ทฤษฎีแนววิพากษ์ (อังกฤษ: critical theory) เป็นที่เน้นย้ำการประเมินสะท้อนและการวิพากษ์สังคมและวัฒนธรรมโดยการประยุกต์ความรู้จากสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ คำว่า "ทฤษฎีแนววิพากษ์" มีสองความหมาย ที่มีจุดกำเนิดและประวัติศาสตร์ต่างกัน คำแรกกำเนิดในวิชาสังคมวิทยา และอีกคำหนึ่งกำเนิดในวิชา โดยที่มีการใช้และประยุกต์เป็นคำรวม ๆ ที่สามารถอธิบายทฤษฎีที่ตั้งอยู่บนการวิพากษ์ ฉะนั้น นักทฤษฎี (Max Horkheimer) อธิบายว่าทฤษฎีหนึ่งเป็นแนววิพากษ์ตราบเท่าที่ทฤษฎีนั้นมุ่ง "ปลดปล่อยมนุษย์จากพฤติการณ์ท่ทำให้เป็นทาส"
ในวิชาสังคมวิทยาและปรัชญาการเมือง คำว่า "ทฤษฎีแนววิพากษ์" อธิบายปรัชญาของสำนักแฟรงก์เฟิร์ต ซึ่งมีการพัฒนาในประเทศเยอรมนีในคริสต์ทศวรรษ 1930 การใช้คำนี้ในภาษาอังกฤษจะต้องใช้ตัวใหญ่เป็นวิสามานายาม (Critical Theory) ส่วนทฤษฎีแนววิพากษ์ (a critical theory) อาจมีส่วนประกอบของความคิดคล้ายกัน แต่ไม่เน้นการสืบทางปัญญาโดยเฉพาะจากสำนักแฟรงก์เฟิร์ต นักทฤษฎีสำนักแฟรงก์เฟิร์ตนำวิธีการวิพากษ์จากคาร์ล มากซ์ และซิกมุนด์ ฟรอยด์ ทฤษฎีแนววิพากษ์ยืนยันว่าอุดมการณ์เป็นอุปสรรคหลักของการปลดปล่อยมนุษย์ นักทฤษฎีสำนักแฟรงก์เฟิร์ต (Herbert Marcuse), ทีโอดอร์ อะดอร์โน (Theodor Adorno), วัลเทอร์ เบนจามิน (Walter Benjamin), และอีริช ฟรอมม์ (Erich Fromm) เป็นบุคคลหลักในการตั้งทฤษฎีแนววิพากษ์เป็นสำนักคิด ทฤษฎีแนววิพากษ์สมัยใหม่ได้รับอิทธิพลเพิ่มเติมจาก (György Lukács) และอันโตนีโอ กรัมชี ตลอดจนนักวิชาการสำนักแฟรงก์เฟิร์ตรุ่นที่สอง คนสำคัญคือ เยือร์เกิน ฮาเบอร์มัส (Jürgen Habermas) ในงานของฮาเบอร์มัส ทฤษฎีแนววิพากษ์ดีกว่าเหง้าทฤษฎีของมันในจิตนิยมเยอรมันและก้าวหน้าใกล้เคียงกับอเมริกัน ความกังวลสำหรับ "ฐานและโครงสร้างส่วนบน (superstructure)" ทางสังคมเป็นมโนทัศน์ปรัชญาลัทธิมากซ์ที่ยังเหลืออยู่อันหนึ่งในทฤษฎีแนววิพากษ์ร่วมสมัยจำนวนมาก
แม้นักทฤษฎีแนววิพากษ์มักนิยามบ่อยครั้งเป็นปัญญาชนลัทธิมากซ์ แต่แนวโน้มของพวกเขาในการประณามมโนทัศน์บางอย่างของลัทธิมากซ์ และการผสมการวิเคราะห์แบบมากซ์กับขนบธรรมเนียมทางสังคมวิทยาและปรัชญาอย่างอื่นทำให้นักลัทธิมากซ์คลาสสิก ทรรศนะดั้งเดิมและวิเคราะห์ ตลอดจนนักปรัชญาลัทธิมากซ์–เลนินกล่าวหาว่าเป็นลัทธิแก้ มาร์ติน เจย์แถลงว่า ทฤษฎีแนววิพากษ์รุ่นแรกเข้าใจกันดีว่าไม่เป็นการสนับสนุนวาระปรัชญาหรืออุดมการณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง แต่เป็น "เหลือบของระบบอื่น"
อ้างอิง
- (Horkheimer 1982, 244)
- [Geuss, R. The Idea of a Critical Theory, Cambridge, Cambridge University Press]
- Outhwaite, William. 1988. Habermas: Key Contemporary Thinkers 2nd Edition (2009), pp. 5-8 (ISBN )
- Jay, Martin (1996) The Dialectical Imagination: A History of the Frankfurt School and the Institute of Social Research, 1923–1950. University of California Press, ISBN , p. 41
