อันโตนีโอ กรัมชี (อังกฤษ, อิตาลี: Antonio Gramsci) นักทฤษฎีการเมือง นักเศรษฐศาสตร์การเมืองชาวอิตาเลียนแนวมาร์กซิสม์และเลขาธิการ เกิดเมื่อวันที่ 22 มกราคม ค.ศ. 1891 เสียชีวิตเมื่อวันที่ 27 เมษายน ค.ศ. 1937
อันโตนีโอ กรัมชี | |
---|---|
อันโตนีโอ กรัมชี | |
เกิด | 22 มกราคม ค.ศ. 1891 เมือง ,Sardinia, ประเทศอิตาลี |
เสียชีวิต | 27 เมษายน ค.ศ. 1937 กรุงโรม , อิตาลี | (46 ปี)
สาเหตุเสียชีวิต | สุขภาพทรุดโทรม |
สัญชาติ | อิตาลี |
การศึกษา | Marxism |
มีชื่อเสียงจาก | hegemony (การครองความเป็นใหญ่) |
อันโตนีโอ กรัมชี ได้ชื่อว่าเป็น มาร์กซิสต์บริสุทธิ์ ได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้เผยแพร่ลัทธิมาร์กซคนสำคัญในยุคศตวรรษที่ 20 ได้เขียนหนังสือที่มีชื่อเสียงเล่มหนึ่งชื่อ "บันทึกจากคุก" ในระหว่างที่ถูกจองจำ และเป็นเจ้าของทฤษฎีที่มีชื่อว่า Hegemony อันว่าถึงการก้าวขึ้นเป็นเจ้าและครอบครอง โดยกรัมชี่เชื่อว่า ผู้ที่ขึ้นมาเป็นชนชั้นปกครองได้นั้น ไม่อาจจะอาศัยภาวะทางเศรษฐกิจอย่างเดียวเท่านั้น แต่ต้องได้รับการสนับสนุนและมีแนวร่วมจากมวลชนด้วย ซึ่งทฤษฎีนี้ได้ถูกนักวิชาการของไทย เช่น สมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์ อ้างถึงในระหว่างการขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ในปี พ.ศ. 2549 โดยใช้อธิบายถึงพฤติกรรมของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ที่ผ่านมาในระหว่างการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
ประวัติ
ชีวิตในซาร์ดิเนีย ค.ศ. 1891 - 1911
อันโตนิโอ กรัมชี (เกิดวันที่ 22 มกราคม ค.ศ. 1891) ที่เมือง Ales เกาะซาร์ดิเนีย ซึ่งเป็นแถบบริเวณยากจน และประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม. พ่อของอันโตนิโอ กรัมชี หาเลี้ยงครอบครัวด้วยการทำงานเป็นเสมียนให้กับรัฐบาล และต่อมาต้องถูกจับในข้อหาฉ้อราษฎร์บังหลวง ส่งผลให้แม่ของอันโตนิโอ ต้องประสบปัญหาอย่างมากในการเลี้ยงดูอันโตนิโอ และพี่น้องรวมอีก 6 คน โดยการหาเลี้ยงชีพด้วยการเป็นช่างตัดผ้า
ในวัยเด็กขณะที่เขามีวัยเพียง 4 ปี เขาได้พลัดตกจากอ้อมแขนของพี่เลี้ยง อุบัติเหตุในครั้งนั้นส่งผลส่งผลเสียต่อกระดูกสันหลังของเขา ซึ่งส่งผลให้เขาต้องกลายเป็นคนหลังค่อม และมีปัญหาทางสุขภาพที่ไม่ค่อยแข็งแรงนับแต่นั้นเป็นต้นมา. กรัมชีเป็นเด็กที่เรียนได้ดี แต่เนื่องจากสถานะทางเศรษฐกิจของครอบครัวที่มีข้อจำกัดทำให้ครอบครัว ไม่สามารถส่งเขาให้เรียนต่อถึงระดับมหาวิทยาลัยได้ ดังนั้นหากเขาต้องการเข้าเรียนต่อในระดับสูงเขาจะต้องสอบชิงทุนการศึกษาให้ได้ ซึ่งเขาก็สามารถทำได้สำเร็จเมื่อสามารถสอบชิงทุนทั่วประเทศได้ไปศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยตูริน ณ เมืองตูริน เมืองที่มีความเจริญทางอุตสาหกรรมเป็นอย่างมาก ที่ต่างไปจากซาร์ดิเนียแหล่งกำเนิดของเขา
