บทความนี้ยังต้องการเพิ่มเพื่อ |
กิโยตีน (ฝรั่งเศส: guillotine) เป็นชื่อเรียกของอุปกรณ์การประหารชีวิตของฝรั่งเศส ถูกประดิษฐ์ขึ้นในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศสเพื่อใช้ตัดคอนักโทษ กิโยตีนประกอบโครงโดยส่วนมากจะเป็นไม้ ไว้สำหรับแขวนใบมีดรูปสี่เหลี่ยมคางหมู น้ำหนักประมาณ 40 กก. ใบมีดจะถูกแขวนไว้ในส่วนบนสุด ภายใต้ใบมีดจะเป็นส่วนที่ให้ผู้ถูกลงโทษวางศีรษะ เมื่อเชือกได้ถูกปล่อยหรือตัดลง ใบมีดที่หนักจะหล่นลงไม้ในระยะทางประมาณ 2.3 เมตร และตัดศีรษะผู้ถูกประหาร (ความสูงและน้ำหนักตามมาตรฐานกิโยตีนฝรั่งเศส)
ประเทศฝรั่งเศสได้ชื่อว่าเป็นประเทศแรกที่ใช้การประหารชีวิตด้วยกิโยตีน นาย (Nicolas J. Pelletier) โจรปล้นสัญจรถูกประหารชีวิตด้วยกิโยตีนเป็นคนแรกเมื่อวันที่ 25 เมษายน ค.ศ. 1792 ในช่วงเวลาใกล้เคียงกันในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16 สหราชอาณาจักร มีเครื่องลงโทษลักษณะที่คล้ายกันชื่อกรงเหล็กตะแลงแกง และมีเครื่องลงโทษลักษณะคล้ายกันในประเทศอิตาลีและสวิตเซอร์แลนด์
นายแพทย์อ็องตวน หลุยส์ สมาชิกสมาคมศัลยศาสตร์ (Académie Chirurgical) เป็นบุคคลที่คิดค้นการทำงานของเครื่องกิโยตีน โดยเครื่องกิโยตีนตอนแรกได้ใช้ชื่อว่า ลูยซง (Louison) หรือลูยแซ็ต (Louisette) แต่ได้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น "กิโยตีน" ตามชื่อของ ดร.โฌแซ็ฟ-อีญัส กียอแต็ง แพทย์ชาวฝรั่งเศสเป็นผู้เสนอแนะการประหารชีวิตโดยการตัดคอ ภายหลัง ดร.กิโยตีน ได้เปลี่ยนนามสกุล เนื่องจากไม่ต้องการใช้ชื่อสกุลเป็นคำเดียวกับวิธีการประหารชีวิต ทั้งนี้ก่อนการปฏิวัติฝรั่งเศส ผู้มีชื่อเสียงมักถูกตัดคอโดยดาบหรือขวาน ในขณะที่ชาวบ้านทั่วไปจะถูกแขวนคอ หรือวิธีการประหลาดต่าง ๆ ในช่วงของยุคกลาง (เช่น ถูกเผาหรือมัดกับล้อไม้) ในการตัดคอ มีหลายครั้งที่ตัดคอไม่สำเร็จในดาบแรก ทำให้เกิดความทรมานต่อผู้ถูกประหารชีวิต การใช้กิโยตีนจะทำให้ผู้ถูกประหารชีวิตเจ็บปวดน้อยที่สุด ในช่วงปฏิวัติฝรั่งเศส มีผู้ถูกประหารชีวิตด้วยกิโยตีนอย่างน้อย 20,000 คน โดยการประหารด้วยกิโยตีนถือเป็นที่สนใจของบุคคลทั่วไปเช่นกัน
กิโยตีนถือเป็นเครื่องประหารชนิดเดียวที่ถูกกฎหมาย จนกระทั่งยกเลิกกฎหมายประหารชีวิตในปี ค.ศ. 1881 อย่างไรก็ตาม ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ทวีปยุโรปได้ตกอยู่ภายใต้การยึดครองของนาซีเยอรมนี นาซีได้นำเครื่องกิโยตีนมาใช้ในการประหารชีวิตผู้ที่ต่อต้านระบอบนาซีในเยอรมนี บุคคลสุดท้ายที่ถูกประหารชีวิตด้วยกิโยตีนในฝรั่งเศสในที่สาธารณะ คือ ออยเกิน ไวด์มันน์ (Eugen Weidmann) อายุ 31 ปี ฆาตกรสังหาร 6 ศพชาวเยอรมัน โดยถูกตัดศีรษะเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน ค.ศ. 1939 เวลา 16.32 น. ภายนอก (Saint-Pierre) ที่เมืองแวร์ซาย ส่วนบุคคลสุดท้ายที่ถูกประหารชีวิตด้วยกิโยตีนและเป็นผู้ถูกประหารชีวิตคนสุดท้ายฝรั่งเศสใน คือ ฮามิดา จันดูบี (Hamida Djandoubi) อายุ 27 ปี ฆาตกรชาวตูนีเซียที่ลักพาตัว ทรมาน และสังหารเอลิซาเบธ บูสเกต์ อายุ 22 ปีโดยถูกตัดศีรษะที่ที่เรือนจำบัลเมต(Baumettes Prison) ในเมืองมาร์แซย์ เมื่อวันที่ 10 กันยายน ค.ศ. 1977 เวลา 04:40 น.