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
thvsdiaenwwiphaks xngkvs critical theory epnthiennyakarpraeminsathxnaelakarwiphakssngkhmaelawthnthrrmodykarprayuktkhwamrucaksngkhmsastraelamnusysastr khawa thvsdiaenwwiphaks misxngkhwamhmay thimicudkaenidaelaprawtisastrtangkn khaaerkkaenidinwichasngkhmwithya aelaxikkhahnungkaenidinwicha odythimikarichaelaprayuktepnkharwm thisamarthxthibaythvsdithitngxyubnkarwiphaks chann nkthvsdi Max Horkheimer xthibaywathvsdihnungepnaenwwiphakstrabethathithvsdinnmung pldplxymnusycakphvtikarnththaihepnthas inwichasngkhmwithyaaelaprchyakaremuxng khawa thvsdiaenwwiphaks xthibayprchyakhxngsankaefrngkefirt sungmikarphthnainpraethseyxrmniinkhristthswrrs 1930 karichkhaniinphasaxngkvscatxngichtwihyepnwisamanayam Critical Theory swnthvsdiaenwwiphaks a critical theory xacmiswnprakxbkhxngkhwamkhidkhlaykn aetimennkarsubthangpyyaodyechphaacaksankaefrngkefirt nkthvsdisankaefrngkefirtnawithikarwiphakscakkharl maks aelasikmund frxyd thvsdiaenwwiphaksyunynwaxudmkarnepnxupsrrkhhlkkhxngkarpldplxymnusy nkthvsdisankaefrngkefirt Herbert Marcuse thioxdxr xadxron Theodor Adorno wlethxr ebncamin Walter Benjamin aelaxirich frxmm Erich Fromm epnbukhkhlhlkinkartngthvsdiaenwwiphaksepnsankkhid thvsdiaenwwiphakssmyihmidrbxiththiphlephimetimcak Gyorgy Lukacs aelaxnotniox krmchi tlxdcnnkwichakarsankaefrngkefirtrunthisxng khnsakhykhux eyuxrekin haebxrms Jurgen Habermas inngankhxnghaebxrms thvsdiaenwwiphaksdikwaehngathvsdikhxngmnincitniymeyxrmnaelakawhnaiklekhiyngkbxemrikn khwamkngwlsahrb thanaelaokhrngsrangswnbn superstructure thangsngkhmepnmonthsnprchyalththimaksthiyngehluxxyuxnhnunginthvsdiaenwwiphaksrwmsmycanwnmak aemnkthvsdiaenwwiphaksmkniyambxykhrngepnpyyachnlththimaks aetaenwonmkhxngphwkekhainkarpranammonthsnbangxyangkhxnglththimaks aelakarphsmkarwiekhraahaebbmakskbkhnbthrrmeniymthangsngkhmwithyaaelaprchyaxyangxunthaihnklththimakskhlassik thrrsnadngedimaelawiekhraah tlxdcnnkprchyalththimaks elninklawhawaepnlththiaek martin ecyaethlngwa thvsdiaenwwiphaksrunaerkekhaickndiwaimepnkarsnbsnunwaraprchyahruxxudmkarnxyangidxyanghnung aetepn ehluxbkhxngrabbxun xangxing Horkheimer 1982 244 Geuss R The Idea of a Critical Theory Cambridge Cambridge University Press Outhwaite William 1988 Habermas Key Contemporary Thinkers 2nd Edition 2009 pp 5 8 ISBN 978 0 7456 4328 1 Jay Martin 1996 The Dialectical Imagination A History of the Frankfurt School and the Institute of Social Research 1923 1950 University of California Press ISBN 978 0 520 20423 2 p 41