ปลาฉลามหัวค้อน ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: -ปัจจุบัน | |
---|---|
บริเวณส่วนหัว อันเป็นลักษณะเด่น | |
ฝูงปลาฉลามหัวค้อนหยัก (S. lewini) ที่หมู่เกาะกาลาปาโกส | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Animalia |
ไฟลัม: | Chordata |
ชั้น: | Chondrichthyes |
ชั้นย่อย: | Elasmobranchii |
อันดับใหญ่: | Selachimorpha |
อันดับ: | Carcharhiniformes |
วงศ์: | Sphyrnidae Gill, |
สกุล | |
| |
แผนที่แสดงการกระจายพันธุ์ของปลาฉลามหัวค้อน | |
ชื่อพ้อง | |
|
ปลาฉลามหัวค้อน (อังกฤษ: hammerhead shark) เป็นปลาฉลามในวงศ์ Sphyrnidae
ลักษณะ
ปลาฉลามหัวค้อนมีรูปร่างที่แปลกตาแตกต่างไปจากปลาฉลามในวงศ์หรือสกุลอื่น ๆ คือ มีส่วนหัวที่แบนราบและแผ่ออกข้างคล้ายปีกหรือแลดูคล้ายค้อนทั้งสองข้าง โดยมีดวงตาอยู่สุดปลายทั้งสอง ปัจจุบันยังไม่เป็นที่แน่ชัดว่ามีไว้เพื่ออะไร แต่นักวิทยาศาสตร์สันนิษฐานว่าช่วยทำให้พุ่งตัวขึ้นในแนวดิ่งได้ดีขึ้น อีกทั้งยังใช้เป็นประสาทสัมผัสรับรู้และช่วยลดแรงต้านน้ำให้เหลือน้อยลงในการไล่งับอาหารและในเวลาเอี้ยวหัวในเวลาว่ายน้ำ ตำแหน่งของตาที่อยู่สุดปลายปีกสองข้างนั้นทำให้ปลาฉลามหัวค้อนมีประสาทสายตาดีกว่าปลาฉลามจำพวกอื่น ๆ โดยสามารถมองเห็นภาพในมุมกว้างได้มากกว่าและสามารถทำให้มองเห็นเป็นภาพ 3 มิติ มีรูจมูกที่แยกจากกันเพื่อประสิทธิภาพในการดมกลิ่น และยังสามารถปล่อยกระแสไฟฟ้าแบบอ่อน ๆ เพื่อจับหาที่อยู่ของอาหารได้ด้วย ไม่ว่าจะอยู่กลางทะเลหรือซ่อนอยู่บริเวณหน้าดินก็ตาม แต่ทว่าก็มีข้อเสียคือ ไม่สามารถที่จะเห็นภาพหรือสิ่งที่อยู่ตรงหน้าในระยะใกล้ได้
มีสีลำตัวเป็นสีเทาอมน้ำตาลหรือสีเทาอมดำ หรือจนเกือบดำในบางชนิด ใต้ท้องเป็นสีขาว มีปากเป็นรูปพระจันทร์เสี้ยวอยู่ด้านล่างส่วนหัว
พฤติกรรม
ปลาฉลามหัวค้อนมีนิสัยชอบอยู่รวมกันเป็นฝูงประมาณ 10–20 ตัว พบกระจายพันธุ์อยู่ในทะเลแถบอบอุ่นทั่วทุกมุมโลก เป็นปลาที่ออกลูกเป็นตัว มีขนาดลำตัวตั้งแต่ไม่เกิน 1.5 เมตร จนถึง 6 เมตร ชอบกินอาหารจำพวกปลากระดูกแข็งขนาดเล็กกว่า รวมถึงปลากระเบนซึ่งเป็นปลากระดูกอ่อนเหมือนกันด้วย นอกจากนี้ยังชอบกิน หมึก, กุ้ง, ปู และหอย รวมทั้งอาจล่าสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในทะเลขนาดใหญ่ เช่น โลมาหรือแมวน้ำ ได้ด้วยในบางชนิด โดยมักว่ายหากินตั้งแต่แนวปะการังไปจนถึงใต้ท้องทะเลลึกกว่า 275 เมตร ชอบว่ายน้ำโดยไม่หยุดไปมาตลอด ซึ่งสามารถว่ายน้ำได้ระยะไกล ๆ ในวันหนึ่ง ๆ โดยมีความเร็วในการว่ายประมาณ 40 กิโลเมตรต่อชั่วโมง มีอายุขัยโดยเฉลี่ย 25 ปี