ชีวิตในตูริน ค.ศ. 1911-1920
กรัมชีเริ่มศึกษาที่มหาวิทยาลัยตูรินในปี ค.ศ. 1911 และได้ศึกษาทางด้านภาษาศาสตร์ (Linguistics) แต่ทั้งนี้เนื่องจากปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพ ทำให้กรัมชีไม่สำเร็จการศึกษาดังที่ได้ตั้งใจไว้. ต่อมาในปี ค.ศ. 1913 กรัมชีได้เข้าร่วมกับพรรคสังคมนิยมอิตาลี (Italian Socialist Party หรือ PSI) และได้เริ่มมีบทบาทในการเริ่มงานเขียนให้กับหนังสือพิมพ์ของพรรค ตั้งแต่นั้นมา ต่อมาในปี 1916 เขาก็ได้เริ่มทำงานด้วยการยึดอาชีพนักหนังสือพิมพ์ และเขียนให้กับ Il Grido del Popolo และ Avanti! เหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1917 คือ ได้เกิดการปฏิวัติในรัสเซีย โดยพรรคบอลเชวิก ภายใต้การนำของวลาดีมีร์ เลนิน โดยในปีเดียวกันนั้น กรัมชีได้รับเลือกให้ดำรงตำแหน่งเลขาธิการให้กับ PSI สาขาตูรินด้วย. เหตุการณ์สำคัญนอกจากนี้ที่เกิดขึ้นในช่วงชีวิตที่ตูรินของกรัมชีได้แก่การที่ เบนิโต มุสโสลิได้ก่อตั้งพรรค Fasci Italiani di Combattimento ขึ้นที่มิลาน ในปี ค.ศ. 1919 และในปีเดียวกันได้มีการจัดการประชุมคอมมิวนิสต์สากล (Comintern) หรือสากลที่สามขึ้นเป็นครั้งแรกที่กรุงมอ
สมัยฟาสซิสต์ และพรรคคอมมิวนิสต์อิตาลี (Fascism and the PCI) ค.ศ. 1921-1926
ชีวิตในช่วงเวลาต่อมาของกรัมชีเป็นยุคสมัยฟาสซิสต์เรืองอำนาจ โดยที่ในปี ค.ศ. 1921 พรรคคอมมิวนิสต์อิตาลี (PCI) ได้ถูกก่อตั้งขึ้นไล่เลี่ยกันกับการเกิดขึ้นของพรรคฟาสซิสต์แห่งชาติ (National Fascist Party). ต่อมาในปี ค.ศ. 1922 กรัมชีได้รับเลือกจากคณะกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์อิตาลีให้เป็นตัวแทนไปในการประชุมผู้บริหารคอมมิวนิสต์สากล (สากลที่สาม) หรือ Comintern ที่มอสโก และอีกทั้งเขาได้พบกับภรรยาของเขาในเวลาต่อมา คือ Julia Schucht ขณะที่ในปีเดียวกันนั้น พรรคฟาสซิสต์ได้ขยายอำนาจยึดกรุงโรม และเบนิโต มุสโสลิก็ได้ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีในปีนี้ หลังจากที่ได้เป็นตัวแทนไปประชุมคอมมิวนิสต์สากลที่กรุงมอสโกในปี ค.ศ. 1922 ต่อมาคือในปี ค.ศ. 1924 กรัมชีได้เดินทางไปยังกรุงเวียนนาเพื่อรักษาอาการเจ็บป่วยของเขา และในปีนี้เองที่ลูกชายคนแรกของเขา "เดลิโอ" (Delio) ได้เกิด ก่อนที่ต่อมาในปี ค.ศ. 1925 ภรรยา และลูกได้ย้ายมาอยู่กับกรัมชีที่กรุงโรม
ชีวิตในคุก ค.ศ. 1926-1937
