ในทางคอมพิวเตอร์และคณิตศาสตร์ จุดฐาน (อังกฤษ: radix point, radix character) คือสัญลักษณ์ที่ใช้ในการแทนจำนวนเพื่อแบ่งส่วนที่เป็นจำนวนเต็ม (ทางซ้ายของจุดฐาน) ออกจากจำนวนเศษ (ทางขวาของจุดฐาน) คำว่าจุดฐานนี้ใช้กับทุกระบบ ในเลขฐานสิบ จุดฐานนี้จะเรียกว่าจุดทศนิยม เช่นเดียวกับเลขฐานสอง จุดฐานนี้จะเรียกว่าจุดทวินิยม
ในประเทศที่พูดภาษาอังกฤษ รวมทั้งประเทศไทย จุดฐานมักเขียนแทนด้วยมหัพภาค (.) วางไว้ที่เส้นบรรทัด หรือวางไว้ตรงกลางระหว่างเส้นบรรทัดกับเส้นความสูงของตัวเลข แต่ในภูมิภาคอื่นอาจใช้จุลภาค (,) แทนมหัพภาคโดยปกติ (ดูที่ สัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ สำหรับข้อมูลเพิ่มเติม)
ตัวอย่าง
ยกตัวอย่างเลขฐานสิบ 13.625 จะได้ว่า 13 คือส่วนจำนวนเต็มที่อยู่ทางซ้ายของจุดทศนิยม และ 625 คือส่วนจำนวนเศษที่อยู่ทางขวาของจุดทศนิยม (ซึ่งมีค่า 6251000)
ยกตัวอย่างเลขฐานสอง 1101.101 แยกแยะเลขโดดตามค่าประจำหลักได้ดังนี้
กำลังของสอง | 3 | 2 | 1 | 0 | −1 | −2 | −3 | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เลขโดดฐานสอง | 1 | 1 | 0 | 1 | . | 1 | 0 | 1 |
ดังนั้น ค่าในเลขฐานสิบของจำนวนนี้จึงสามารถคำนวณได้ดังนี้
จะเห็นได้ว่า 1101 ซึ่งเป็นส่วนจำนวนเต็มที่อยู่ทางซ้ายของจุดทวินิยม เป็นการแทนเลขฐานสองของ 13 ฐานสิบ และ 101 ซึ่งเป็นส่วนจำนวนเศษที่อยู่ทางขวาของจุดทวินิยม เป็นการแทนเลขฐานสองของ 6251000 ฐานสิบ (หรือ 58)
อ้างอิง
- 310212: Introduction to Computer Science – การจัดเก็บข้อมูล ตอนที่ 3[]. คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา.
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inthangkhxmphiwetxraelakhnitsastr cudthan xngkvs radix point radix character khuxsylksnthiichinkaraethncanwnephuxaebngswnthiepncanwnetm thangsaykhxngcudthan xxkcakcanwness thangkhwakhxngcudthan khawacudthanniichkbthukrabb inelkhthansib cudthannicaeriykwacudthsniym echnediywkbelkhthansxng cudthannicaeriykwacudthwiniym inpraethsthiphudphasaxngkvs rwmthngpraethsithy cudthanmkekhiynaethndwymhphphakh wangiwthiesnbrrthd hruxwangiwtrngklangrahwangesnbrrthdkbesnkhwamsungkhxngtwelkh aetinphumiphakhxunxacichculphakh aethnmhphphakhodypkti duthi sylksnaebngelkhthansib sahrbkhxmulephimetim twxyangyktwxyangelkhthansib 13 625 caidwa 13 khuxswncanwnetmthixyuthangsaykhxngcudthsniym aela 625 khuxswncanwnessthixyuthangkhwakhxngcudthsniym sungmikha 625 1000 yktwxyangelkhthansxng 1101 101 aeykaeyaelkhoddtamkhapracahlkiddngni kalngkhxngsxng 3 2 1 0 1 2 3elkhoddthansxng 1 1 0 1 1 0 1 dngnn khainelkhthansibkhxngcanwnnicungsamarthkhanwniddngni 1101 1012 1 23 1 22 0 21 1 20 1 2 1 0 2 2 1 2 3 1 8 1 4 0 2 1 1 1 0 5 0 0 25 1 0 125 8 4 0 1 0 5 0 0 125 13 62510 displaystyle begin aligned 1101 101 2 amp 1 times 2 3 1 times 2 2 0 times 2 1 1 times 2 0 1 times 2 1 0 times 2 2 1 times 2 3 amp 1 times 8 1 times 4 0 times 2 1 times 1 1 times 0 5 0 times 0 25 1 times 0 125 amp 8 4 0 1 0 5 0 0 125 amp 13 625 10 end aligned dd caehnidwa 1101 sungepnswncanwnetmthixyuthangsaykhxngcudthwiniym epnkaraethnelkhthansxngkhxng 13 thansib aela 101 sungepnswncanwnessthixyuthangkhwakhxngcudthwiniym epnkaraethnelkhthansxngkhxng 625 1000 thansib hrux 5 8 xangxing310212 Introduction to Computer Science karcdekbkhxmul txnthi 3 lingkesiy khnawithyakarsarsneths mhawithyalyburpha duephimcanwncudlxytw