ในแคลคูลัส ทฤษฎีบทของโรลล์ หรือ บทแทรกของโรล กล่าวว่าฟังก์ชันค่าจริงใด ๆ ที่ และมีจุดสองจุดที่ทำให้ฟังก์ชันนั้นมีค่าเท่ากัน จะต้องมีอย่างน้อยหนึ่งจุดระหว่างจุดสองจุดนั้น หรืออีกนัยหนึ่งคือ จะต้องมีจุดที่อนุพันธ์ของฟังก์ชันนั้นเป็นศูนย์ นั่นคือจุดที่อนุพันธ์อันดับแรก
ทฤษฎีบทนี้ตั้งชื่อตาม นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส
รูปแบบมาตรฐานของทฤษฎีบท
ทฤษฎีบทของโรลล์ — ถ้า เป็นฟังก์ชันค่าจริงที่ต่อเนื่องบนช่วงปิด (โดยที่ ) และหาอนุพันธ์ได้บนช่วงเปิด และ แล้วจะมีจำนวนจริง ในช่วง อย่างน้อยหนึ่งตัวที่ทำให้
ทฤษฎีบทของโรลล์สามารถใช้เพื่อพิสูจน์ ทฤษฎีบทค่าเฉลี่ย ซึ่งทฤษฎีบทของโรลล์เป็นกรณีพิเศษของทฤษฎีบทดังกล่าวอีกทอดหนึ่ง นอกจากนี้ทฤษฎีบทของโรลล์ยังเป็นฐานสำหรับพิสูจน์ อีกด้วย
ประวัติ
แม้ว่าทฤษฎีบทจะตั้งชื่อตาม แต่บทพิสูจน์ในปี 1691 ของโรลล์นั้นครอบคลุมเฉพาะกรณีฟังก์ชันพหุนามเท่านั้น บทพิสูจน์ของเขาไม่ได้ใช้แคลคูลัส ซึ่งในตอนนั้นเขาถือว่าเป็นทฤษฎีที่ไม่เป็นเหตุเป็นผล ทฤษฎีของโรลล์ในรูปแบบปัจจุบันนี้พิสูจน์ครั้งแรกโดย ในปี ค.ศ. 1823 โดยเป็นบทแทรกหนึ่งของ ทฤษฎีบทค่าเฉลี่ย ชื่อ "ทฤษฎีบทของโรลล์" ถูกใช้เป็นครั้งแรกโดย ชาวเยอรมันในปี 1834 และ ชาวอิตาลีในปี 1846
ตัวอย่าง
ตัวอย่างแรก: ครึ่งวงกลม
กำหนดรัศมี พิจารณาฟังก์ชันรูปครึ่งวงกลม
กราฟของฟังก์ชันข้างต้นคือครึ่งวงกลมส่วนบนที่มีจุดศูนย์กลางที่จุดกำเนิด ฟังก์ชันนี้ต่อเนื่องบนช่วงปิด และหาอนุพันธ์ได้บนช่วงเปิด แต่ไม่สามารถหาอนุพันธ์ได้ที่จุดปลาย และ ทั้งสอง
เนื่องจาก เราสามารถใช้ใช้ทฤษฎีบทของโรลล์กับฟังก์ชันนี้ได้ และจะเห็นว่ามีจุดที่อนุพันธ์ของ เป็นศูนย์ สังเกตว่าทฤษฎีบทนี้ใช้ได้แม้ว่าฟังก์ชันจะไม่มีอนุพันธ์ที่จุดปลายของช่วงปิดได้ เนื่องจากต้องการความหาอนุพันธ์ได้ของฟังก์ชันบนช่วงเปิดเท่านั้น
ตัวอย่างที่สอง: ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
ถ้าฟังก์ชันไม่มีสมบัติหาอนุพันธ์ได้บนช่วงเปิด อาจไม่ได้ผลลัพธ์ตามทฤษฎีบทของโรลล์ พิจารณาฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
พบว่า แต่ไม่มีค่า ระหว่าง −1 และ 1 ที่ทำให้ ทั้งนี้เป็นเพราะว่าฟังก์ชันดังกล่าวหาอนุพันธ์ที่จุด ไม่ได้
สังเกตว่าอนุพันธ์ของ เปลี่ยนเครื่องหมายที่จุด แต่เท่ากับ 0 ทฤษฎีบทของโรลล์ใช้ไม่ได้เพราะฟังก์ชัน ไม่ได้หาอนุพันธ์ได้ทุกจุดในช่วงเปิด อย่างไรเสียเราจะเห็นว่า มีจุดวิกฤติในช่วงดังกล่าว
กรณีทั่วไป
ตัวอย่างที่สองเป็นตัวอย่างหนึ่งของกรณีทั่วไปของทฤษฎีบทของโรลล์:
ทฤษฎีบทของโรลล์แบบทั่วไป — พิจารณาฟังก์ชันต่อเนื่อง บนช่วงปิด ที่ซึ่ง ถ้าหากสำหรับทุก ในช่วงเปิด พบว่า
และอนุพันธ์ทางซ้าย
หาค่าได้บน แล้วจะมีจำนวนจริง ในช่วงเปิด ที่ทำให้ลิมิตค่าหนึ่งจากในสองค่า
มีค่า ≥ 0 และอีกค่าที่เหลือ ≤ 0 (บนเส้นจำนวนจริงขยาย)
ในกรณีที่ลิมิตทางซ้ายและลิมิตทางขวาเท่ากันทั้งสองค่าสำหรับทุก แล้วฟังก์ชันจะหาอนุพันธ์ได้ และจะได้ทฤษฎีบทของโรลล์
ข้อสังเกต