ปลาฉลามหัวค้อนจะออกลูกเป็นตัว ตกคราวละ 4–37 ตัว โดยการผสมพันธุ์จะเกิดก่อนที่ตัวเมียจะตกไข่นานถึง 2 เดือน ปลาตัวเมียจะเก็บน้ำเชื้อของตัวผู้ไว้ในต่อมสร้างเปลือกไข่ ซึ่งไข่จะเจริญมาจากรังไข่ข้างขวาซึ่งจะทำหน้าที่เพียงข้างเดียว ตัวอ่อนในมดลูกจะได้รับอาหารและออกซิเจนจากและพู่เหงือก ซึ่งจะหายไปเมื่อโตขึ้น
ปลาฉลามหัวค้อนที่อาศัยอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก แถบหมู่เกาะกาลาปาโกส มีพฤติกรรมว่ายออกหากินเป็นฝูง และไม่เพียงแค่ว่ายน้ำไปพร้อมกันเท่านั้น แต่พวกยังมีระบบสังคมหรือแม้แต่การสื่อสารปรากฏออกมาผ่านพฤติกรรมทั้งการสั่นหัวอย่างรุนแรง การเร่งความเร็วอย่างกะทันหัน การบิดตัวอย่างแปลกประหลาด ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ผู้ศึกษาเรื่องนี้เชื่อว่าท่าทางเหล่านี้คือการสื่อสารที่เกิดขึ้นภายในกลุ่ม โดยจะรวมตัวกันอยู่ที่แถว ๆ ภูเขาไฟใต้ทะเลระหว่างวัน แต่เมื่อถึงตอนกลางคืนก็จะแยกย้ายกันออกไปหาอาหารของตัวเอง ปลาฉลามหัวค้อนมักจะทำกิจวัตรทุกอย่างที่เป็นเส้นตรง และจะกลับมาตอนรุ่งเช้า ก่อนจะเริ่มต้นทำทุกอย่างเหมือนเดิมอีกครั้งหนึ่ง
ปลาฉลามหัวค้อนถือเป็นนักล่าที่ปราดเปรียวว่องไว ถือว่ามีความว่องไวกว่าปลาฉลามนักล่าขนาดใหญ่กว่า อย่างปลาฉลามขาวหรือปลาฉลามเสือ การปักและหมุนเป็นพฤติกรรมที่ปลาฉลามหัวค้อนจะใช้ส่วนหัวกดปลากระเบนให้ดำดิ่งลงไปติดพื้นทะเล จากนั้นก็จะหมุนตัวเพื่อเลือกชิ้นส่วนของปลากระเบนในการกัดกิน การใช้หัวปักเหยื่อคือหนึ่งในความสามารถของการปรับตัวกับขนาดหัวที่ใหญ่ ถือว่าเป็นพฤติกรรมที่แปลกประหลาดแต่ก็มีประสิทธิภาพมากที่สุดประการหนึ่งเช่นกัน
การจำแนกทางอนุกรมวิธาน
พบทั้งหมด 9 ชนิด ได้แก่
- สกุล Sphyrna
- สกุลย่อย Sphyrna
- Sphyrna lewini (Griffith & Smith, 1834)
- Sphyrna mokarran (Rüppell, 1837)
- (Linnaeus, 1758)
- Cadenat, 1951
- สกุลย่อย Mesozygaena
- Springer, 1940
- สกุลย่อย Platysqualus
- Springer, 1940
- (Linnaeus, 1758)
- (, 1822)
- สกุลย่อย Sphyrna
- สกุล Eusphyra
- Eusphyra blochii (, 1816) ก่อนหน้าจัดอยู่ในสกุล Sphyrna (เรียก Sphyrna blochii)
ความสัมพันธ์กับมนุษย์
ชนิดที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ได้แก่ S. lewini, S. mokarran และ S. zygaena ซึ่งมีขนาดใหญ่และดุร้ายเมื่อถูกจับหรือรบกวน
ในประเทศไทย
พบในเพียง 2 ชนิดเท่านั้น คือ E. blochii และ S. tudes ซึ่งสามารถนำมาบริโภคหรือนำมาปรุงเป็นหูฉลามได้เหมือนฉลามจำพวกอื่น
ปลาฉลามหัวค้อน ยังมีชื่อเรียกอื่นในภาษาไทยอีก เช่น "อ้ายแบ้" หรือ "ราหู" เป็นต้น
ในประเทศไทย ปัจจุบันมีปลาฉลามหัวค้อนชนิด S. lewini เลี้ยงอยู่ในสยามโอเชียนเวิลด์ ภายในห้างสรรพสินค้าสยามพารากอน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ความยาว 1 เมตร จำนวน 3 ตัว ฉลามหัวค้อนสั้นกินสัตว์น้ำทุกชนิด ความยาวประมาณ 50-100 ซ.ม.
