ทาลัสซีเมียแบบบีตา (อังกฤษ: Beta thalassemias, β thalassemias) เป็นกลุ่มโรคเลือดที่สืบทอดทางพันธุกรรม เป็นรูปแบบของทาลัสซีเมียที่มีเหตุจากการสังเคราะห์ห่วงลูกโซ่บีตาของเฮโมโกลบิน (HBB) ที่ผิดปกติ คือลดลงหรือไม่มีเลย ซึ่งอาจมีผลต่าง ๆ เริ่มต้นจากภาวะเลือดจางอย่างรุนแรง จนถึงบุคคลที่ไม่มีอาการเลย ความชุกของโรคทั่วโลกต่อปีอยู่ที่ 1 ใน 100,000 เป็นโรคที่มีเหตุจากการกลายพันธุ์ของยีน HBB บนโครโมโซมคู่ที่ 11 โดยสืบทางกรรมพันธุ์แบบผ่านลักษณะด้อยของออโตโซม (autosomal recessive) ความรุนแรงของโรคขึ้นอยู่กับลักษณะการกลายพันธุ์ แต่โดยทั่วไปแล้วความไม่สมดุลของห่วงลูกโซ่แอลฟาและบีตาจะทำให้เกิดการสลายของเม็ดเลือดแดง (hemolysis) และการสร้างเม็ดเลือดแดงที่ไม่มีประสิทธิภาพ คนที่มีกรรมพันธุ์แบบลักษณะสืบสายพันธุ์ (trait) จะไม่มีอาการ ไม่ต้องรักษา และจะมีการคาดหมายคงชีพที่อายุปกติ ผู้ที่มีโรคเต็มตัว (major) จะมีภาวะเลือดจางแบบเม็ดเลือดแดงสลาย ไม่โต และมีความผิดปกติทางกระดูกในวัยทารก เด็กที่มีโรคเต็มตัวจะต้องถ่ายเลือดตลอดชีวิต ผู้ที่มีโรคเต็มตัวมักจะเสียชีวิตเกี่ยวกับปัญหาทางหัวใจเนื่องจากภาวะเหล็กเกินโดยอายุ 30 ปี ผู้ที่มีโรคระดับปานกลาง (intermedia) มีอาการรุนแรงน้อยกว่าแต่อาจจะต้องถ่ายเลือดเป็นครั้งคราว บุคคลที่มีโรคควรจะปรึกษาแพทย์ก่อนมีบุตร/ก่อนแต่งงาน
ทาลัสซีเมียแบบบีตา (Beta thalassemia) | |
---|---|
การสืบทอดทางกรรมพันธุ์ของทาลัสซีเมียแบบบีตา | |
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก | |
ICD-10 | D56.1 |
ICD- | 282.44 |
141900 | |
3087 1373 | |
article/199534 | |
MeSH | D017086 |
ความขัดข้องในการถอดรหัสยีน HBB มีผลเป็นการสังเคราะห์ห่วงลูกโซ่บีตาของโปรตีนโกลบินที่ลดลง ซึ่งมีผลเป็นการผลิตเฮโมโกลบินแบบ A (HbA) ที่ลดลง เมื่อเม็ดเลือดแดงมีโกลบินเอน้อยลง ก็ทำให้เกิดภาวะโลหิตจางแบบเม็ดเลือดแดงเล็ก (microcytic anemia) ดังนั้น ภาวะโลหิตจางแบบเม็ดเลือดแดงเล็กจะเป็นผลโดยที่สุดของการขาด HBB เพราะเหตุนี้ คนไข้อาจจำเป็นต้องได้การถ่ายเลือดเพื่อทดแทนการไม่ผลิตห่วงลูกโซ่บีตา แต่การถ่ายเลือดซ้ำ ๆ อาจนำไปสู่ภาวะเหล็กเกิน (iron overload) ซึ่งมีผลเป็น (iron toxicity) และภาวะเหล็กเป็นพิษสามารถมีผลหลายอย่าง รวมทั้ง myocardial siderosis (ภาวะสะสมเหล็กในหัวใจ) และหัวใจวายซึ่งอาจทำให้ถึงชีวิต
อาการ
โรคมีสามระดับ คือ thalassemia major (ทาลัสซีเมียใหญ่), thalassemia intermedia (ทาลัสซีเมียกลาง) และ thalassemia minor (ทาลัสซีเมียน้อย). คนไข้ทุกระดับจะเสี่ยงมีปัญหาม้าม ซึ่งบ่อยครั้งจะใหญ่ขึ้นและต้องตัดออก และปัญหานิ่วในถุงน้ำดี แต่ปัญหาโดยมากจะพบในทาลัสซีเมียใหญ่และทาลัสซีเมียกลาง คนไข้ที่มีทาลัสซีเมียใหญ่มักจะปรากฏตั้งแต่ 2 ปีแรกในชีวิต เพราะมีภาวะโลหิตจางรุนแรง ไม่โต และกระดูกผิดปกติตั้งแต่ยังเป็นทารก ถ้าไม่รักษา ทาลัสซีเมียใหญ่อาจทำให้ถึงชีวิต โดยปกติเพราะหัวใจวาย ดังนั้น การตรวจคัดกรองเมื่อกำเนิดเป็นเรื่องจำเป็น
การมีเหล็กเกินอาจมีผลรุนแรงต่อตับ หัวใจ และต่อมไร้ท่อ อาการรุนแรงรวมทั้ง ตับแข็ง ตับเกิดพังผืด (liver fibrosis) และในกรณีที่รุนแรงมะเร็งตับหัวใจวาย การไม่โต โรคเบาหวาน ภาวะกระดูกพรุน เป็นปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวเนื่องกับภาวะนี้ ความผิดปกติของหัวใจที่มาจากภาวะนี้และภาวะเหล็กเกินก็คือ ความผิดปกติของหัวใจห้องล่างทั้งในช่วงบีบช่วงคลาย (ventricular systolic/diastolic dysfunction) ภาวะความดันโลหิตสูงในเส้นเลือดปอด (pulmonary hypertension) ความผิดปกติของลิ้นหัวใจ (valvulopathy) หัวใจเต้นผิดจังหวะ (arrhythmia) และเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ (pericarditis) การดูดซึมเหล็กผ่านทางเดินอาหารสูงขึ้นในภาวะนี้ทุกระดับ และเพิ่มระดับการทำลายเม็ดเลือดแดงในม้ามเนื่องจากการสร้างเม็ดเลือดแดงที่ไม่มีประสิทธิภาพก็จะปล่อยเหล็กเพิ่มขึ้นเข้าในเลือด
เหตุ
เฮโมโกลบินในเลือดมีลักษณะเป็นวงแหวน heme มีหน่วยย่อยเป็นห่วงลูกโซ่โปรตีน globin 4 หน่วย โดย 2 หน่วยเป็นแบบแอลฟา และอีกสองหน่วยแบบอื่นนอกจากแอลฟา หน่วยย่อยเหล่านี้จะเป็นตัวกำหนดประเภทของเฮโมโกลบิน เฮโมโกลบินของทารก (HbF) จะมีแอลฟา 2 หน่วยและแกมมา 2 หน่วย (α2γ2) เฮโมโกลบินของผู้ใหญ่ (HbA) จะมีแอลฟา 2 หน่วยและมีบีตา 2 หน่วย (α2β2) และเฮโมโกลบินของผู้ใหญ่ประเภทที่ 2 (HbA2) จะมีแอลฟา 2 หน่วยและเดลตา 2 หน่วย (α2δ2) ผู้ใหญ่ปกติจะมี HbA โดยมาก (> 96%) และ HbA2 โดยส่วนน้อย (<= 4%)
ทาลัสซีเมียแบบเบตาเป็นโรคที่มีเหตุจากการกลายพันธุ์ของยีน HBB บนโครโมโซมคู่ 11 ซึ่งสามารถเกิดขึ้นกว่า 200 ตำแหน่งบนยีน และปกติจะไม่ใช่เป็นการหลุดหาย (deletion) โดยสืบทางกรรมพันธุ์แบบผ่านลักษณะด้อยของออโตโซม (autosomal recessive) มีผลทำให้มีการสังเคราะห์ห่วงลูกโซ่แบบบีตาของโปรตีน globin ลดลงหรือไม่มี ทำให้มีลูกโซ่แบบแอลฟาเกินในระดับต่าง ๆ กันขึ้นอยู่กับการกลายพันธุ์ ซึ่งมีผลเป็นการผลิตเฮโมโกลบินแบบ A (HbA) ที่ลดลง เมื่อเม็ดเลือดแดงมีโกลบินเอน้อยลง ก็ทำให้เกิดภาวะโลหิตจางแบบเม็ดเลือดแดงเล็ก (microcytic anemia) ดังนั้น ภาวะโลหิตจางแบบเม็ดเลือดแดงเล็กจะเป็นผลโดยที่สุดของการขาด HBB
การกลายพันธุ์
มีการกลายพันธุ์สำคัญ 2 กลุ่มที่แยกแยะได้
- แบบไม่ใช่เป็นการหลุดหาย (Nondeletion) ความผิดปกติแบบนี้ทั่วไปเป็นการแทนเบสอันเดียว (single base substitution) หรือการหลุดหายเล็ก ๆ (small deletion) หรือเป็นการเพิ่ม (insert) ใกล้ ๆ กับหรือเหนือยีนโกลบินแบบบีตา บ่อยที่สุด การกลายพันธุ์จะอยู่ที่ promoter region ก่อนยีนโกลบินแบบบีตา และบ่อยครั้งน้อยกว่า เป็นรูปแบบการต่อ (splice variant) ที่ผิดปกติที่เป็นเหตุของโรค
