กิรออะฮ์ หมายถึง เทคนิคการอ่านกุรอาน ส่วนความหมายตามตัวอักษร หมายถึง การอ่าน นักอักษรศาสตร์ให้ความหมายว่า เทคนิคการอ่าน กิรออาต เป็นรูปพหูพจน์ของคำว่า กิรออะฮ์ ซึ่งบ่งชี้ถึงประเภทการอ่านที่หลากหลาย เป้าหมายของ "การอ่านกุรอานอย่างถูกต้อง" คือการอธิบายคำต่าง ๆ ด้วยเทคนิคที่นบีมุฮัมมัด ศาสดาแห่งอิสลามเคยอ่าน หรือการอ่านที่เคยอ่านต่อหน้าท่าน และท่านก็รับรองการอ่านนั้น
เทคนิคการอ่านกุรอานตามรายงานของฮัฟศ์ ที่รายงานจาก อาซิม กูฟี เป็นเทคนิคการอ่านที่ถูกรู้จักกันมากที่สุดในหมู่มุสลิม
นิยาม
"กิรออะฮ์" คือรูปแบบหนึ่งจากรูปแบบที่คาดคะเนได้ว่าเป็นตัวบทของกุรอาน
กล่าวว่า กิรออาต คือ ความแตกต่างที่เกี่ยวกับ "คำต่าง ๆ " และ "ประโยคต่าง ๆ " ของ ซึ่งความแตกต่างนี้เกี่ยวข้องกับตัวอักษร คำต่าง ๆ และวิธีการต่าง ๆ ของกุรอาน อาทิ เป็นต้น - ซึ่งรายงานโดยนักอ่าน- กล่าวว่า กิรออาต หมายถึง ศาสตร์ที่ผ่านมติเอกฉันท์หรือความแตกต่างของผู้บันทึกคัมภีร์ของพระเจ้า- เกี่ยวกับเรื่องของการ ตัด การคงไว้ การใส่สระ การใส่ การเว้นวรรค การเชื่อมตัวอักษรและคำต่าง ๆ เหล่านี้เป็นต้น วิธีการออกเสียง และ () อีกทั้งเรื่องอื่น ๆ ที่สามารถเรียนรู้ได้ด้วยการฟัง
ประวัติความเป็นมา
การอ่าน เป็นศัพท์เชิงวิชาการรุ่นก่อน ซึ่งย้อนกลับไปยังยุคสาวกของท่านศาสดามุฮัมมัด (ซลฯ) วิทยาการแรกของอิสลามที่สาวกได้เรียนรู้ คือ การท่องจำกุรอานและการอ่านกุรอาน หลังจากที่ท่านศาสดาได้เสียชีวิต สาวกกลุ่มหนึ่งก้ได้บันทึกกุรอานออกเป็นต่าง ๆ เช่น , , และ ด้วยเหตุนี้จึงทำให้บุคคลเหล่านี้มีความขัดแย้งกันในกรณีต่าง ๆ ที่เกียวกับวิธีการบันทึกกุรอาน เป็นผลให้เกิดการอ่านต่าง ๆ ที่หลากหลายขึ้น ผู้คนในโลกอิสลามแต่ละพื้นที่ต่างก็อ่านกุรอานตามสาวกที่พวกเขารู้จักและคุ้นเคย เช่น ชาว ก็จะอ่านตาม ชาวบัศเราะฮ์จะอ่านตาม และชาวก็จะอ่านตามอุบัย บิน กะอบ์ จากความขัดแย้งนี้เองทำให้เห็นถึงความจำเป็นของศาสตร์ศาสตร์หนึ่งที่สามารถจำแนกการอ่านที่ถูกต้องและมุตะวาติร ออกจากการอ่านที่ไม่เป็นที่รู้จัก (ชาษ)
กุรอานมีรุปแบบการอ่านที่แตกต่างกันออกไป ในลักษณะที่กล่าวกันว่าช่วง ศตวรรษที่สองหรือสาม แห่งฮิจเราะฮ์ศักราชมีรายงานถึง 14 รายงานเกี่ยวกับรูปแบบอ่าน และฮาฟิซก็กล่าวถึงการอ่านกุรอานตาม 14 การรายงานเอาไว้ด้วย ซึ่งมีความแตกต่างกันในบางรายละเอียดของการอ่าน ฉะนั้นอย่าสับสนระหว่างการอ่านกุรอานกับการท่องจำกุรอาน การอ่านมี 4 ระดับ ได้แก่:
- ตัรตีล : เป็นการอ่านที่รักษาระเบียบการเรียบเรียงที่มีอยู่ในประโยคและกฎเกณฑ์ของคำพูด
- ตะห์กีก: เป็นการอ่านที่เพิ่มสำเนียงการอย่างความพอดี รักษาความนุ่มนวลในการอ่าน ผสมผสานกับการลากเสียงสระสุดท้าย การออกเสียงพยัญชนะ ซึ่งการตะห์กีกนั้นมี 3 ประเภทด้วยกัน
- ตะห์ดีร : การอ่านเร็ว โดยยังคงรักษากฎเกณฑ์ของหลักตัจวีด
- ตัดวีร : เป็นการอ่านที่อยู่ระหว่าง ตะห์กีก กับ ตะห์ดี
เทคนิคการอ่าน จัดอยู่ในศาสตร์ด้านวิทยากุรอาน ซึ่งแต่เดิมนั้นมีเทคนิคการอ่านถึง 10 รูปแบบด้วยกัน ซึ่งแต่ละเทคนิคนั้นได้มาจากนักอ่านกุรอานที่โด่งดัง ทุก ๆ การอ่านจะรายงานจากบรรดานักรายงานที่รายงานต่อ ๆ กันมาก่อนหน้าตน ในศาสตร์เทคนิคการอ่านนั้น จะอธิบายเกี่ยวกับการอ่านกุรอาน[]
ลิงก์ที่เกี่ยวข้อง
- บรรดานักอ่านทั้งเจ็ด
- การบันทึกกุรอาน
อ้างอิง
- روایت حفص از قرائت عامی و دلایل ترجیح آن
- [1]
- «The Seven Qira'at of the Qur'an» 2017-10-24 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
{{}}
: Citation ว่างเปล่า ((help)) - «مراتب تلاوت قرآن کریم: تحقیق ـ ترتیل ـ تدویر ـ تحدیر». باشگاه خبرنگاران جوان.