อ้างอิง
- "ทางด่วนของฉลามหัวค้อน". เดลินิวส์. 22 June 2014. สืบค้นเมื่อ 23 June 2014.
- นิตยสาร อควาเรี่ยมบิส ฉบับที่ 5 ปีที่ 1 ประจำเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2553 หน้า 101 ฉลามหัวค้อน...นักล่าเหยื่อตัวฉกาจ โดย นันทวัฒน์ โชติสุวรรณ
- [] ปลาฉลามหัวค้อน โดย จารุจินต์ นภีตะภัฏ
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-05-26. สืบค้นเมื่อ 2013-09-26.
{{}}
: ระบุ|accessdate=
และ|access-date=
มากกว่าหนึ่งรายการ ((help)); ระบุ|archivedate=
และ|archive-date=
มากกว่าหนึ่งรายการ ((help)); ระบุ|archiveurl=
และ|archive-url=
มากกว่าหนึ่งรายการ ((help)) - ความหมายของคำว่า ฉลาม ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542
แหล่งข้อมูลอื่น
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
plachlamhwkhxn chwngewlathimichiwitxyu pccubnbriewnswnhw xnepnlksnaednfungplachlamhwkhxnhyk S lewini thihmuekaakalapaokskarcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Animaliaiflm Chordatachn Chondrichthyeschnyxy Elasmobranchiixndbihy Selachimorphaxndb Carcharhiniformeswngs Sphyrnidae Gill skulduinenuxhaaephnthiaesdngkarkracayphnthukhxngplachlamhwkhxnchuxphxngCestracion Squalus Zygaena plachlamhwkhxn xngkvs hammerhead shark epnplachlaminwngs Sphyrnidaelksnaplachlamhwkhxnmiruprangthiaeplktaaetktangipcakplachlaminwngshruxskulxun khux miswnhwthiaebnrabaelaaephxxkkhangkhlaypikhruxaeldukhlaykhxnthngsxngkhang odymidwngtaxyusudplaythngsxng pccubnyngimepnthiaenchdwamiiwephuxxair aetnkwithyasastrsnnisthanwachwythaihphungtwkhuninaenwdingiddikhun xikthngyngichepnprasathsmphsrbruaelachwyldaerngtannaihehluxnxylnginkarilngbxaharaelainewlaexiywhwinewlawayna taaehnngkhxngtathixyusudplaypiksxngkhangnnthaihplachlamhwkhxnmiprasathsaytadikwaplachlamcaphwkxun odysamarthmxngehnphaphinmumkwangidmakkwaaelasamarththaihmxngehnepnphaph 3 miti mirucmukthiaeykcakknephuxprasiththiphaphinkardmklin aelayngsamarthplxykraaesiffaaebbxxn ephuxcbhathixyukhxngxahariddwy imwacaxyuklangthaelhruxsxnxyubriewnhnadinktam aetthwakmikhxesiykhux imsamarththicaehnphaphhruxsingthixyutrnghnainrayaiklid misilatwepnsiethaxmnatalhruxsiethaxmda hruxcnekuxbdainbangchnid itthxngepnsikhaw mipakepnrupphracnthresiywxyudanlangswnhwphvtikrrmplachlamhwkhxnminisychxbxyurwmknepnfungpraman 10 20 tw phbkracayphnthuxyuinthaelaethbxbxunthwthukmumolk epnplathixxklukepntw mikhnadlatwtngaetimekin 1 5 emtr cnthung 6 emtr chxbkinxaharcaphwkplakradukaekhngkhnadelkkwa rwmthungplakraebnsungepnplakradukxxnehmuxnkndwy nxkcakniyngchxbkin hmuk kung pu aelahxy rwmthngxaclastweliynglukdwynminthaelkhnadihy echn olmahruxaemwna iddwyinbangchnid odymkwayhakintngaetaenwpakarngipcnthungitthxngthaellukkwa 275 emtr chxbwaynaodyimhyudipmatlxd sungsamarthwaynaidrayaikl inwnhnung odymikhwamerwinkarwaypraman 40 kiolemtrtxchwomng mixayukhyodyechliy 25 pi plachlamhwkhxncaxxklukepntw tkkhrawla 4 37 tw odykarphsmphnthucaekidkxnthitwemiycatkikhnanthung 2 eduxn platwemiycaekbnaechuxkhxngtwphuiwintxmsrangepluxkikh sungikhcaecriymacakrngikhkhangkhwasungcathahnathiephiyngkhangediyw twxxninmdlukcaidrbxaharaelaxxksiecncakaelaphuehnguxk sungcahayipemuxotkhun plachlamhwkhxnthixasyxyuinmhasmuthraepsifik aethbhmuekaakalapaoks miphvtikrrmwayxxkhakinepnfung aelaimephiyngaekhwaynaipphrxmknethann aetphwkyngmirabbsngkhmhruxaemaetkarsuxsarpraktxxkmaphanphvtikrrmthngkarsnhwxyangrunaerng karerngkhwamerwxyangkathnhn karbidtwxyangaeplkprahlad sungnkwithyasastrphusuksaeruxngniechuxwathathangehlanikhuxkarsuxsarthiekidkhunphayinklum odycarwmtwknxyuthiaethw phuekhaifitthaelrahwangwn aetemuxthungtxnklangkhunkcaaeykyayknxxkiphaxaharkhxngtwexng plachlamhwkhxnmkcathakicwtrthukxyangthiepnesntrng aelacaklbmatxnrungecha kxncaerimtnthathukxyangehmuxnedimxikkhrnghnung plachlamhwkhxnthuxepnnklathipradepriywwxngiw thuxwamikhwamwxngiwkwaplachlamnklakhnadihykwa xyangplachlamkhawhruxplachlamesux karpkaelahmunepnphvtikrrmthiplachlamhwkhxncaichswnhwkdplakraebnihdadinglngiptidphunthael caknnkcahmuntwephuxeluxkchinswnkhxngplakraebninkarkdkin karichhwpkehyuxkhuxhnunginkhwamsamarthkhxngkarprbtwkbkhnadhwthiihy thuxwaepnphvtikrrmthiaeplkprahladaetkmiprasiththiphaphmakthisudprakarhnungechnknkarcaaenkthangxnukrmwithanphbthnghmd 9 chnid idaek skul Sphyrna skulyxy Sphyrna Sphyrna lewini Griffith amp Smith 1834 Sphyrna mokarran Ruppell 1837 Linnaeus 1758 Cadenat 1951 skulyxy Mesozygaena Springer 1940 skulyxy Platysqualus Springer 1940 Linnaeus 1758 1822 skul Eusphyra Eusphyra blochii 1816 kxnhnacdxyuinskul Sphyrna eriyk Sphyrna blochii khwamsmphnthkbmnusychnidthiepnxntraytxmnusyidaek S lewini S mokarran aela S zygaena sungmikhnadihyaeladurayemuxthukcbhruxrbkwn inpraethsithy phbinephiyng 2 chnidethann khux E blochii aela S tudes sungsamarthnamabriophkhhruxnamaprungepnhuchlamidehmuxnchlamcaphwkxun plachlamhwkhxn yngmichuxeriykxuninphasaithyxik echn xayaeb hrux rahu epntn inpraethsithy pccubnmiplachlamhwkhxnchnid S lewini eliyngxyuinsyamoxechiynewild phayinhangsrrphsinkhasyampharakxn ekhtpthumwn krungethphmhankhr khwamyaw 1 emtr canwn 3 tw chlamhwkhxnsnkinstwnathukchnid khwamyawpraman 50 100 s m xangxing thangdwnkhxngchlamhwkhxn edliniws 22 June 2014 subkhnemux 23 June 2014 nitysar xkhwaeriymbis chbbthi 5 pithi 1 pracaeduxnphvscikayn ph s 2553 hna 101 chlamhwkhxn nklaehyuxtwchkac ody nnthwthn ochtisuwrrn lingkesiy plachlamhwkhxn ody carucint nphitapht khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2013 05 26 subkhnemux 2013 09 26 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a rabu accessdate aela access date makkwahnungraykar help rabu archivedate aela archive date makkwahnungraykar help rabu archiveurl aela archive url makkwahnungraykar help khwamhmaykhxngkhawa chlam tamphcnanukrmchbbrachbnthitysthan ph s 2542aehlngkhxmulxunwikispichismikhxmulphasaxngkvsekiywkb Sphyrnidae