- แบบหลุดหาย (Deletion) โดยหลุดไปในขนาดต่าง ๆ กันที่เกี่ยวข้องกับยีนโกลบินแบบบีตา ซึ่งเป็นเหตุให้เกิดกลุ่มอาการต่าง ๆ เช่น βo หรือ hereditary persistence of fetal hemoglobin (ภาวะเฮโมโกลบินของทารกยังคงอยู่แบบกรรมพันธุ์)
ในตารางต่อไปนี้ อัลลีลที่ไม่ได้กลายพันธุ์ทำให้ผิดปกติเขียนเป็น β การกลายพันธุ์ที่ขัดขวางไม่ให้เกิดห่วงลูกโซ่แบบบีตาเขียนเป็น βo การกลายพันธุ์ที่ยังทำให้สามารถผลิตห่วงลูกโซ่แบบบีตาได้บ้างเขียนเป็น β+
ชื่อ | ชื่อเก่า ๆ | รายละเอียด | อัลลีล |
---|---|---|---|
Thalassemia minor | แบบ Heterozygous: มีอัลลีลของโปรตีนโกลบินแบบ β เดียวที่มีการกลายพันธุ์ บุคคลจะมีภาวะโลหิตจางแบบเม็ดเลือดแดงเล็ก (microcytic anemia) มักจะตรวจจับได้โดยการมีค่าปริมาตรของเม็ดเลือดแดงโดยเฉลี่ย (MCV) น้อยกว่าปกติ คือ <80 fL | β+/β βo/β | |
Thalassemia intermedia | คนไข้บ่อยครั้งจะมีชีวิตปกติแต่อาจต้องมีการถ่ายเลือดเป็นครั้งคราว เช่น คราวที่ป่วยหรือตั้งครรภ์ ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของภาวะโลหิตจาง | β+/β+ βo/β+ | |
Thalassemia major | Mediterranean anemia; Cooley anemia | แบบ Homozygous: เกิดเมื่ออัลลีลทั้งสองกลายพันธุ์ จะเกิดภาวะโลหิตจางแบบเม็ดเลือดแดงเล็กและสีเลือดจางอย่างรุนแรง ถ้าไม่รักษา จะทำให้เกิดภาวะโลหิตจาง ม้ามโต (splenomegaly) และสภาวะวิรูปทางกระดูกอย่างรุนแรง และสามารถเสียชีวิตก่อนอายุ 20 ปี คนไข้ต้องถ่ายเลือดเป็นระยะ ๆ ต้องผ่าตัดเอาม้ามออกเนื่องจากม้ามโต และได้การรักษาโดยคีเลชันที่ต้องทำเนื่องจากการถ่ายเลือดอาจทำให้มีภาวะเหล็กเกิน | βo/βo |
mRNA
ทาลัสซีเมียแบบบีตาเป็นโรคทางพันธุกรรมที่มีผลต่อเฮโมโกลบิน และเหมือนกับโรกทางกรรมพันธุ์ประมาณครึ่งหนึ่งอื่น ๆการกลายพันธุ์ที่สืบทอดทางกรรมพันธุ์ทำการสร้างเอ็มอาร์เอ็นเอ (mRNA) ซึ่งเป็นการถอดรหัสจากโครโมโซมให้เสียหาย ดีเอ็นเอมีทั้งส่วนข้อมูล (คือยีน) เพื่อรวมกรดอะมิโนเข้าด้วยกันเป็นโปรตีน และส่วน (noncoding DNA) ที่มีบทบาทสำคัญในการควบคุมระดับโปรตีนที่ผลิต
นอกจากนั้นแล้ว สำหรับคนไข้ทาลัสซีเมีย ส่วนที่ไม่ใช่ข้อมูลโปรตีน ทั้งที่ยาวติดต่อกัน หรือเป็นส่วนต่าง ๆ รวมกัน ยังรวมอยู่ใน mRNA อีกด้วย นี่เป็นเพราะว่า การกลายพันธุ์ได้ทำลายเขตแดนระหว่างส่วนที่เป็น intron (คือส่วนที่ไม่เข้ารหัสโปรตีนและไม่ควรรวมเข้าใน mRNA) และ exon (คือส่วนที่เข้ารหัสโปรตีนและควรรวมเข้าใน mRNA) แต่เพราะส่วนที่เข้ารหัสก็ยังมีอยู่ ดังนั้น ก็จะผลิตทั้งเฮโมโกลบินที่ปกติโดยมีส่วนเพิ่มที่ถ้าทำให้เกิดโรค ก็จะขัดขวางการทำงานของโปรตีนจนกระทั่งมีผลเป็นภาวะโลหิตจาง หน่วยทั้งแอลฟาและบีตาซึ่งเป็นหน่วยย่อยของเฮโมโกลบินจะมีธาตุเหล็ก (heme) อยู่ตรงกลาง โดยห่วงลูกโซ่โปรตีนจะพับรอบเหล็กได้ เฮโมโกลบินปกติหนึ่ง ๆ ของผู้ใหญ่จะมีหน่วยแอลฟาและหน่วยบีตาอย่างละสองหน่วย ทาลัสซีเมียแบบบีตาปกติจะมีผลต่อ mRNA ที่ใช้ในการผลิตห่วงโซ่แบบบีตา (และดังนั้น จึงมีชื่อเช่นนั้น) แต่เพราะการกลายพันธุ์อาจจะเป็นเพียงแค่เบส ๆ เดียว (Single-nucleotide polymorphism) จึงมีงานวิจัยที่พยายามหาวิธียีนบำบัด (gene therapy) เพื่อแก้ปัญหาที่เบส ๆ เดียวนั้น
การวินิจฉัย
major และ intermedia
การปวดท้องเพราะมีม้ามโตและม้ามตาย และการปวดท้องที่ท้องด้านบนขวาเนื่องจากนิ่วเป็นอาการสำคัญของโรค แต่ว่า การจะวินิจฉัยว่าเป็นทาลัสซีเมียจากอาการเช่นนี้เพียงอย่างเดียวไม่เพียงพอ เนื่องจากโรคซับซ้อน หมอจะสังเกตเห็นอาการเช่นนี้เพียงว่าอาจสัมพันธ์กับโรค
ส่วนอาการต่อไปนี้สามารถชี้ความรุนแรงและลักษณะทางพันธุกรรม (phenotype) ของโรคได้คือ ซีด โตช้า การทานอาหารไม่พอ ม้ามโต ดีซ่าน/ผิวเหลือง ขากรรไกรบนโตเกิน (maxillary hyperplasia) การสบฟันผิดปกติ โรคนิ่วน้ำดี เสียงเต้นหัวใจผิดปกติ (murmur) ในช่วงบีบตัว (systolic) เมื่อมีพร้อมกับภาวะโลหิตจางแบบรุนแรง และจากอาการเหล่านี้ แพทย์สามารถสั่งตรวจเพื่อวินิจฉัยแยกโรคได้ รวมทั้งการตรวจนับเม็ดเลือดอย่างสมบูรณ์, hemoglobin electrophoresis, การวัด transferrin, ferritin, และ iron-binding capacity ในเลือด, และการวัด urobilin และ urobilogen ในปัสสาวะ, การดูฟิล์มเลือด ซึ่งอาจแสดง codocyte (หรือ target cells) คือเลือดที่ดูเหมือนเป้ายิงปืนหรือหมวกเม็กซิกัน (ดูรูป), ระดับฮีมาโทคริต, และระดับบิลิรูบินในเลือด
trait
โดยมากคนจะพบ trait ทาลัสซีเมียโดยบังเอิญเมื่อตรวจเลือดโดยการตรวจนับเม็ดเลือดอย่างสมบูรณ์แล้วพบว่ามีภาวะเลือดจางแบบเม็ดเลือดเล็ก (microcytic) อย่างเบา ๆ ซึ่งอาจมีเหตุจากภาวะต่าง ๆ รวมทั้งการขาดธาตุเหล็ก, ทาลัสซีเมีย, ตะกั่วเป็นพิษ, sideroblastic anemia, หรือภาวะเลือดจางเหตุโรคเรื้อรังอื่น ๆ ปริมาตรของเม็ดเลือดแดงโดยเฉลี่ย (MCV), ความกว้างของการกระจายขนาดเม็ดเลือดแดง (RDW), และประวัติคนไข้สามารถกันเหตุบางอย่างเหล่านี้ออกไป คือ สำหรับทาลัสซีเมีย MCV ปกติจะน้อยกว่า 75 fl และสำหรับการขาดธาตุเหล็ก MCV ปกติจะไม่น้อยกว่า 80 fl ยกเว้นเมื่อฮีมาโทคริตน้อยกว่า 30% สำหรับเด็ก Mentzer index คือ อัตรา MCV/red blood cell count สามารถเป็นตัวจำแนก คือสำหรับการขาดธาตุเหล็ก อัตราปกติจะสูงกว่า 13 เทียบกับทาลัสซีเมียที่น้อยกว่า 13 ถ้าอยู่ที่ 13 นี่บ่งว่าไม่ชัดเจน
RDW อาจจำแนกการขาดธาตุเหล็กและ sideroblastic anemia ออกจากทาลัสซีเมีย คือ เกิน 90% ในบุคคลที่ขาดธาตุเหล็ก RDW จะมีค่าสูง แต่จะสูงเพียงในแค่ 50% ของคนที่มีทาลัสซีเมีย และสำหรับ sideroblastic anemia ค่านี้ก็จะสูงด้วย ดังนั้น ภาวะเลือดจางแบบเม็ดเลือดเล็กที่มีค่า RDW ปกติ โดยมากจะเป็นเพราะทาลัสซีเมีย ส่วนบุคคลที่มี RDW สูงจะต้องตรวจสอบมากขึ้น