อ้างอิง
- Qui était Hamida Djandoubi, le dernier condamné à mort exécuté en France, le 10 septembre 1977 ?
แหล่งข้อมูลอื่น
- รายละเอียดกิโยตีน 2005-03-24 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน รวมภาพ ประวัติ รายชื่อของกิโยตีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxngkhunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxk haaehlngkhxmul kioytin khaw hnngsuxphimph hnngsux skxlar JSTOR eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir kioytin frngess guillotine epnchuxeriykkhxngxupkrnkarpraharchiwitkhxngfrngess thukpradisthkhuninchwngkarptiwtifrngessephuxichtdkhxnkoths kioytinprakxbokhrngodyswnmakcaepnim iwsahrbaekhwnibmidrupsiehliymkhanghmu nahnkpraman 40 kk ibmidcathukaekhwniwinswnbnsud phayitibmidcaepnswnthiihphuthuklngothswangsirsa emuxechuxkidthukplxyhruxtdlng ibmidthihnkcahlnlngiminrayathangpraman 2 3 emtr aelatdsirsaphuthukprahar khwamsungaelanahnktammatrthankioytinfrngess kioytininxngkvskarpraharphraecahluysthi 16karprahar phrarachinimari xxngtwaent 16 tulakhm kh s 1793ochaesf xiys kiyxaetng phuesnxihpraharchiwitodykartdkhx aettwekhaimichphupradisthkioytin praethsfrngessidchuxwaepnpraethsaerkthiichkarpraharchiwitdwykioytin nay Nicolas J Pelletier ocrplnsycrthukpraharchiwitdwykioytinepnkhnaerkemuxwnthi 25 emsayn kh s 1792 inchwngewlaiklekhiyngkninchwngkhriststwrrsthi 16 shrachxanackr miekhruxnglngothslksnathikhlayknchuxkrngehlktaaelngaekng aelamiekhruxnglngothslksnakhlaykninpraethsxitaliaelaswitesxraelnd nayaephthyxxngtwn hluys smachiksmakhmslysastr Academie Chirurgical epnbukhkhlthikhidkhnkarthangankhxngekhruxngkioytin odyekhruxngkioytintxnaerkidichchuxwa luysng Louison hruxluyaest Louisette aetidthukepliynchuxepn kioytin tamchuxkhxng dr ochaesf xiys kiyxaetng aephthychawfrngessepnphuesnxaenakarpraharchiwitodykartdkhx phayhlng dr kioytin idepliynnamskul enuxngcakimtxngkarichchuxskulepnkhaediywkbwithikarpraharchiwit thngnikxnkarptiwtifrngess phumichuxesiyngmkthuktdkhxodydabhruxkhwan inkhnathichawbanthwipcathukaekhwnkhx hruxwithikarprahladtang inchwngkhxngyukhklang echn thukephahruxmdkblxim inkartdkhx mihlaykhrngthitdkhximsaercindabaerk thaihekidkhwamthrmantxphuthukpraharchiwit karichkioytincathaihphuthukpraharchiwitecbpwdnxythisud inchwngptiwtifrngess miphuthukpraharchiwitdwykioytinxyangnxy 20 000 khn odykarprahardwykioytinthuxepnthisnickhxngbukhkhlthwipechnkn kioytinthuxepnekhruxngpraharchnidediywthithukkdhmay cnkrathngykelikkdhmaypraharchiwitinpi kh s 1881 xyangirktam inchwngsngkhramolkkhrngthisxng thwipyuorpidtkxyuphayitkaryudkhrxngkhxngnasieyxrmni nasiidnaekhruxngkioytinmaichinkarpraharchiwitphuthitxtanrabxbnasiineyxrmni bukhkhlsudthaythithukpraharchiwitdwykioytininfrngessinthisatharna khux xxyekin iwdmnn Eugen Weidmann xayu 31 pi khatkrsnghar 6 sphchaweyxrmn odythuktdsirsaemuxwnthi 17 mithunayn kh s 1939 ewla 16 32 n phaynxk Saint Pierre thiemuxngaewrsay swnbukhkhlsudthaythithukpraharchiwitdwykioytinaelaepnphuthukpraharchiwitkhnsudthayfrngessin khux hamida cndubi Hamida Djandoubi xayu 27 pi khatkrchawtuniesiythilkphatw thrman aelasngharexlisaebth busekt xayu 22 piodythuktdsirsathithieruxncablemt Baumettes Prison inemuxngmaraesy emuxwnthi 10 knyayn kh s 1977 ewla 04 40 n xangxingQui etait Hamida Djandoubi le dernier condamne a mort execute en France le 10 septembre 1977 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb kioytin raylaexiydkioytin 2005 03 24 thi ewyaebkaemchchin rwmphaph prawti raychuxkhxngkioytin