนสุดด้าน 3′ (อ่านว่า ทรีไพรม์) ซึ่งปกติเป็นส่วน -OH ของวงแหวนไรโบสที่ยังไม่ได้แปลง ถ้าเป็นสายเกลียวคู่กรดนิวคลีอิก สายแต่ละข้างจะวิ่งในทิศทางกลับกันเพื่อให้จับคู่เบสกับกันและกันได้ ซึ่งสำคัญในการถ่ายแบบหรือการถอดรหัสข้อมูลพันธุกรรมที่เข้ารหัสไว้
ในสิ่งมีชีวิต กรดนิวคลีอิกจะสังเคราะห์จากด้าน 5′ (ต้นสาย) ไปยัง 3′ (ปลายสาย) เพราะเอนไซม์โพลิเมอเรส (polymerase) ที่ประกอบสายกรดนิวคลีอิกใหม่ชนิดต่าง ๆ ปกติต้องได้พลังงานจากการทำลายพันธะนิวคลีโอไซด์ไตรฟอสเฟต (nucleoside triphosphate) เพื่อไปใช้เชื่อมนิวคลีโอไซด์โมโนฟอสเฟตตัวใหม่เข้ากับกลุ่มไฮดรอกซิล (-OH) ที่ปลายด้าน 3′ ด้วยพันธะ phosphodiester ดังนั้น เมื่อเปรียบเทียบตำแหน่งโครงสร้างต่าง ๆ ตามสายกรดนิวคลีอิก รวมทั้งยีนและจุดเชื่อม (binding site) ของโปรตีน จึงสามารถระบุว่าอยู่ทาง upstream (ต้นสาย) คืออยู่ทางฝั่งปลาย 5′ หรือ downstream (ปลายสาย) คืออยู่ทางฝั่งปลาย 3′
แหล่งข้อมูลอื่น
- Harvey Lodish; Arnold Berk; Paul Matsudaira; Chris A. Kaiser (2004). Molecular Cell Biology (5th ed.). New York City: W.H. Freeman and Company. ISBN .
แหล่งข้อมูลอื่น
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
insakhaxnuchiwwithyaaelachiwekhmi directionality thisthang hmaythungthisthangthangekhmiinkrdniwkhlixiksayediywcaktnsayipyngplaysay ephraasahrbdiexnexhruxxarexnexsayediyw withikarrabutaaehnngxatxmkharbxnthangekhmisahrbwngaehwnnatalephnoths pentose thiepnniwkhlioxithd cathaihihmiswnsuddan 5 xanwa iffiphrm sungbxykhrngepnklumfxseftthiechuxmxyukbkharbxn 5 inwngaehwnirobs aelamiswnsuddan 3 xanwa thriiphrm sungpktiepnswn OH khxngwngaehwnirobsthiyngimidaeplng thaepnsayekliywkhukrdniwkhlixik sayaetlakhangcawinginthisthangklbknephuxihcbkhuebskbknaelaknid sungsakhyinkarthayaebbhruxkarthxdrhskhxmulphnthukrrmthiekharhsiwomelkulfuraons epnwngaehwnnatalchnidhnung thitidpayxatxmkharbxn ody 5 xyuthangdan upstream tnsay aela 3 xyuthangdan downstream playsay diexnex aelaxarexnexcasngekhraaherimcaktnsay 5 ipyngplaysay 3 insingmichiwit krdniwkhlixikcasngekhraahcakdan 5 tnsay ipyng 3 playsay ephraaexnismophliemxers polymerase thiprakxbsaykrdniwkhlixikihmchnidtang pktitxngidphlngngancakkarthalayphnthaniwkhlioxisditrfxseft nucleoside triphosphate ephuxipichechuxmniwkhlioxisdomonfxseft twihmekhakbklumihdrxksil OH thiplaydan 3 dwyphntha phosphodiester dngnn emuxepriybethiybtaaehnngokhrngsrangtang tamsaykrdniwkhlixik rwmthngyinaelacudechuxm binding site khxngoprtin cungsamarthrabuwaxyuthang upstream tnsay khuxxyuthangfngplay 5 hrux downstream playsay khuxxyuthangfngplay 3 aehlngkhxmulxunHarvey Lodish Arnold Berk Paul Matsudaira Chris A Kaiser 2004 Molecular Cell Biology 5th ed New York City W H Freeman and Company ISBN 978 0 7167 4366 8 aehlngkhxmulxunbthkhwamchiwekhmi ekhmixinthriy aelaomelkulchiwphaphniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk