ชนกรรมาชีพ (อังกฤษ: proletariat) เป็นคำใช้อธิบายชนชั้นลูกจ้าง (โดยเฉพาะอย่างยิ่งคนงานอุตสาหกรรม) ในสังคมทุนนิยมซึ่งครอบครองมูลค่าทางวัตถุ (material value) ที่สำคัญอย่างเดียว คือ พลังแรงงาน (labour-power) หรือความสามารถในการทำงาน สมาชิกของชนชั้นนี้เรียก ชนกรรมาชีพ
การใช้ในทฤษฎีลัทธิมาร์ก
ทฤษฎีลัทธิมากซ์ใช้คำว่า ชนกรรมาชีพ กับชนชั้นทางสังคมซึ่งไม่เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตและสามารถยังชีพได้ด้วยวิธีเดียว คือ ขายพลังแรงงานของตนเพื่อให้ได้ค่าจ้างหรือเงินเดือน ชนกรรมาชีพเป็นลูกจ้าง ทว่าบ้างอาจเรียกผู้ได้รับเงินเดือนว่า salariat อย่างไรก็ดี สำหรับมากซ์ ลูกจ้างอาจได้เงินเดือนแทนที่จะได้ค่าจ้างโดยตัวเอง ลัทธิมากซ์มองชนกรรมาชีพและชนชั้นกระฎุมพี (bourgeoisie) ว่าอยู่ในฐานะที่ขัดแย้งกัน เพราะคนงานปรารถนาให้ค่าจ้างของตัวให้สูงที่สุดเท่าที่เป็นไปได้โดยอัตโนมัติ ขณะที่เจ้าของและตัวแทนปรารถนาให้ค่าจ้าง (ราคา) ต่ำที่สุดเท่าที่เป็นไปได้
ในทฤษฎีลัทธิมากซ์ ขอบเขตระหว่างชนกรรมาชีพกับ (petite bourgeoisie) บางส่วน ซึ่งอาศัยการจ้างตนเอง (self-employment) ณ รายได้ซึ่งเท่ากับหรือน้อยกว่าค่าจ้างปกติเป็นหลักแต่ไม่ใช่ทั้งหมด กับ (Lumpenproletariat) ซึ่งไม่อยู่ในการจ้างงานตามกฎหมาย ไม่จำเป็นต้องนิยามชัดเจน ขณะที่มักเป็นการยากที่จะตัดสินว่าปัจเจกบุคคลอยู่ในชนชั้นใด จากจุดยืนของสังคมทั้งหมด การแบ่งชนชั้นนั้นไม่อาจแย้งได้ หลักฐานยืนยันว่ามีการแบ่งชนชั้นที่ง่ายที่สุด คือ การต่อสู้ระหว่างชนชั้น เช่น แม้ลูกจ้างคนหนึ่งอาจไม่แน่ใจว่าตัวอยู่ในชนชั้นใดในความรู้สึกแห่งตน แต่เมื่อเพื่อนร่วมงานของเขานัดหยุดงาน ในทางวัตถุพิสัย (objectively) เขาถูกบังคับให้ปฏิบัติตามชนชั้นหนึ่ง (คือ เพื่อนร่วมงานของเขา หรือชนกรรมาชีพ) มากกว่าอีกชนชั้นหนึ่ง (คือ ชนชั้นกระฎุมพี) มากซ์กำหนดข้อแตกต่างชัดเจนระหว่างชนกรรมาชีพซึ่งเป็นคนงานได้เงินเดือน ซึ่งเขามองว่าเป็นชนชั้นก้าวหน้า กับลุมเพนโพรเลทารีอัท "ชนกรรมาชีพผ้าขี้ริ้ว" (rag-proletariat) คือ ผู้ยากจนที่สุดในสังคมและผู้ที่สังคมไม่ยอมรับ (outcast) เช่น ขอทาน สิบแปดมงกุฎ คนเต้นกินรำกิน นักแสดงขอทาน (busker) อาชญากรและโสเภณี ซึ่งเขามองว่าเป็นชนชั้นเสื่อม (retrograde) พรรคการเมืองสังคมนิยมมักมีความยุ่งยากต่อคำถามว่าพวกเขาควรแสวงการจัดระเบียบและเป็นตัวแทนของชนชั้นล่างทั้งหมด หรือเฉพาะชนกรรมาชีพลูกจ้าง
ตามลัทธิมากซ์ ทุนนิยมเป็นระบบซึ่งตั้งอยู่บนจากชนกรรมาชีพโดยชนชั้นกระฎุมพี การแสวงหาประโยชน์ดังกล่าวเกิดขึ้นดังนี้: คนงาน ซึ่งไม่เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต ต้องใช้ปัจจัยการผลิตซึ่งเป็นทรัพย์สินของผู้อื่นเพื่อผลิต ผลคือ เพื่อหารายได้ประทังชีพ แทนที่จะจ้างปัจจัยการผลิตเหล่านั้น เขากลับถูกนายทุนจ้างและทำงานผลิตสินค้าหรือบริการให้ สินค้าและบริการเหล่านี้กลายเป็นทรัพย์สินของนายทุน ซึ่งไปขายที่ตลาด
ความมั่งคั่งที่ผลิตขึ้นส่วนหนึ่งถูกนำมาจ่ายเป็นค่าจ้างคนงาน (ต้นทุนแปรผัน) อีกส่วนหนึ่งใช้ทำปัจจัยการผลิตใหม่ (ต้นทุนคงที่) ขณะที่ส่วนที่สาม มูลค่าส่วนเกิน ถูกแบ่งระหว่างการหยิบฉวยส่วนตัวของนายทุน (กำไร) และเงินที่ใช้จ่ายค่าเช่า ภาษี ดอกเบี้ย ฯลฯ มูลค่าส่วนเกินแตกต่างกันระหว่างความมั่งคั่งที่ชนกรรมาชีพผลิตขึ้นผ่านงานของชนนั้น และความมั่งคั่งที่ชนกรรมาชีพบริโภคเพื่อยังชีพและให้แรงงานต่อบริษัทนายทุน มูลค่าส่วนเกินส่วนหนึ่งใช้เพื่อทำใหม่หรือเพิ่มปัจจัยการผลิต อาจเป็นในเชิงปริมาณหรือคุณภาพ (คือ มูลค่าส่วนเกินเปลี่ยนเป็นทุน) และเรียก มูลค่าส่วนเกินที่กลายเป็นทุน (capitalised surplus value) สิ่งที่เหลืออยู่ถูกนายทุนบริโภค
โภคภัณฑ์ที่ชนกรรมาชีพผลิตและนายทุนขายถูกคำนวณเป็นมูลค่าตามปริมาณแรงงานซึ่งรวบรวมอยู่ในนั้น สิ่งเดียวกันเกิดขึ้นสำหรับกำลังแรงงานของคนงานเอง คือ มันถูกคำนวณเป็นมูลค่า ไม่ใช่สำหรับปริมาณความมั่งคั่งที่ผลิต แต่เป็นปริมาณแรงงานที่จำเป็นเพื่อผลิตและผลิตซ้ำ ฉะนั้น นายทุนจึงได้ความมั่งคั่งจากแรงงานของลูกจ้างตัว หาใช่การทำหน้าที่การเข้ามีส่วนร่วมของบุคคลในกระบวนการผลิต ซึ่งอาจไม่มีเลย หากเป็นการทำหน้าที่ของความสัมพันธ์เกี่ยวกับกฎหมายของทรัพย์สินต่อปัจจัยการผลิต นักลัทธิมากซ์แย้งว่า ความมั่งคั่งใหม่ถูกสร้างขึ้นผ่านแรงงานที่ใช้กับทรัพยากรธรรมชาติ
มากซ์แย้งว่าชนกรรมาชีพมีเป้าหมายเพื่อแทนที่ระบบทุนนิยมด้วย ยุบความสัมพันธ์ทางสังคมที่รองรับระบบชนชั้น แล้วพัฒนาสู่สังคมคอมมิวนิสต์ซึ่ง "การพัฒนาแต่ละบุคคลอย่างอิสระเป็นเงื่อนไขของการพัฒนาทุกคนอย่างอิสระ"
อ้างอิง
- proletariat. Accessed: 6 June 2013.
- Marx, Karl (1887). "Chapter Six: The Buying and Selling of Labour-Power". ใน Frederick Engels (บ.ก.). Das Kapital, Kritik der politischen Ökonomie [Capital: Critique of Political Economy] (html). Moscow: Progress Publishers. สืบค้นเมื่อ 10 February 2013.
- Lumpen proletariat – Britannica Online Encyclopedia
- Marx, Karl (1848). "Bourgeois and Proletarians". Manifesto of the Communist Party. Progress Publishers. สืบค้นเมื่อ 10 February 2013.
{{}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|month=
ถูกละเว้น ((help)) - Marx, Karl. The Capital, volume 1, chapter 6. http://www.marxists.org/archive/marx/works/1867-c1/ch06.htm
- Luxemburg, Rosa. The Accumulation of Capital. Chapter 6, Enlarged Reproduction, http://www.marxists.org/archive/luxemburg/1913/accumulation-capital/ch06.htm
- Marx, Karl. Critique of the Gotha Programme, I. http://www.marxists.org/archive/marx/works/1875/gotha/ch01.htm
- Marx, Karl. The Communist Manifesto, part II, Proletarians and Communists http://www.marxists.org/archive/marx/works/1848/communist-manifesto/ch02.htm
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
chnkrrmachiph xngkvs proletariat epnkhaichxthibaychnchnlukcang odyechphaaxyangyingkhnnganxutsahkrrm insngkhmthunniymsungkhrxbkhrxngmulkhathangwtthu material value thisakhyxyangediyw khux phlngaerngngan labour power hruxkhwamsamarthinkarthangan smachikkhxngchnchnnieriyk chnkrrmachiphkarichinthvsdilththimarkthvsdilththimaksichkhawa chnkrrmachiph kbchnchnthangsngkhmsungimepnecakhxngpccykarphlitaelasamarthyngchiphiddwywithiediyw khux khayphlngaerngngankhxngtnephuxihidkhacanghruxengineduxn chnkrrmachiphepnlukcang thwabangxaceriykphuidrbengineduxnwa salariat xyangirkdi sahrbmaks lukcangxacidengineduxnaethnthicaidkhacangodytwexng lththimaksmxngchnkrrmachiphaelachnchnkradumphi bourgeoisie waxyuinthanathikhdaeyngkn ephraakhnnganprarthnaihkhacangkhxngtwihsungthisudethathiepnipidodyxtonmti khnathiecakhxngaelatwaethnprarthnaihkhacang rakha tathisudethathiepnipid inthvsdilththimaks khxbekhtrahwangchnkrrmachiphkb petite bourgeoisie bangswn sungxasykarcangtnexng self employment n rayidsungethakbhruxnxykwakhacangpktiepnhlkaetimichthnghmd kb Lumpenproletariat sungimxyuinkarcangngantamkdhmay imcaepntxngniyamchdecn khnathimkepnkaryakthicatdsinwapceckbukhkhlxyuinchnchnid cakcudyunkhxngsngkhmthnghmd karaebngchnchnnnimxacaeyngid hlkthanyunynwamikaraebngchnchnthingaythisud khux kartxsurahwangchnchn echn aemlukcangkhnhnungxacimaenicwatwxyuinchnchnidinkhwamrusukaehngtn aetemuxephuxnrwmngankhxngekhandhyudngan inthangwtthuphisy objectively ekhathukbngkhbihptibtitamchnchnhnung khux ephuxnrwmngankhxngekha hruxchnkrrmachiph makkwaxikchnchnhnung khux chnchnkradumphi makskahndkhxaetktangchdecnrahwangchnkrrmachiphsungepnkhnnganidengineduxn sungekhamxngwaepnchnchnkawhna kblumephnophreltharixth chnkrrmachiphphakhiriw rag proletariat khux phuyakcnthisudinsngkhmaelaphuthisngkhmimyxmrb outcast echn khxthan sibaepdmngkud khnetnkinrakin nkaesdngkhxthan busker xachyakraelaosephni sungekhamxngwaepnchnchnesuxm retrograde phrrkhkaremuxngsngkhmniymmkmikhwamyungyaktxkhathamwaphwkekhakhwraeswngkarcdraebiybaelaepntwaethnkhxngchnchnlangthnghmd hruxechphaachnkrrmachiphlukcang tamlththimaks thunniymepnrabbsungtngxyubncakchnkrrmachiphodychnchnkradumphi karaeswnghapraoychndngklawekidkhundngni khnngan sungimepnecakhxngpccykarphlit txngichpccykarphlitsungepnthrphysinkhxngphuxunephuxphlit phlkhux ephuxharayidprathngchiph aethnthicacangpccykarphlitehlann ekhaklbthuknaythuncangaelathanganphlitsinkhahruxbrikarih sinkhaaelabrikarehlaniklayepnthrphysinkhxngnaythun sungipkhaythitlad khwammngkhngthiphlitkhunswnhnungthuknamacayepnkhacangkhnngan tnthunaeprphn xikswnhnungichthapccykarphlitihm tnthunkhngthi khnathiswnthisam mulkhaswnekin thukaebngrahwangkarhyibchwyswntwkhxngnaythun kair aelaenginthiichcaykhaecha phasi dxkebiy l mulkhaswnekinaetktangknrahwangkhwammngkhngthichnkrrmachiphphlitkhunphanngankhxngchnnn aelakhwammngkhngthichnkrrmachiphbriophkhephuxyngchiphaelaihaerngngantxbristhnaythun mulkhaswnekinswnhnungichephuxthaihmhruxephimpccykarphlit xacepninechingprimanhruxkhunphaph khux mulkhaswnekinepliynepnthun aelaeriyk mulkhaswnekinthiklayepnthun capitalised surplus value singthiehluxxyuthuknaythunbriophkh ophkhphnththichnkrrmachiphphlitaelanaythunkhaythukkhanwnepnmulkhatamprimanaerngngansungrwbrwmxyuinnn singediywknekidkhunsahrbkalngaerngngankhxngkhnnganexng khux mnthukkhanwnepnmulkha imichsahrbprimankhwammngkhngthiphlit aetepnprimanaerngnganthicaepnephuxphlitaelaphlitsa chann naythuncungidkhwammngkhngcakaerngngankhxnglukcangtw haichkarthahnathikarekhamiswnrwmkhxngbukhkhlinkrabwnkarphlit sungxacimmiely hakepnkarthahnathikhxngkhwamsmphnthekiywkbkdhmaykhxngthrphysintxpccykarphlit nklththimaksaeyngwa khwammngkhngihmthuksrangkhunphanaerngnganthiichkbthrphyakrthrrmchati maksaeyngwachnkrrmachiphmiepahmayephuxaethnthirabbthunniymdwy yubkhwamsmphnththangsngkhmthirxngrbrabbchnchn aelwphthnasusngkhmkhxmmiwnistsung karphthnaaetlabukhkhlxyangxisraepnenguxnikhkhxngkarphthnathukkhnxyangxisra xangxingproletariat Accessed 6 June 2013 Marx Karl 1887 Chapter Six The Buying and Selling of Labour Power in Frederick Engels b k Das Kapital Kritik der politischen Okonomie Capital Critique of Political Economy html Moscow Progress Publishers subkhnemux 10 February 2013 Lumpen proletariat Britannica Online Encyclopedia Marx Karl 1848 Bourgeois and Proletarians Manifesto of the Communist Party Progress Publishers subkhnemux 10 February 2013 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a imruckpharamietxr month thuklaewn help Marx Karl The Capital volume 1 chapter 6 http www marxists org archive marx works 1867 c1 ch06 htm Luxemburg Rosa The Accumulation of Capital Chapter 6 Enlarged Reproduction http www marxists org archive luxemburg 1913 accumulation capital ch06 htm Marx Karl Critique of the Gotha Programme I http www marxists org archive marx works 1875 gotha ch01 htm Marx Karl The Communist Manifesto part II Proletarians and Communists http www marxists org archive marx works 1848 communist manifesto ch02 htm