ค่าวัดเลือด | การขาดธาตุเหล็ก | α-thalassemia | β-thalassemia |
---|---|---|---|
(ผิดปกติถ้า < 80 fl ในผู้ใหญ่) | ต่ำ | ต่ำ | ต่ำ |
สูง | ปกติ บางครั้งสูง | ปกติ | |
ferritin | ต่ำ | ปกติ | ปกติ |
Mentzer index (สำหรับเด็ก) (MCV/red blood cell count) | >13 | <13 | <13 |
Hb electrophoresis | ปกติ หรือ HbA2 อาจน้อย | HbA2 มาก, HbA น้อย, HbF มาก | ผู้ใหญ่ (ปกติ) |
ระดับ ferritin เป็นการตรวจที่ไวต่อภาวะโลหิตจางเหตุขาดธาตุเหล็กมากที่สุด ดังนั้นถ้าไม่มีการอักเสบ ระดับ ferritin ปกติโดยทั่วไปจะกันการขาดธาตุเหล็กออก ภาวะเลือดจางเหตุโรคเรื้อรังบ่อยที่สุดจะเป็นแบบเบา ๆ มีเม็ดเลือดขนาดปกติ (normocytic) และมีสีปกติ (normochromic)
ทาลัสซีเมียแบบบีตาจะมีระดับ HbA ที่ลดลงหรือหรือไม่มี มี HbA2 สูงขึ้น และมี HbF สูงขึ้น แต่ว่าการมีระดับ HbA2 ปกติไม่ได้กันทาลัสซีเมียแบบบีตาออกโดยเฉพาะถ้ามีการขาดธาตุเหล็กพร้อม ๆ กัน ซึ่งสามารถลด HbA2 สู่ระดับปกติ ทาลัสซีเมียแบบแอลฟาโดยทั่วไปจะแสดง HbA และ HbA2 ในระดับปกติ ถ้าเด็กทารกเกิดใหม่มีเฮโมโกลบินแบบ HbH หรือ Hb Bart เด็กจะมีทาลัสซีเมียแบบแอลฟา
การวิเคราะห์ดีเอ็นเอ
ทาลัสซีเมียแบบบีตาทุกระดับอาจมีเม็ดเลือดที่ผิดปกติ หมออาจสั่งการวิเคราะห์หลังการสืบประวัติครอบครัวได้ ซึ่งใช้เพื่อตรวจสอบการหลุดหาย (deletion) และการกลายพันธุ์ ในยีนที่เข้ารหัสการผลิตโปรตีนโกลบินแบบแอลฟาและบีตา การศึกษาในครอบครัวสามารถทำได้เพื่อตรวจสอบความเป็นพาหะและการกลายพันธุ์อื่น ๆ ที่อาจมีในสมาชิกครอบครัว แม้การตรวจดีเอ็นเอจะไม่ได้ทำเป็นปกติ แต่ก็สามารถช่วยวินิจฉัยโรคและกำหนดความเป็นพาหะได้ ในกรณีโดยมาก หมอที่รักษาจะใช้การวินิจฉัยอาการเกี่ยวกับภาวะโลหิตจาง คือ อ่อนเปลี้ย หายใจไม่พอ และการทนออกกำลังกายได้ไม่ดี การวิเคราะห์ทางกรรมพันธุ์อาจรวม High-performance liquid chromatography ถ้า electrophoresis เป็นไปไม่ได้
การรักษา
Beta thalassemia major
เด็กคนไข้อาจจะต้องถ่ายเลือดตลอดชีวิตและบริหารปัญหาอื่น ๆ รวมทั้งที่เกี่ยวกับม้าม การปลูกถ่ายไขกระดูก อาจสามารถรักษาเด็กบางรายได้ คนไข้ที่ถ่ายเลือดบ่อย ๆ อาจเสี่ยงต่อภาวะเหล็กเกิน (iron overload) ดังนั้น Iron chelation treatment (การรักษาไม่ให้เหล็กไปสะสมในอวัยวะต่าง ๆ โดยคีเลชัน) อาจจำเป็นเพื่อป้องกันความเสียหายต่ออวัยวะภายในต่าง ๆ ปัจจุบันความก้าวหน้าในการรักษานี้สามารถช่วยให้คนไข้ที่มี thalassemia major มีชีวิตอยู่ได้นานตราบเท่าที่สามารถเข้าถึงการรักษาที่สมควรได้ ยาที่ใช้ในกระบวนการคีเลชันรวมทั้ง deferoxamine และ deferiprone
สิ่งที่คนไข้บ่นมากที่สุดกับการใช้ยา deferoxamine (ซึ่งต้องฉีดเข้าใต้ผิวหนังเป็นเวลา 8-12 ชม. แต่ละวัน) ก็คือมันเจ็บและไม่สะดวก มียาทาน คือ deferasirox ที่อนุมัติให้ใช้ในบางประเทศในปี 2548 แล้ว ซึ่งช่วยให้ทำตามหมอสั่งได้ดีกว่าแต่ก็มีค่าใช้จ่ายสูงกว่า การปลูกถ่ายไขกระดูกเป็นวิธีรักษาหายขาดอย่างเดียว และควรใช้กับคนไข้ที่มี thalassemia major อาการรุนแรง การปลูกถ่ายจะช่วยกำจัดการต้องถ่ายเลือด ถ้าไม่มีผู้บริจาคที่สมควร ปัจจุบันมีวิธีการผสมเทียมเพื่อให้มีน้องช่วยชีวิต (savior sibling) ที่ไม่มีโรคและเข้ากันโดย human leukocyte antigen (HLA) กับพี่ผู้รับบริจาคได้
นักวิทยาศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยแพทย์คอร์เนล ได้พัฒนาวิธียีนบำบัดที่อาจใช้รักษาทั้งโรคทาลัสซีเมียแบบบีตา และโรคเม็ดเลือดแดงรูปเคียวได้ เทคโนโลยีใช้การส่งพาหะไวรัส (lentiviral vector) ที่มีทั้งยีนโกลบินแบบเบตาของมนุษย์ และ ankyrin insulator เพื่อช่วยปรับปรุงการถอดและการแปลรหัสยีนเพื่อเพิ่มระดับการผลิตของโกลบินเบตา
Beta thalassemia intermedia
คนไข้อาจจำเป็นต้องได้การถ่ายเลือดเป็นระยะ ๆ แต่คนไข้ที่ต้องถ่ายเลือดจะเกิดภาวะเหล็กเกินได้ และต้องได้การรักษาแบบ chelation therapy เพื่อกำจัดธาตุเหล็กที่เกิน การสืบทางพันธุกรรมเป็นแบบ autosomal recessive (ผ่านลักษณะด้อยของออโตโซม) แต่ว่าก็มีการกลายพันธุ์แบบเด่น (dominant) และแบบ compound heterozygotes ที่รายงานด้วย การตรวจพันธุกรรม (Genetic counseling) และการตรวจวินิจฉัยทารกในครรภ์ (prenatal diagnosis) อาจจำเป็น
Beta thalassemia minor
บุคคลที่มี trait ทาลัสซีเมียไม่จำเป็นต้องรักษา ไม่ต้องสอดส่อง ปกติจะไม่ขาดธาตุเหล็ก การเสริมธาตุเหล็กจะไม่ช่วยภาวะเลือดจางของบุคคลนี้ และ ดังนั้น จึงไม่ควรทานธาตุเหล็กเสริมยกเว้นถ้าขาดธาตุเหล็ก
แม้คนที่มีภาวะระดับนี้ไม่จำเป็นต้องถ่ายเลือด แต่ก็ยังเสี่ยงต่อภาวะเหล็กเกิน (iron overload) โดยเฉพาะที่ตับ การเช็ค ferritin ที่บอกระดับเหล็กในเลือดสามารถบ่งชี้การรักษาอื่น ๆ ต่อไปได้ แม้ว่าจะไม่เสี่ยงชีวิต โรคอาจมีผลต่อคุณภาพชีวิตเนื่องจากภาวะโลหิตจาง คนมีภาวะในระดับนี้บ่อยครั้งมีโรค/อาการอื่น ๆ พร้อมกันไปด้วยเช่น โรคหืด และสามารถเป็นเหตุต่อภาวะเหล็กเกินในตับ โดยเฉพาะในบุคคลที่ตับคั่งไขมัน (non-alcoholic fatty liver disease) ซึ่งอาจนำไปสู่ผลที่รุนแรงขึ้น
วิทยาการระบาด
ทาลัสซีเมียแบบบีตาค่อนข้างชุกมากในคนแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และความสัมพันธ์กับเขตนี้เป็นเหตุของชื่อโรค คือ "thalassa" (θάλασσα) ซึ่งเป็นคำภาษากรีกหมายถึงทะเล และ haema (αἷμα) ซึ่งแปลว่าเลือด ในทวีปยุโรป แถบที่โรคชุกที่สุดอยู่ที่ฝั่งทะเลของประเทศกรีซและตุรกี เกาะใหญ่ต่าง ๆ ในเขตทะเลเมดิเตอร์เรเนียน (ยกเว้นหมู่เกาะแบลีแอริก) เช่น ซิซิลี ซาร์ดิเนีย คอร์ซิกา ไซปรัส มอลตา และครีต จะชุกเป็นพิเศษ คนเมดิเตอร์เรเนียน และคนที่อยู่ใกล้ ๆ เขตเมดิเตอร์เรเนียน มีความชุกของโรคสูงเช่นกัน รวมทั้งคนในเอเชียตะวันตกและแอฟริกาเหนือ ข้อมูลบ่งว่า 15% ของคนไซปรัสเชื้อสายกรีกและตุรกี เป็นพาหะของยีนทาลัสซีเมียแบบบีตา ในขณะที่ 10% เป็นพาหะของยีนทาลัสซีเมียแบบแอลฟา
5% ของประชากรโลกมีโปรตีน globin ที่ต่างไปจากปกติ แต่เพียงแค่ 1.7% มีทาลัสซีเมียแบบแอลฟาหรือบีตา ทั้งชายหญิงมีโรคเท่า ๆ กัน โดยมีอัตราที่ 4.4 ต่อเด็กที่เกิดโดยรอดชีวิต 10,000 คน แบบอัลฟาเกิดบ่อยที่สุดในคนแอฟริกาและคนเอเชียอาคเนย์ แบบเบตาเกิดบ่อยที่สุดในคนเขตเมดิเตอร์เรนียน คนแอฟริกา และคนเอเชียอาคเนย์ โดยมีความชุกของโรคในหมู่คนเหล่านี้ประมาณ 5-30%
เป็นการปรับตัวทางวิวัฒนาการ
การมีลักษณะสืบสายพันธุ์ (trait) เป็นทาลัสซีเมียอาจจะช่วยป้องกันมาลาเรีย ซึ่งเป็นโรคที่ชุกในเขตที่ลักษณะสืบสายพันธุ์เช่นนั้นมีอยู่อย่างสามัญ และดังนั้น การมีจึงให้ความได้เปรียบในการรอดชีวิตโดยเฉพาะกับพาหะ (ดังที่รู้จักกันว่าเป็น heterozygous advantage) ซึ่งช่วยให้การกลายพันธุ์เป็นลักษณะที่ไม่หมดสิ้น เพราะเหตุนี้ ทาลัสซีเมียแบบต่าง ๆ จึงคล้ายกับโรคทางพันธุกรรมอีกอย่างหนึ่งที่มีผลต่อเฮโมโกลบิน คือ โรคเม็ดเลือดแดงรูปเคียว
ดูเพิ่ม
เชิงอรรถและอ้างอิง
- Galanello, Renzo; Origa, Raffaella (2010-05-21). "Beta-thalassemia". Orphanet J Rare Dis. Orphanet Journal of Rare Diseases. 5: 11. doi:10.1186/1750-1172-5-11. PMC 2893117. PMID 20492708.
- Goldman, Lee; Schafer, Andrew I. (2015-04-21). Goldman-Cecil Medicine: Expert Consult - Online. Elsevier Health Sciences. ISBN .
- Muncie, Herbert L, Jr (MD); Campbell, James S (MD) (2009-08-15). "Alpha and Beta Thalassemia". Am Fam Physician. 80 (4).
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - Carton, James (2012-02-16). Oxford Handbook of Clinical Pathology. OUP Oxford. ISBN .
- Perkin, Ronald M.; Newton, Dale A.; Swift, James D. (2008). Pediatric Hospital Medicine: Textbook of Inpatient Management. Lippincott Williams & Wilkins. ISBN .
- Galanello, Renzo; Origa, Raffaella (2010-05-21). "Beta-thalassemia". Orphanet Journal of Rare Diseases. 5 (1): 11. doi:10.1186/1750-1172-5-11. ISSN 1750-1172. PMC 2893117. PMID 20492708.
- "Beta thalassemia". Genetics Home Reference. สืบค้นเมื่อ 2015-05-26.
- Introduction to Pathology for the Physical Therapist Assistant. Jones & Bartlett Publishers. 2011. ISBN .
- Anderson, Gregory J.; McLaren, Gordon D. (2012-01-16). Iron Physiology and Pathophysiology in Humans. Springer Science & Business Media. ISBN .
- Barton, James C.; Edwards, Corwin Q.; Phatak, Pradyumna D.; Britton, Robert S.; Bacon, Bruce R. (2010-07-22). Handbook of Iron Overload Disorders. Cambridge University Press. ISBN .
- McCance, Kathryn L.; Huether, Sue E. (2013-12-13). Pathophysiology: The Biologic Basis for Disease in Adults and Children. Elsevier Health Sciences. ISBN .
- Leonard, Debra G. B. (2007-11-25). Molecular Pathology in Clinical Practice. Springer Science & Business Media. ISBN .
- Bowen, Juan M.; Mazzaferri, Ernest L. (2012-12-06). Contemporary Internal Medicine: Clinical Case Studies. Springer Science & Business Media. ISBN .
- . Jaypee Brothers Publishers. 2006. ISBN . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-04-06. สืบค้นเมื่อ 2016-12-19.
- Disorders, National Organization for Rare (2003). NORD Guide to Rare Disorders. Lippincott Williams & Wilkins. ISBN .
- Barton, James C.; Edwards, Corwin Q. (2000-01-13). Hemochromatosis: Genetics, Pathophysiology, Diagnosis and Treatment. Cambridge University Press. ISBN .
- Wilkins, Lippincott Williams & (2009). Professional Guide to Diseases. Lippincott Williams & Wilkins. ISBN .
- Ward, Amanda J; Cooper, Thomas A (2009). "The pathobiology of splicing". The Journal of Pathology. 220 (2): 152–63. doi:10.1002/path.2649. PMC 2855871. PMID 19918805.
- "the definition of dna". Dictionary.com. สืบค้นเมื่อ 2015-05-26.
- Okpala, Iheanyi (2008-04-15). Practical Management of Haemoglobinopathies. John Wiley & Sons. ISBN .
- Vasudevan, D. M.; Sreekumari, S.; Vaidyanathan, Kannan (2011-11-01). Textbook of Biochemistry for Dental Students. JP Medical Ltd. ISBN .
- Taeusch, H. William; Ballard, Roberta A.; Gleason, Christine A.; Avery, Mary Ellen (2005). Avery's Diseases of the Newborn. Elsevier Health Sciences. ISBN .
- Beta Thalassemia: New Insights for the Healthcare Professional: 2013 Edition: ScholarlyBrief. ScholarlyEditions. 2013-07-22. ISBN .
- "How Are Thalassemias Diagnosed? - NHLBI, NIH". www.nhlbi.nih.gov. สืบค้นเมื่อ 2015-05-26.
- "Target Cells". Imperial College of London Department of Medicine.
- Orkin, Stuart H.; Nathan, David G.; Ginsburg, David; Look, A. Thomas; Fisher, David E.; Lux, Samuel (2009). Nathan and Oski's Hematology of Infancy and Childhood (7th ed.). Philadelphia: Saunders. ISBN . []
- "What Are the Signs and Symptoms of Thalassemias? - NHLBI, NIH". www.nhlbi.nih.gov. สืบค้นเมื่อ 2015-05-26.
- McKinney, Emily Slone; James, Susan R.; Murray, Sharon Smith; Nelson, Kristine; Ashwill, Jean (2014-04-17). Maternal-Child Nursing. Elsevier Health Sciences. ISBN .