ช่วงชีวิตที่สำคัญที่สุดของกรัมชีคือช่วงชีวิตของการเป็นนักโทษการเมือง ในช่วงสมัยฟาสซิสต์ ทั้งนี้ในปี ค.ศ. 1926 กรัมชีและครอบครัวได้อพยพลี้ภัยการเมืองจากการคุกคามของฝ่ายฟาสซิสต์ไปยังชายแดนสวิตเซอร์แลนด์แล้ว แต่กรัมชีได้กลับไปยังกรุงโรมอีกครั้ง เนื่องจากการที่เขามองโลกในแง่ดีเกินไป เพราะเขาเชื่อมั่นว่าเขาจะไม่ถูกจับเนื่องจากเขาได้รับสิทธิคุ้มกันเนื่องจากการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แต่กรัมชีก็ถูกจับโดยฝ่ายฟาสซิสต์ เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1926 และถูกส่งไปยังคุกต่างๆ และไม่ได้รับอิสรภาพอีกเลยจนวาระสุดท้ายของชีวิต. ปีเดียวกับที่กรัมชีถูกจับกุมนี้เองลูกชายคนที่สองของเขา "จูเลียโน" (Giuliano) ได้เกิด โดยที่กรัมชีจะไม่มีโอกาสได้เจอลูกชายคนที่สองของเขาเลย ต่อมาในปี ค.ศ. 1928 เขาถูกพิพากษาจำคุก 20 ปี 4 เดือน กับอีก 5 วัน กรัมชีใช้ชีวิตในเรือนจำหลายที่จนกระทั่งปี ค.ศ. 1933 เขาจึงได้ย้ายออกไปรักษาตัวที่คลินิกเล็กๆ ในเมืองฟอร์เมีย เนื่องจากอาการป่วย และสุขภาพทรุดโทรมอย่างหนัก เขาใช้เวลาช่วงไม่กี่ปีสุดท้ายของชีวิตไปกับการรักษาอาการป่วยที่คลินิกอีกหลายแห่ง จนกระทั่งวาระสุดท้ายของชีวิตเขาได้มาถึงเมื่อวันที่ 27 เมษายน 1937 รวมอายุได้ 47 ปี
อ้างอิง
- hegemony แปลเป็นไทยว่าอะไรบ้าง
- [] ชี้ ‘แม้ว’ ประกาศสงคราม ‘ผู้มีบารมี’- รุกคืบสถาปนาลัทธิ ‘ครองความเป็นเจ้า’ จากผู้จัดการออนไลน์
- อันโตนิโอ กรัมชี (Antonio Gramsci) นักมาร์กซิสต์ชาวอิตาเลียนผู้มีชื่อเสียง
แหล่งข้อมูลอื่น
- อันโตนีโอ กรัมชี
- เว็บไซต์อันโตนีโอ กรัมชี (ภาษาอิตาเลียน)
- ปัญญาชนโดย อันโตนิโอ กรัมชี่แปลโดย ใจ อึ๊งภากรณ์
- กลุ่มประวัติศาสตร์ ปัญญาชน การครองอำนาจนำและการโต้ตอบต่อการครองอำนาจนำ: แนวความคิดของอันโตนิโอ กรัมชี่กับการอธิบายการเมืองไทยร่วมสมัย
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xnotniox krmchi xngkvs xitali Antonio Gramsci nkthvsdikaremuxng nkesrsthsastrkaremuxngchawxitaeliynaenwmarksismaelaelkhathikar ekidemuxwnthi 22 mkrakhm kh s 1891 esiychiwitemuxwnthi 27 emsayn kh s 1937xnotniox krmchixnotniox krmchiekid22 mkrakhm kh s 1891 1891 01 22 emuxng Sardinia praethsxitaliesiychiwit27 emsayn kh s 1937 1937 04 27 46 pi krungorm xitalisaehtuesiychiwitsukhphaphthrudothrmsychatixitalikarsuksaMarxismmichuxesiyngcakhegemony karkhrxngkhwamepnihy xnotniox krmchi idchuxwaepn marksistbrisuththi idrbkarykyxngwaepnphuephyaephrlththimarkskhnsakhyinyukhstwrrsthi 20 idekhiynhnngsuxthimichuxesiyngelmhnungchux bnthukcakkhuk inrahwangthithukcxngca aelaepnecakhxngthvsdithimichuxwa Hegemony xnwathungkarkawkhunepnecaaelakhrxbkhrxng odykrmchiechuxwa phuthikhunmaepnchnchnpkkhrxngidnn imxaccaxasyphawathangesrsthkicxyangediywethann aettxngidrbkarsnbsnunaelamiaenwrwmcakmwlchndwy sungthvsdiniidthuknkwichakarkhxngithy echn smekiyrti phngsiphbuly xangthunginrahwangkarkhbil ph