{{}}
: Citation ว่างเปล่า ((help))
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
kirxxah hmaythung ethkhnikhkarxankurxan swnkhwamhmaytamtwxksr hmaythung karxan nkxksrsastrihkhwamhmaywa ethkhnikhkarxan kirxxat epnrupphhuphcnkhxngkhawa kirxxah sungbngchithungpraephthkarxanthihlakhlay epahmaykhxng karxankurxanxyangthuktxng khuxkarxthibaykhatang dwyethkhnikhthinbimuhmmd sasdaaehngxislamekhyxan hruxkarxanthiekhyxantxhnathan aelathankrbrxngkarxannn ethkhnikhkarxankurxantamrayngankhxnghfs thirayngancak xasim kufi epnethkhnikhkarxanthithukruckknmakthisudinhmumuslimniyam kirxxah khuxrupaebbhnungcakrupaebbthikhadkhaenidwaepntwbthkhxngkurxan klawwa kirxxat khux khwamaetktangthiekiywkb khatang aela praoykhtang khxng sungkhwamaetktangniekiywkhxngkbtwxksr khatang aelawithikartang khxngkurxan xathi epntn sungraynganodynkxan klawwa kirxxat hmaythung sastrthiphanmtiexkchnthhruxkhwamaetktangkhxngphubnthukkhmphirkhxngphraeca ekiywkberuxngkhxngkar td karkhngiw karissra karis karewnwrrkh karechuxmtwxksraelakhatang ehlaniepntn withikarxxkesiyng aela xikthngeruxngxun thisamartheriynruiddwykarfngprawtikhwamepnmakarxan epnsphthechingwichakarrunkxn sungyxnklbipyngyukhsawkkhxngthansasdamuhmmd sl withyakaraerkkhxngxislamthisawkideriynru khux karthxngcakurxanaelakarxankurxan hlngcakthithansasdaidesiychiwit sawkklumhnungkidbnthukkurxanxxkepntang echn aela dwyehtunicungthaihbukhkhlehlanimikhwamkhdaeyngkninkrnitang thiekiywkbwithikarbnthukkurxan epnphlihekidkarxantang thihlakhlaykhun phukhninolkxislamaetlaphunthitangkxankurxantamsawkthiphwkekharuckaelakhunekhy echn chaw kcaxantam chawbseraahcaxantam aelachawkcaxantamxuby bin kaxb cakkhwamkhdaeyngniexngthaihehnthungkhwamcaepnkhxngsastrsastrhnungthisamarthcaaenkkarxanthithuktxngaelamutawatir xxkcakkarxanthiimepnthiruck chas kurxanmirupaebbkarxanthiaetktangknxxkip inlksnathiklawknwachwng stwrrsthisxnghruxsam aehnghiceraahskrachmiraynganthung 14 raynganekiywkbrupaebbxan aelahafiskklawthungkarxankurxantam 14 karraynganexaiwdwy sungmikhwamaetktangkninbangraylaexiydkhxngkarxan channxyasbsnrahwangkarxankurxankbkarthxngcakurxan karxanmi 4 radb idaek trtil epnkarxanthirksaraebiybkareriyberiyngthimixyuinpraoykhaelakdeknthkhxngkhaphud tahkik epnkarxanthiephimsaeniyngkarxyangkhwamphxdi rksakhwamnumnwlinkarxan phsmphsankbkarlakesiyngsrasudthay karxxkesiyngphyychna sungkartahkiknnmi 3 praephthdwykn tahdir karxanerw odyyngkhngrksakdeknthkhxnghlktcwid tdwir epnkarxanthixyurahwang tahkik kb tahdi ethkhnikhkarxan cdxyuinsastrdanwithyakurxan sungaetedimnnmiethkhnikhkarxanthung 10 rupaebbdwykn sungaetlaethkhnikhnnidmacaknkxankurxanthiodngdng thuk karxancarayngancakbrrdankraynganthirayngantx knmakxnhnatn insastrethkhnikhkarxannn caxthibayekiywkbkarxankurxan txngkarxangxing lingkthiekiywkhxngbrrdankxanthngecd karbnthukkurxanxangxingروایت حفص از قرائت عامی و دلایل ترجیح آن 1 The Seven Qira at of the Qur an 2017 10 24 thi ewyaebkaemchchin a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a Citation wangepla help مراتب تلاوت قرآن کریم تحقیق ـ ترتیل ـ تدویر ـ تحدیر باشگاه خبرنگاران جوان a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a Citation wangepla help