- Schrijver, Iris (2011-09-09). Diagnostic Molecular Pathology in Practice: A Case-Based Approach. Springer Science & Business Media. ISBN .
- Muncie, Herbert L.; Campbell, James S. (2009). "Alpha and Beta Thalassemia". American Family Physician. 80 (4): 339–44. PMID 19678601.
- Greer, John P.; Arber, Daniel A.; Glader, Bertil; List, Alan F.; Means, Robert T.; Paraskevas, Frixos; Rodgers, George M. (2013-08-29). Wintrobe's Clinical Hematology. Lippincott Williams & Wilkins. ISBN .
- Greer, John P.; Arber, Daniel A.; Glader, Bertil; List, Alan F.; Means, Robert T.; Paraskevas, Frixos; Rodgers, George M. (2013-08-29). Wintrobe's Clinical Hematology. Lippincott Williams & Wilkins. ISBN .
- Hydroxamic Acids: Advances in Research and Application: 2011 Edition: ScholarlyPaper. ScholarlyEditions. 2012-01-09. ISBN .
- "NCBI - WWW Error Blocked Diagnostic". pubchem.ncbi.nlm.nih.gov. สืบค้นเมื่อ 2015-05-26.
- "Deferoxamine". livertox.nih.gov. สืบค้นเมื่อ 2015-05-26.
- Sabloff, Mitchell; Chandy, Mammen; Wang, Zhiwei; Logan, Brent R.; Ghavamzadeh, Ardeshir; Li, Chi-Kong; Irfan, Syed Mohammad; Bredeson, Christopher N.; Cowan, Morton J. (2011). "HLA-matched sibling bone marrow transplantation for β-thalassemia major". Blood. 117 (5): 1745–1750. doi:10.1182/blood-2010-09-306829. ISSN 0006-4971. PMC 3056598. PMID 21119108.
- "Gene Therapy Shows Promise for Treating Beta-Thalassemia and Sickle Cell Disease". สืบค้นเมื่อ 2015-10-15.
- Schwartz, M. William (2012). The 5 Minute Pediatric Consult. Lippincott Williams & Wilkins. ISBN .
- Porwit, Anna; McCullough, Jeffrey; Erber, Wendy N. (2011-05-27). Blood and Bone Marrow Pathology. Elsevier Health Sciences. ISBN .
- Torre, Dario M.; Lamb, Geoffrey C.; Ruiswyk, Jerome Van; Schapira, Ralph M. (2009). Kochar's Clinical Medicine for Students. Lippincott Williams & Wilkins. ISBN .
- Brissot, Pierre; Cappellini, Maria Domenica (2014). "LIVER DISEASE".
{{}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
((help)) - . www.who.int. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-05-27. สืบค้นเมื่อ 2015-05-26.
- Berg, Sheri; Bittner, Edward A. (2013-10-16). The MGH Review of Critical Care Medicine. Lippincott Williams & Wilkins. ISBN .
- Haematology Made Easy. AuthorHouse. 2013-02-06. ISBN .
- Abouelmagd, Ahmed; Ageely, Hussein M. (2013). Basic Genetics: A Primer Covering Molecular Composition of Genetic Material, Gene Expression and Genetic Engineering, and Mutations and Human Genetic. Universal-Publishers. ISBN .
- Weatherall, David J. Lichtman, MA,; Kipps, TJ,; Seligsohn, U,; Kaushansky, K,; Prchal, JT (บ.ก.). . Williams Hematology (8 ed.). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-11-04. สืบค้นเมื่อ 2016-12-19.
{{}}
: CS1 maint: extra punctuation ()
แหล่งข้อมูลอื่น
- Cao, Antonio; Galanello, Renzo (2010). "Beta-Thalassemia". ใน Pagon, Roberta A; Bird, Thomas D; Dolan, Cynthia R; Stephens, Karen; Adam, Margaret P (บ.ก.). . PMID 20301599.
- Bahal, Raman; McNeer, Nicole Ali; Quijano, Elias; Liu, Yanfeng; Sulkowski, Parker; Turchick, Audrey; Lu, Yi-Chien; Bhunia, Dinesh C.; Manna, Arunava; Greiner, Dale L.; Brehm, Michael A.; Cheng, Christopher J.; López-Giráldez, Francesc; Ricciardi, Adele; Beloor, Jagadish; Krause, Diane S.; Kumar, Priti; Gallagher, Patrick G.; Braddock, Demetrios T.; Saltzman, W. Mark; Ly, Danith H.; Glazer, Peter M. (2016-10-26). "In vivo correction of anaemia in β-thalassemic mice by γPNA-mediated gene editing with nanoparticle delivery". Nature Communications (ภาษาอังกฤษ). 7. doi:10.1038/ncomms13304. ISSN 2041-1723. สืบค้นเมื่อ 2016-10-26.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
thalssiemiyaebbbita xngkvs Beta thalassemias b thalassemias epnklumorkheluxdthisubthxdthangphnthukrrm epnrupaebbkhxngthalssiemiythimiehtucakkarsngekhraahhwnglukosbitakhxngehomoklbin HBB thiphidpkti khuxldlnghruximmiely sungxacmiphltang erimtncakphawaeluxdcangxyangrunaerng cnthungbukhkhlthiimmixakarely khwamchukkhxngorkhthwolktxpixyuthi 1 in 100 000 epnorkhthimiehtucakkarklayphnthukhxngyin HBB bnokhromosmkhuthi 11 odysubthangkrrmphnthuaebbphanlksnadxykhxngxxotosm autosomal recessive khwamrunaerngkhxngorkhkhunxyukblksnakarklayphnthu aetodythwipaelwkhwamimsmdulkhxnghwnglukosaexlfaaelabitacathaihekidkarslaykhxngemdeluxdaedng hemolysis aelakarsrangemdeluxdaedngthiimmiprasiththiphaph khnthimikrrmphnthuaebblksnasubsayphnthu trait caimmixakar imtxngrksa aelacamikarkhadhmaykhngchiphthixayupkti phuthimiorkhetmtw major camiphawaeluxdcangaebbemdeluxdaedngslay imot aelamikhwamphidpktithangkradukinwythark edkthimiorkhetmtwcatxngthayeluxdtlxdchiwit phuthimiorkhetmtwmkcaesiychiwitekiywkbpyhathanghwicenuxngcakphawaehlkekinodyxayu 30 pi phuthimiorkhradbpanklang intermedia mixakarrunaerngnxykwaaetxaccatxngthayeluxdepnkhrngkhraw bukhkhlthimiorkhkhwrcapruksaaephthykxnmibutr kxnaetngnganthalssiemiyaebbbita Beta thalassemia karsubthxdthangkrrmphnthukhxngthalssiemiyaebbbitabychicaaenkaelalingkipphaynxkICD 10D56 1ICD 282 441419003087 1373article 199534MeSHD017086 khwamkhdkhxnginkarthxdrhsyin HBB miphlepnkarsngekhraahhwnglukosbitakhxngoprtinoklbinthildlng sungmiphlepnkarphlitehomoklbinaebb A HbA thildlng emuxemdeluxdaedngmioklbinexnxylng kthaihekidphawaolhitcangaebbemdeluxdaedngelk microcytic anemia dngnn phawaolhitcangaebbemdeluxdaedngelkcaepnphlodythisudkhxngkarkhad HBB ephraaehtuni khnikhxaccaepntxngidkarthayeluxdephuxthdaethnkarimphlithwnglukosbita aetkarthayeluxdsa xacnaipsuphawaehlkekin iron overload sungmiphlepn iron toxicity aelaphawaehlkepnphissamarthmiphlhlayxyang rwmthng myocardial siderosis phawasasmehlkinhwic aelahwicwaysungxacthaihthungchiwitxakarmuxkhxngkhnikhthimiphawaolhitcangrunaerngethiybkbthiimmi orkhmisamradb khux thalassemia major thalssiemiyihy thalassemia intermedia thalssiemiyklang aela thalassemia minor thalssiemiynxy khnikhthukradbcaesiyngmipyhamam sungbxykhrngcaihykhunaelatxngtdxxk aelapyhaniwinthungnadi aetpyhaodymakcaphbinthalssiemiyihyaelathalssiemiyklang khnikhthimithalssiemiyihymkcaprakttngaet 2 piaerkinchiwit ephraamiphawaolhitcangrunaerng imot aelakradukphidpktitngaetyngepnthark thaimrksa thalssiemiyihyxacthaihthungchiwit odypktiephraahwicway dngnn kartrwckhdkrxngemuxkaenidepneruxngcaepn karmiehlkekinxacmiphlrunaerngtxtb hwic aelatxmirthx xakarrunaerngrwmthng tbaekhng tbekidphngphud liver fibrosis aelainkrnithirunaerngmaerngtbhwicway karimot orkhebahwan phawakradukphrun epnpccyesiyngthiekiywenuxngkbphawani khwamphidpktikhxnghwicthimacakphawaniaelaphawaehlkekinkkhux khwamphidpktikhxnghwichxnglangthnginchwngbibchwngkhlay ventricular systolic diastolic dysfunction phawakhwamdnolhitsunginesneluxdpxd pulmonary hypertension khwamphidpktikhxnglinhwic valvulopathy hwicetnphidcnghwa arrhythmia aelaeyuxhumhwicxkesb pericarditis kardudsumehlkphanthangedinxaharsungkhuninphawanithukradb aelaephimradbkarthalayemdeluxdaednginmamenuxngcakkarsrangemdeluxdaedngthiimmiprasiththiphaphkcaplxyehlkephimkhunekhaineluxdehtuehomoklbinineluxdmilksnaepnwngaehwn heme mihnwyyxyepnhwnglukosoprtin globin 4 hnwy ody 2 hnwyepnaebbaexlfa aelaxiksxnghnwyaebbxunnxkcakaexlfa hnwyyxyehlanicaepntwkahndpraephthkhxngehomoklbin ehomoklbinkhxngthark HbF camiaexlfa 2 hnwyaelaaekmma 2 hnwy a2g2 ehomoklbinkhxngphuihy HbA camiaexlfa 2 hnwyaelamibita 2 hnwy a2b2 aelaehomoklbinkhxngphuihypraephththi 2 HbA2 camiaexlfa 2 hnwyaelaedlta 2 hnwy a2d2 phuihypkticami HbA odymak gt 96 aela HbA2 odyswnnxy lt 4 thalssiemiyaebbebtaepnorkhthimiehtucakkarklayphnthukhxngyin HBB bnokhromosmkhu 11 sungsamarthekidkhunkwa 200 taaehnngbnyin aelapkticaimichepnkarhludhay deletion odysubthangkrrmphnthuaebbphanlksnadxykhxngxxotosm autosomal recessive miphlthaihmikarsngekhraahhwnglukosaebbbitakhxngoprtin globin ldlnghruximmi thaihmilukosaebbaexlfaekininradbtang knkhunxyukbkarklayphnthu sungmiphlepnkarphlitehomoklbinaebb A HbA thildlng emuxemdeluxdaedngmioklbinexnxylng kthaihekidphawaolhitcangaebbemdeluxdaedngelk microcytic anemia dngnn phawaolhitcangaebbemdeluxdaedngelkcaepnphlodythisudkhxngkarkhad HBB karklayphnthu mikarklayphnthusakhy 2 klumthiaeykaeyaid aebbimichepnkarhludhay Nondeletion khwamphidpktiaebbnithwipepnkaraethnebsxnediyw single base substitution hruxkarhludhayelk small deletion hruxepnkarephim insert ikl kbhruxehnuxyinoklbinaebbbita bxythisud karklayphnthucaxyuthi promoter region kxnyinoklbinaebbbita aelabxykhrngnxykwa epnrupaebbkartx splice variant thiphidpktithiepnehtukhxngorkh aebbhludhay Deletion odyhludipinkhnadtang knthiekiywkhxngkbyinoklbinaebbbita sungepnehtuihekidklumxakartang echn bo hrux hereditary persistence of fetal hemoglobin phawaehomoklbinkhxngtharkyngkhngxyuaebbkrrmphnthu intarangtxipni xllilthiimidklayphnthuthaihphidpktiekhiynepn b karklayphnthuthikhdkhwangimihekidhwnglukosaebbbitaekhiynepn bo karklayphnthuthiyngthaihsamarthphlithwnglukosaebbbitaidbangekhiynepn b chux chuxeka raylaexiyd xllilThalassemia minor aebb Heterozygous mixllilkhxngoprtinoklbinaebb b ediywthimikarklayphnthu bukhkhlcamiphawaolhitcangaebbemdeluxdaedngelk microcytic anemia mkcatrwccbidodykarmikhaprimatrkhxngemdeluxdaedngodyechliy MCV nxykwapkti khux lt 80 fL b b bo bThalassemia intermedia khnikhbxykhrngcamichiwitpktiaetxactxngmikarthayeluxdepnkhrngkhraw echn khrawthipwyhruxtngkhrrph khunxyukbkhwamrunaerngkhxngphawaolhitcang b b bo b Thalassemia major Mediterranean anemia Cooley anemia aebb Homozygous ekidemuxxllilthngsxngklayphnthu caekidphawaolhitcangaebbemdeluxdaedngelkaelasieluxdcangxyangrunaerng thaimrksa cathaihekidphawaolhitcang mamot splenomegaly aelasphawawirupthangkradukxyangrunaerng aelasamarthesiychiwitkxnxayu 20 pi khnikhtxngthayeluxdepnraya txngphatdexamamxxkenuxngcakmamot aelaidkarrksaodykhielchnthitxngthaenuxngcakkarthayeluxdxacthaihmiphawaehlkekin bo bomRNA oprtin HBB PDB 1a00 epnoprtinoklbinaebbbitathidi thalssiemiyaebbbitaepnorkhthangphnthukrrmthimiphltxehomoklbin aelaehmuxnkborkthangkrrmphnthupramankhrunghnungxun karklayphnthuthisubthxdthangkrrmphnthuthakarsrangexmxarexnex mRNA sungepnkarthxdrhscakokhromosmihesiyhay diexnexmithngswnkhxmul khuxyin ephuxrwmkrdxamionekhadwyknepnoprtin aelaswn noncoding DNA thimibthbathsakhyinkarkhwbkhumradboprtinthiphlit nxkcaknnaelw sahrbkhnikhthalssiemiy swnthiimichkhxmuloprtin thngthiyawtidtxkn hruxepnswntang rwmkn yngrwmxyuin mRNA xikdwy niepnephraawa karklayphnthuidthalayekhtaednrahwangswnthiepn intron khuxswnthiimekharhsoprtinaelaimkhwrrwmekhain mRNA aela exon khuxswnthiekharhsoprtinaelakhwrrwmekhain mRNA aetephraaswnthiekharhskyngmixyu dngnn kcaphlitthngehomoklbinthipktiodymiswnephimthithathaihekidorkh kcakhdkhwangkarthangankhxngoprtincnkrathngmiphlepnphawaolhitcang hnwythngaexlfaaelabitasungepnhnwyyxykhxngehomoklbincamithatuehlk heme xyutrngklang odyhwnglukosoprtincaphbrxbehlkid ehomoklbinpktihnung khxngphuihycamihnwyaexlfaaelahnwybitaxyanglasxnghnwy thalssiemiyaebbbitapkticamiphltx mRNA thiichinkarphlithwngosaebbbita aeladngnn cungmichuxechnnn aetephraakarklayphnthuxaccaepnephiyngaekhebs ediyw Single nucleotide polymorphism cungminganwicythiphyayamhawithiyinbabd gene therapy ephuxaekpyhathiebs ediywnn Codocytes ineluxdmnusy aetmsiaebb Giemsa stain hruxbangkhrngruckwaesllepayingpunhruxhmwkemksiknkarwinicchymajor aela intermedia karpwdthxngephraamimamotaelamamtay aelakarpwdthxngthithxngdanbnkhwaenuxngcakniwepnxakarsakhykhxngorkh aetwa karcawinicchywaepnthalssiemiycakxakarechnniephiyngxyangediywimephiyngphx enuxngcakorkhsbsxn hmxcasngektehnxakarechnniephiyngwaxacsmphnthkborkh swnxakartxipnisamarthchikhwamrunaerngaelalksnathangphnthukrrm phenotype khxngorkhidkhux sid otcha karthanxaharimphx mamot disan phiwehluxng khakrrikrbnotekin maxillary hyperplasia karsbfnphidpkti orkhniwnadi esiyngetnhwicphidpkti murmur inchwngbibtw systolic emuxmiphrxmkbphawaolhitcangaebbrunaerng aelacakxakarehlani aephthysamarthsngtrwcephuxwinicchyaeykorkhid rwmthngkartrwcnbemdeluxdxyangsmburn hemoglobin electrophoresis karwd transferrin ferritin aela iron binding capacity ineluxd aelakarwd urobilin aela urobilogen inpssawa kardufilmeluxd sungxacaesdng codocyte hrux target cells khuxeluxdthiduehmuxnepayingpunhruxhmwkemksikn durup radbhimaothkhrit aelaradbbilirubinineluxd trait odymakkhncaphb trait thalssiemiyodybngexiyemuxtrwceluxdodykartrwcnbemdeluxdxyangsmburnaelwphbwamiphawaeluxdcangaebbemdeluxdelk microcytic xyangeba sungxacmiehtucakphawatang rwmthngkarkhadthatuehlk thalssiemiy takwepnphis sideroblastic anemia hruxphawaeluxdcangehtuorkheruxrngxun primatrkhxngemdeluxdaedngodyechliy MCV khwamkwangkhxngkarkracaykhnademdeluxdaedng RDW aelaprawtikhnikhsamarthknehtubangxyangehlanixxkip khux sahrbthalssiemiy MCV pkticanxykwa 75 fl aelasahrbkarkhadthatuehlk MCV pkticaimnxykwa 80 fl ykewnemuxhimaothkhritnxykwa 30 sahrbedk Mentzer index khux xtra MCV red blood cell count samarthepntwcaaenk khuxsahrbkarkhadthatuehlk xtrapkticasungkwa 13 ethiybkbthalssiemiythinxykwa 13 thaxyuthi 13 nibngwaimchdecn RDW xaccaaenkkarkhadthatuehlkaela sideroblastic anemia xxkcakthalssiemiy khux ekin 90 inbukhkhlthikhadthatuehlk RDW camikhasung aetcasungephiynginaekh 50 khxngkhnthimithalssiemiy aelasahrb sideroblastic anemia khanikcasungdwy dngnn phawaeluxdcangaebbemdeluxdelkthimikha RDW