t th thksin chinwtr inpi ph s 2549 odyichxthibaythungphvtikrrmkhxng ph t th thksin chinwtr thiphanmainrahwangkardarngtaaehnngnaykrthmntriprawtichiwitinsardieniy kh s 1891 1911 xnotniox krmchi ekidwnthi 22 mkrakhm kh s 1891 thiemuxng Ales ekaasardieniy sungepnaethbbriewnyakcn aelaprachachnswnihyprakxbxachiphekstrkrrm phxkhxngxnotniox krmchi haeliyngkhrxbkhrwdwykarthanganepnesmiynihkbrthbal aelatxmatxngthukcbinkhxhachxrasdrbnghlwng sngphlihaemkhxngxnotniox txngprasbpyhaxyangmakinkareliyngduxnotniox aelaphinxngrwmxik 6 khn odykarhaeliyngchiphdwykarepnchangtdpha inwyedkkhnathiekhamiwyephiyng 4 pi ekhaidphldtkcakxxmaekhnkhxngphieliyng xubtiehtuinkhrngnnsngphlsngphlesiytxkraduksnhlngkhxngekha sungsngphlihekhatxngklayepnkhnhlngkhxm aelamipyhathangsukhphaphthiimkhxyaekhngaerngnbaetnnepntnma krmchiepnedkthieriyniddi aetenuxngcaksthanathangesrsthkickhxngkhrxbkhrwthimikhxcakdthaihkhrxbkhrw imsamarthsngekhaiheriyntxthungradbmhawithyalyid dngnnhakekhatxngkarekhaeriyntxinradbsungekhacatxngsxbchingthunkarsuksaihid sungekhaksamarththaidsaercemuxsamarthsxbchingthunthwpraethsidipsuksatxthimhawithyalyturin n emuxngturin emuxngthimikhwamecriythangxutsahkrrmepnxyangmak thitangipcaksardieniyaehlngkaenidkhxngekha chiwitinturin kh s 1911 1920 krmchierimsuksathimhawithyalyturininpi kh s 1911 aelaidsuksathangdanphasasastr Linguistics aetthngnienuxngcakpyhaekiywkbsukhphaph thaihkrmchiimsaerckarsuksadngthiidtngiciw txmainpi kh s 1913 krmchiidekharwmkbphrrkhsngkhmniymxitali Italian Socialist Party hrux PSI aelaiderimmibthbathinkarerimnganekhiynihkbhnngsuxphimphkhxngphrrkh tngaetnnma txmainpi 1916 ekhakiderimthangandwykaryudxachiphnkhnngsuxphimph aelaekhiynihkb Il Grido del Popolo aela Avanti ehtukarnsakhythiekidkhuninpi kh s 1917 khux idekidkarptiwtiinrsesiy odyphrrkhbxlechwik phayitkarnakhxngwladimir elnin odyinpiediywknnn krmchiidrbeluxkihdarngtaaehnngelkhathikarihkb PSI sakhaturindwy ehtukarnsakhynxkcaknithiekidkhuninchwngchiwitthiturinkhxngkrmchiidaekkarthi ebniot musosliidkxtngphrrkh Fasci Italiani di Combattimento khunthimilan inpi kh s 1919 aelainpiediywknidmikarcdkarprachumkhxmmiwnistsakl Comintern hruxsaklthisamkhunepnkhrngaerkthikrungmx smyfassist aelaphrrkhkhxmmiwnistxitali Fascism and the PCI kh s 1921 1926 chiwitinchwngewlatxmakhxngkrmchiepnyukhsmyfassisteruxngxanac odythiinpi kh s 1921 phrrkhkhxmmiwnistxitali PCI