- ถ้า เป็นฟังก์ชันเว้าหรือฟังก์ชันนูน แล้วอนุพันธ์ทางขวาและอนุพันธ์ทางซ้ายจะหาได้ทุกจุด ดังนั้นลิมิตขางต้นย่อมหาได้และเป็นจำนวนจริง
- รูปแบบทั่วไปนี้เพียงพอที่จะใช้พิสูจน์ว่าฟังก์ชันเป็นถ้าอนุพันธ์ทางเดียวเป็น
อ้างอิง
- Besenyei, A. (September 17, 2012). "A brief history of the mean value theorem" (PDF).
- See . A History of Mathematics. p. 224.
- (1964) [1931], The Gamma Function, แปลโดย Butler, Michael, , pp. 3–4
ดูเพิ่ม
ลิงก์ภายนอก
- Hazewinkel, Michiel, บ.ก. (2001), "Rolle theorem", , , ISBN
- Rolle's and Mean Value Theorems ที่.
- บทพิสูจน์ใน proof: http://mizar.org/version/current/html/rolle.html#T2
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inaekhlkhuls thvsdibthkhxngorll hrux bthaethrkkhxngorl klawwafngkchnkhacringid thi aelamicudsxngcudthithaihfngkchnnnmikhaethakn catxngmixyangnxyhnungcudrahwangcudsxngcudnn hruxxiknyhnungkhux catxngmicudthixnuphnthkhxngfngkchnnnepnsuny nnkhuxcudthixnuphnthxndbaerktha f displaystyle f epnfngkchnkhacringthitxenuxngbnchwngpid a b displaystyle a b aelahaxnuphnthidbnchwngepid a b displaystyle a b aela f a f b displaystyle f a f b aelwcamicanwncring c displaystyle c inchwng a b displaystyle a b xyangnxyhnungtwthithaih f c 0 displaystyle f c 0 thvsdibthnitngchuxtam nkkhnitsastrchawfrngessrupaebbmatrthankhxngthvsdibththvsdibthkhxngorll tha f displaystyle f epnfngkchnkhacringthitxenuxngbnchwngpid a b displaystyle a b odythi a lt b displaystyle a lt b aelahaxnuphnthidbnchwngepid a b displaystyle a b aela f a f b displaystyle f a f b aelwcamicanwncring c displaystyle c inchwng a b displaystyle a b xyangnxyhnungtwthithaih f c 0 displaystyle f c 0 thvsdibthkhxngorllsamarthichephuxphisucn thvsdibthkhaechliy sungthvsdibthkhxngorllepnkrniphiesskhxngthvsdibthdngklawxikthxdhnung nxkcaknithvsdibthkhxngorllyngepnthansahrbphisucn xikdwyprawtiaemwathvsdibthcatngchuxtam aetbthphisucninpi 1691 khxngorllnnkhrxbkhlumechphaakrnifngkchnphhunamethann bthphisucnkhxngekhaimidichaekhlkhuls sungintxnnnekhathuxwaepnthvsdithiimepnehtuepnphl thvsdikhxngorllinrupaebbpccubnniphisucnkhrngaerkody inpi kh s 1823 odyepnbthaethrkhnungkhxng thvsdibthkhaechliy chux thvsdibthkhxngorll thukichepnkhrngaerkody chaweyxrmninpi 1834 aela chawxitaliinpi 1846twxyangkhrungwngklmrsmi r displaystyle r twxyangaerk khrungwngklm kahndrsmi r gt 0 displaystyle r gt 0 phicarnafngkchnrupkhrungwngklm f x r2 x2 x r r displaystyle f x sqrt r 2 x 2 quad x in r r krafkhxngfngkchnkhangtnkhuxkhrungwngklmswnbnthimicudsunyklangthicudkaenid fngkchnnitxenuxngbnchwngpid r r displaystyle r r aelahaxnuphnthidbnchwngepid r r displaystyle r r