pkti odymakcaepnephraathalssiemiy swnbukhkhlthimi RDW sungcatxngtrwcsxbmakkhun khaeluxdepriybethiybrahwangkarkhadthatuehlk thalssiemiyaexlfaaelabita khawdeluxd karkhadthatuehlk a thalassemia b thalassemia phidpktitha lt 80 fl inphuihy ta ta tasung pkti bangkhrngsung pktiferritin ta pkti pktiMentzer index sahrbedk MCV red blood cell count gt 13 lt 13 lt 13Hb electrophoresis pkti hrux HbA2 xacnxy HbA2 mak HbA nxy HbF mak phuihy pkti radb ferritin epnkartrwcthiiwtxphawaolhitcangehtukhadthatuehlkmakthisud dngnnthaimmikarxkesb radb ferritin pktiodythwipcaknkarkhadthatuehlkxxk phawaeluxdcangehtuorkheruxrngbxythisudcaepnaebbeba miemdeluxdkhnadpkti normocytic aelamisipkti normochromic thalssiemiyaebbbitacamiradb HbA thildlnghruxhruximmi mi HbA2 sungkhun aelami HbF sungkhun aetwakarmiradb HbA2 pktiimidknthalssiemiyaebbbitaxxkodyechphaathamikarkhadthatuehlkphrxm kn sungsamarthld HbA2 suradbpkti thalssiemiyaebbaexlfaodythwipcaaesdng HbA aela HbA2 inradbpkti thaedktharkekidihmmiehomoklbinaebb HbH hrux Hb Bart edkcamithalssiemiyaebbaexlfa karwiekhraahdiexnex thalssiemiyaebbbitathukradbxacmiemdeluxdthiphidpkti hmxxacsngkarwiekhraahhlngkarsubprawtikhrxbkhrwid sungichephuxtrwcsxbkarhludhay deletion aelakarklayphnthu inyinthiekharhskarphlitoprtinoklbinaebbaexlfaaelabita karsuksainkhrxbkhrwsamarththaidephuxtrwcsxbkhwamepnphahaaelakarklayphnthuxun thixacmiinsmachikkhrxbkhrw aemkartrwcdiexnexcaimidthaepnpkti aetksamarthchwywinicchyorkhaelakahndkhwamepnphahaid inkrniodymak hmxthirksacaichkarwinicchyxakarekiywkbphawaolhitcang khux xxnepliy hayicimphx aelakarthnxxkkalngkayidimdi karwiekhraahthangkrrmphnthuxacrwm High performance liquid chromatography tha electrophoresis epnipimid mamthiphatdxxkcakedkthalssiemiy ihykwapkti 15 ethakarrksaBeta thalassemia major edkkhnikhxaccatxngthayeluxdtlxdchiwitaelabriharpyhaxun rwmthngthiekiywkbmam karplukthayikhkraduk xacsamarthrksaedkbangrayid khnikhthithayeluxdbxy xacesiyngtxphawaehlkekin iron overload dngnn Iron chelation treatment karrksaimihehlkipsasminxwywatang odykhielchn xaccaepnephuxpxngknkhwamesiyhaytxxwywaphayintang pccubnkhwamkawhnainkarrksanisamarthchwyihkhnikhthimi thalassemia major michiwitxyuidnantrabethathisamarthekhathungkarrksathismkhwrid yathiichinkrabwnkarkhielchnrwmthng deferoxamine aela deferiprone singthikhnikhbnmakthisudkbkarichya deferoxamine sungtxngchidekhaitphiwhnngepnewla 8 12 chm aetlawn kkhuxmnecbaelaimsadwk miyathan khux deferasirox thixnumtiihichinbangpraethsinpi 2548 aelw sungchwyihthatamhmxsngiddikwaaetkmikhaichcaysungkwa karplukthayikhkradukepnwithirksahaykhadxyangediyw aelakhwrichkbkhnikhthimi thalassemia major xakarrunaerng karplukthaycachwykacdkartxngthayeluxd thaimmiphubricakhthismkhwr pccubnmiwithikarphsmethiymephuxihminxngchwychiwit savior sibling thiimmiorkhaelaekhaknody human leukocyte antigen HLA kbphiphurbbricakhid nkwithyasastrthimhawithyalyaephthykhxrenl idphthnawithiyinbabdthixacichrksathngorkhthalssiemiyaebbbita aelaorkhemdeluxdaedngrupekhiywid ethkhonolyiichkarsngphahaiwrs lentiviral vector thimithngyinoklbinaebbebtakhxngmnusy aela ankyrin insulator ephuxchwyprbprungkarthxdaelakaraeplrhsyinephuxephimradbkarphlitkhxngoklbinebta Beta thalassemia intermedia khnikhxaccaepntxngidkarthayeluxdepnraya aetkhnikhthitxngthayeluxdcaekidphawaehlkekinid aelatxngidkarrksaaebb chelation therapy ephuxkacdthatuehlkthiekin karsubthangphnthukrrmepnaebb autosomal recessive phanlksnadxykhxngxxotosm aetwakmikarklayphnthuaebbedn dominant aelaaebb compound heterozygotes thirayngandwy kartrwcphnthukrrm Genetic counseling aelakartrwcwinicchytharkinkhrrph prenatal diagnosis xaccaepn Beta thalassemia minor bukhkhlthimi trait thalssiemiyimcaepntxngrksa imtxngsxdsxng pkticaimkhadthatuehlk karesrimthatuehlkcaimchwyphawaeluxdcangkhxngbukhkhlni aela dngnn cungimkhwrthanthatuehlkesrimykewnthakhadthatuehlk aemkhnthimiphawaradbniimcaepntxngthayeluxd aetkyngesiyngtxphawaehlkekin iron overload odyechphaathitb karechkh ferritin thibxkradbehlkineluxdsamarthbngchikarrksaxun txipid aemwacaimesiyngchiwit orkhxacmiphltxkhunphaphchiwitenuxngcakphawaolhitcang khnmiphawainradbnibxykhrngmiorkh xakarxun phrxmknipdwyechn orkhhud aelasamarthepnehtutxphawaehlkekinintb odyechphaainbukhkhlthitbkhngikhmn non alcoholic fatty liver disease sungxacnaipsuphlthirunaerngkhunwithyakarrabadthalssiemiyaebbbitakhxnkhangchukmakinkhnaethbthaelemdietxrereniyn aelakhwamsmphnthkbekhtniepnehtukhxngchuxorkh khux thalassa 8alassa sungepnkhaphasakrikhmaythungthael aela haema aἷma sungaeplwaeluxd inthwipyuorp aethbthiorkhchukthisudxyuthifngthaelkhxngpraethskrisaelaturki ekaaihytang inekhtthaelemdietxrereniyn ykewnhmuekaaaebliaexrik echn sisili sardieniy khxrsika isprs mxlta aelakhrit cachukepnphiess khnemdietxrereniyn aelakhnthixyuikl ekhtemdietxrereniyn mikhwamchukkhxngorkhsungechnkn rwmthngkhninexechiytawntkaelaaexfrikaehnux khxmulbngwa 15 khxngkhnisprsechuxsaykrikaelaturki epnphahakhxngyinthalssiemiyaebbbita inkhnathi 10 epnphahakhxngyinthalssiemiyaebbaexlfa 5 khxngprachakrolkmioprtin globin thitangipcakpkti aetephiyngaekh 1 7 mithalssiemiyaebbaexlfahruxbita thngchayhyingmiorkhetha kn odymixtrathi 4 4 txedkthiekidodyrxdchiwit 10 000 khn aebbxlfaekidbxythisudinkhnaexfrikaaelakhnexechiyxakheny aebbebtaekidbxythisudinkhnekhtemdietxrerniyn khnaexfrika aelakhnexechiyxakheny odymikhwamchukkhxngorkhinhmukhnehlanipraman 5 30 epnkarprbtwthangwiwthnakar karmilksnasubsayphnthu trait epnthalssiemiyxaccachwypxngknmalaeriy sungepnorkhthichukinekhtthilksnasubsayphnthuechnnnmixyuxyangsamy aeladngnn karmicungihkhwamidepriybinkarrxdchiwitodyechphaakbphaha dngthiruckknwaepn heterozygous advantage sungchwyihkarklayphnthuepnlksnathiimhmdsin ephraaehtuni thalssiemiyaebbtang cungkhlaykborkhthangphnthukrrmxikxyanghnungthimiphltxehomoklbin khux orkhemdeluxdaedngrupekhiywduephimthalssiemiyaebbaexlfa thalssiemiyaebbedlta bita thalssiemiy orkhemdeluxdaedngrupekhiyw hiomoklbinphidpktiechingxrrthaelaxangxingGalanello Renzo Origa Raffaella 2010 05 21 Beta thalassemia Orphanet J Rare Dis Orphanet Journal of Rare Diseases 5 11 doi 10 1186 1750 1172 5 11 PMC 2893117 PMID 20492708 Goldman Lee Schafer Andrew I 2015 04 21 Goldman Cecil Medicine Expert Consult Online Elsevier Health Sciences ISBN 9780323322850 Muncie Herbert L Jr MD Campbell James S MD 2009 08 15 Alpha and Beta Thalassemia Am Fam Physician 80 4 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint uses authors parameter Carton James 2012 02 16 Oxford Handbook of Clinical Pathology OUP Oxford ISBN 9780191629938 Perkin Ronald M Newton Dale A Swift James D 2008 Pediatric