idthukkxtngkhunileliyknkbkarekidkhunkhxngphrrkhfassistaehngchati National Fascist Party txmainpi kh s 1922 krmchiidrbeluxkcakkhnakrrmkarklangphrrkhkhxmmiwnistxitaliihepntwaethnipinkarprachumphubriharkhxmmiwnistsakl saklthisam hrux Comintern thimxsok aelaxikthngekhaidphbkbphrryakhxngekhainewlatxma khux Julia Schucht khnathiinpiediywknnn phrrkhfassistidkhyayxanacyudkrungorm aelaebniot musoslikidkhunepnnaykrthmntriinpini hlngcakthiidepntwaethnipprachumkhxmmiwnistsaklthikrungmxsokinpi kh s 1922 txmakhuxinpi kh s 1924 krmchiidedinthangipyngkrungewiynnaephuxrksaxakarecbpwykhxngekha aelainpiniexngthilukchaykhnaerkkhxngekha edliox Delio idekid kxnthitxmainpi kh s 1925 phrrya aelalukidyaymaxyukbkrmchithikrungorm chiwitinkhuk kh s 1926 1937 chwngchiwitthisakhythisudkhxngkrmchikhuxchwngchiwitkhxngkarepnnkothskaremuxng inchwngsmyfassist thngniinpi kh s 1926 krmchiaelakhrxbkhrwidxphyphliphykaremuxngcakkarkhukkhamkhxngfayfassistipyngchayaednswitesxraelndaelw aetkrmchiidklbipyngkrungormxikkhrng enuxngcakkarthiekhamxngolkinaengdiekinip ephraaekhaechuxmnwaekhacaimthukcbenuxngcakekhaidrbsiththikhumknenuxngcakkarepnsmachiksphaphuaethnrasdr aetkrmchikthukcbodyfayfassist emuxwnthi 8 phvscikayn kh s 1926 aelathuksngipyngkhuktang aelaimidrbxisrphaphxikelycnwarasudthaykhxngchiwit piediywkbthikrmchithukcbkumniexnglukchaykhnthisxngkhxngekha cueliyon Giuliano idekid odythikrmchicaimmioxkasidecxlukchaykhnthisxngkhxngekhaely txmainpi kh s 1928 ekhathukphiphaksacakhuk 20 pi 4 eduxn kbxik 5 wn krmchiichchiwitineruxncahlaythicnkrathngpi kh s 1933 ekhacungidyayxxkiprksatwthikhlinikelk inemuxngfxremiy enuxngcakxakarpwy aelasukhphaphthrudothrmxyanghnk ekhaichewlachwngimkipisudthaykhxngchiwitipkbkarrksaxakarpwythikhlinikxikhlayaehng cnkrathngwarasudthaykhxngchiwitekhaidmathungemuxwnthi 27 emsayn 1937 rwmxayuid 47 pixangxinghegemony aeplepnithywaxairbang lingkesiy chi aemw prakassngkhram phumibarmi rukkhubsthapnalththi khrxngkhwamepneca cakphucdkarxxniln xnotniox krmchi Antonio Gramsci nkmarksistchawxitaeliynphumichuxesiyngaehlngkhxmulxunxnotniox krmchi ewbistxnotniox krmchi phasaxitaeliyn pyyachnody xnotniox krmchiaeplody ic xungphakrn klumprawtisastr pyyachn karkhrxngxanacnaaelakarottxbtxkarkhrxngxanacna aenwkhwamkhidkhxngxnotniox krmchikbkarxthibaykaremuxngithyrwmsmywikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb xnotniox krmchi