aetimsamarthhaxnuphnthidthicudplay r displaystyle r aela r displaystyle r thngsxng enuxngcak f r f r displaystyle f r f r erasamarthichichthvsdibthkhxngorllkbfngkchnniid aelacaehnwamicudthixnuphnthkhxng f displaystyle f epnsuny sngektwathvsdibthniichidaemwafngkchncaimmixnuphnththicudplaykhxngchwngpidid enuxngcaktxngkarkhwamhaxnuphnthidkhxngfngkchnbnchwngepidethann twxyangthisxng fngkchnkhasmburn krafkhxngfngkchnkhasmburn thafngkchnimmismbtihaxnuphnthidbnchwngepid xacimidphllphthtamthvsdibthkhxngorll phicarnafngkchnkhasmburn f x x x 1 1 displaystyle f x x qquad x in 1 1 phbwa f 1 f 1 displaystyle f 1 f 1 aetimmikha c displaystyle c rahwang 1 aela 1 thithaih f c 0 displaystyle f c 0 thngniepnephraawafngkchndngklawhaxnuphnththicud x 0 displaystyle x 0 imid sngektwaxnuphnthkhxng f displaystyle f epliynekhruxnghmaythicud x 0 displaystyle x 0 aetethakb 0 thvsdibthkhxngorllichimidephraafngkchn f displaystyle f imidhaxnuphnthidthukcudinchwngepid xyangiresiyeracaehnwa f displaystyle f micudwikvtiinchwngdngklawkrnithwip twxyangthisxngepntwxyanghnungkhxngkrnithwipkhxngthvsdibthkhxngorll thvsdibthkhxngorllaebbthwip phicarnafngkchntxenuxng f displaystyle f bnchwngpid a b displaystyle a b thisung f a f b displaystyle f a f b thahaksahrbthuk x displaystyle x inchwngepid a b displaystyle a b phbwa f x limh 0 f x h f x h displaystyle f x lim h to 0 frac f x h f x h aelaxnuphnththangsay f x limh 0 f x h f x h displaystyle f x lim h to 0 frac f x h f x h hakhaidbn displaystyle infty infty aelwcamicanwncring c displaystyle c inchwngepid a b displaystyle a b thithaihlimitkhahnungcakinsxngkha f c aelaf c displaystyle f c quad text aela quad f c mikha 0 aelaxikkhathiehlux 0 bnesncanwncringkhyay inkrnithilimitthangsayaelalimitthangkhwaethaknthngsxngkhasahrbthuk x displaystyle x aelwfngkchncahaxnuphnthid aelacaidthvsdibthkhxngorll khxsngekt tha f displaystyle f epnfngkchnewahruxfngkchnnun aelwxnuphnththangkhwaaelaxnuphnththangsaycahaidthukcud dngnnlimitkhangtnyxmhaidaelaepncanwncring rupaebbthwipniephiyngphxthicaichphisucnwafngkchnepnthaxnuphnththangediywepnf x f x f y x lt y displaystyle f x leq f x leq f y qquad x lt y dd xangxingBesenyei A September 17 2012 A brief history of the mean value theorem PDF See A History of Mathematics p 224 1964 1931 The Gamma Function aeplody Butler Michael pp 3 4duephimthvsdibthkhaechliy thvsdibthkharahwangklanglingkphaynxkHazewinkel Michiel b k 2001 Rolle theorem ISBN 978 1 55608 010 4 Rolle s and Mean Value Theorems thi bthphisucnin proof http mizar org version current html rolle html T2