Hospital Medicine Textbook of Inpatient Management Lippincott Williams amp Wilkins ISBN 9780781770323 Galanello Renzo Origa Raffaella 2010 05 21 Beta thalassemia Orphanet Journal of Rare Diseases 5 1 11 doi 10 1186 1750 1172 5 11 ISSN 1750 1172 PMC 2893117 PMID 20492708 Beta thalassemia Genetics Home Reference subkhnemux 2015 05 26 Introduction to Pathology for the Physical Therapist Assistant Jones amp Bartlett Publishers 2011 ISBN 9780763799083 Anderson Gregory J McLaren Gordon D 2012 01 16 Iron Physiology and Pathophysiology in Humans Springer Science amp Business Media ISBN 9781603274845 Barton James C Edwards Corwin Q Phatak Pradyumna D Britton Robert S Bacon Bruce R 2010 07 22 Handbook of Iron Overload Disorders Cambridge University Press ISBN 9781139489393 McCance Kathryn L Huether Sue E 2013 12 13 Pathophysiology The Biologic Basis for Disease in Adults and Children Elsevier Health Sciences ISBN 9780323088541 Leonard Debra G B 2007 11 25 Molecular Pathology in Clinical Practice Springer Science amp Business Media ISBN 9780387332277 Bowen Juan M Mazzaferri Ernest L 2012 12 06 Contemporary Internal Medicine Clinical Case Studies Springer Science amp Business Media ISBN 9781461567134 Jaypee Brothers Publishers 2006 ISBN 9788180616693 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2016 04 06 subkhnemux 2016 12 19 Disorders National Organization for Rare 2003 NORD Guide to Rare Disorders Lippincott Williams amp Wilkins ISBN 9780781730631 Barton James C Edwards Corwin Q 2000 01 13 Hemochromatosis Genetics Pathophysiology Diagnosis and Treatment Cambridge University Press ISBN 9780521593809 Wilkins Lippincott Williams amp 2009 Professional Guide to Diseases Lippincott Williams amp Wilkins ISBN 9780781778992 Ward Amanda J Cooper Thomas A 2009 The pathobiology of splicing The Journal of Pathology 220 2 152 63 doi 10 1002 path 2649 PMC 2855871 PMID 19918805 the definition of dna Dictionary com subkhnemux 2015 05 26 Okpala Iheanyi 2008 04 15 Practical Management of Haemoglobinopathies John Wiley amp Sons ISBN 9781405140201 Vasudevan D M Sreekumari S Vaidyanathan Kannan 2011 11 01 Textbook of Biochemistry for Dental Students JP Medical Ltd ISBN 9789350254882 Taeusch H William Ballard Roberta A Gleason Christine A Avery Mary Ellen 2005 Avery s Diseases of the Newborn Elsevier Health Sciences ISBN 0721693474 Beta Thalassemia New Insights for the Healthcare Professional 2013 Edition ScholarlyBrief ScholarlyEditions 2013 07 22 ISBN 9781481663472 How Are Thalassemias Diagnosed NHLBI NIH www nhlbi nih gov subkhnemux 2015 05 26 Target Cells Imperial College of London Department of Medicine Orkin Stuart H Nathan David G Ginsburg David Look A Thomas Fisher David E Lux Samuel 2009 Nathan and Oski s Hematology of Infancy and Childhood 7th ed Philadelphia Saunders ISBN 978 1 4160 3430 8 txngkarelkhhna What Are the Signs and Symptoms of Thalassemias NHLBI NIH www nhlbi nih gov subkhnemux 2015 05 26 McKinney Emily Slone James Susan R Murray Sharon Smith Nelson Kristine Ashwill Jean 2014 04 17 Maternal Child Nursing Elsevier Health Sciences ISBN 9780323293778 Schrijver Iris 2011 09 09 Diagnostic Molecular Pathology in Practice A Case Based Approach Springer Science amp Business Media ISBN 9783642196775 Muncie Herbert L Campbell James S 2009 Alpha and Beta Thalassemia American Family Physician 80 4 339 44 PMID 19678601 Greer John P Arber Daniel A Glader Bertil List Alan F Means Robert T Paraskevas Frixos Rodgers George M 2013 08 29 Wintrobe s Clinical Hematology Lippincott Williams amp Wilkins ISBN 9781469846224 Greer John P Arber Daniel A Glader Bertil List Alan F Means Robert T Paraskevas Frixos Rodgers George M 2013 08 29 Wintrobe s Clinical Hematology Lippincott Williams amp Wilkins ISBN 9781469846224 Hydroxamic Acids Advances in Research and Application 2011 Edition ScholarlyPaper ScholarlyEditions 2012 01 09 ISBN 9781464952081 NCBI WWW Error Blocked Diagnostic pubchem ncbi nlm nih gov subkhnemux 2015 05 26 Deferoxamine livertox nih gov subkhnemux 2015 05 26 Sabloff Mitchell Chandy Mammen Wang Zhiwei Logan Brent R Ghavamzadeh Ardeshir Li Chi Kong Irfan Syed Mohammad Bredeson Christopher N Cowan Morton J 2011 HLA matched sibling bone marrow transplantation for b thalassemia major Blood 117 5 1745 1750 doi 10 1182 blood 2010 09 306829 ISSN 0006 4971 PMC 3056598 PMID 21119108 Gene Therapy Shows Promise for Treating Beta Thalassemia and Sickle Cell Disease subkhnemux 2015 10 15 Schwartz M William 2012 The 5 Minute Pediatric Consult Lippincott Williams amp Wilkins ISBN 9781451116564 Porwit Anna McCullough Jeffrey Erber Wendy N 2011 05 27 Blood and Bone Marrow Pathology Elsevier Health Sciences ISBN 0702045357 Torre Dario M Lamb Geoffrey C Ruiswyk Jerome Van Schapira Ralph M 2009 Kochar s Clinical Medicine for Students Lippincott Williams amp Wilkins ISBN 9780781766999 Brissot Pierre Cappellini Maria Domenica 2014 LIVER DISEASE a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a Cite journal txngkar journal help www who int khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2015 05 27 subkhnemux 2015 05 26 Berg Sheri Bittner Edward A 2013 10 16 The MGH Review of Critical Care Medicine Lippincott Williams amp Wilkins ISBN 9781451173680 Haematology Made Easy AuthorHouse 2013 02 06 ISBN 9781477246511 Abouelmagd Ahmed Ageely Hussein M 2013 Basic Genetics A Primer Covering Molecular Composition of Genetic Material Gene Expression and Genetic Engineering and Mutations and Human Genetic Universal Publishers ISBN 9781612331928 Weatherall David J Lichtman MA Kipps TJ Seligsohn U Kaushansky K Prchal JT b k Williams Hematology 8 ed khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2013 11 04 subkhnemux 2016 12 19 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint extra punctuation aehlngkhxmulxunCao Antonio Galanello Renzo 2010 Beta Thalassemia in Pagon Roberta A Bird Thomas D Dolan Cynthia R Stephens Karen Adam Margaret P b k PMID 20301599 Bahal Raman McNeer Nicole Ali Quijano Elias Liu Yanfeng Sulkowski Parker Turchick Audrey Lu Yi Chien Bhunia Dinesh C Manna Arunava Greiner Dale L Brehm Michael A Cheng Christopher J Lopez Giraldez Francesc Ricciardi Adele Beloor Jagadish Krause Diane S Kumar Priti Gallagher Patrick G Braddock Demetrios T Saltzman W Mark Ly Danith H Glazer Peter M 2016 10 26 In vivo correction of anaemia in b thalassemic mice by gPNA mediated gene editing with nanoparticle delivery Nature Communications phasaxngkvs 7 doi 10 1038 ncomms13304 ISSN 2041 1723 subkhnemux 2016 10 26