หน้านี้มีเนื้อหาเป็นภาษาต่างประเทศ คุณสามารถช่วยพัฒนาหน้านี้ได้ด้วยการแปล ยกเว้นหากเนื้อหาเกือบทั้งหมด ให้แจ้งลบแทน |
การแผ่รังสีของวัตถุดำ (อังกฤษ: black-body radiation) คือ การแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าของวัตถุในสภาวะสมดุลทางอุณหพลศาสตร์เมื่อเทียบกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งวัตถุหรืออนุภาคใดๆ ที่มีอุณหภูมิสูงกว่าอุณหภูมิศูนย์สัมบูรณ์จะมีการแผ่รังสีความร้อนออกมาเสมอโดยปริมาณการแผ่รังสีของวัตถุนั้นจะมีสเปกตรัมและความเข้มที่มีค่าเฉพาะตัวที่มีความสัมพันธ์โดยตรงขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของวัตถุนั้น เราสามารถอนุมานวัตถุต่างๆ ที่มีการแผ่รังสีออกมาได้ด้วยตัวเองว่าเป็นวัตถุดำซึ่งโดยส่วนใหญ่ที่อุณหภูมิห้องการแผ่รังสีของวัตถุที่แผ่ออกมานั้นจะอยู่ในช่วงความยาวคลื่นของรังสีอินฟราเรดที่มีความเข้มต่ำทำให้ดวงตาของมนุษย์ที่ไวต่อการรับรู้สีขาวและสีดำเมื่ออยู่ในภาวะที่มีความเข้มแสงต่ำมองเห็นวัตถุที่แผ่รังสีในลักษณะนี้ออกมาเป็นสีดำ นอกจากนี้เมื่อวัตถุมีอุณหภูมิสูงขึ้นการแผ่รังสีของวัตถุก็จะปรากฏในช่วงความยาวคลื่นที่เข้าใกล้ช่วงวิสิเบิลอีกด้วย
การอธิบายสเปกตรัมของการแผ่รังสีของวัตถุดำ
การแผ่รังสีของวัตถุดำเป็นการแผ่รังสีที่มีลักษณะเฉพาะตัวซึ่งความถี่ของสเปกตรัมนั้นขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของวัตถุซึ่งสามารถอธิบายได้จาก Planck spectrum หรือ กฎของพลังค์ สเปกตรัมที่ตำแหน่งจุดสูงสุดจะมีความถี่เฉพาะตัวโดยจะเปลี่ยนเป็นค่าความถี่สูงสุดตามการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิ
เนื่องจากทฤษฎีฟิสิกส์แบบเดิมไม่สามารถอธิบายการแผ่รังสีของวัตถุที่เกิดขึ้นได้ ต่อมาในปี ค.ศ. 1900 นักฟิสิกส์ชาวเยอรมันที่ชื่อว่า มัคส์ พลังค์ ได้นำเสนอได้นำเสนอทฤษฎีที่ใช้อธิบายการแผ่รังสีของวัตถุดำที่เกิดขึ้นในการทดลอง โดยได้นำเสนอแนวคิดว่า รังสีที่แผ่ออกมาจากวัตถุดำเกิดจากการที่อนุภาคในวัตถุนั้นสั่นด้วยความถี่ที่ขึ้นอยู่กับพลังงานของวัตถุ โดยพลังงานที่เกิดจากการสั่นจะมีค่าไม่ต่อเนื่องแต่จะเป็นจำนวนเต็มเท่าของความถี่มูลฐานเช่นเดียวกับคลื่นนิ่งที่เกิดจากการสั่นในเชือก ซึ่งสมการที่ใช้อธิบายแนวคิดของพลังค์มีใจความว่า
โดยที่
- คือพลังงานของการแผ่รังสีของวัตถุ
- คือจำนวนเต็มบวกใดๆ เรียกว่า เลขควอนตัม
- คือค่าคงที่ของพลังค์ (มีค่าเท่ากับ )
- คือความถี่ของคลื่นแสง
ทำให้ภายหลังมีนักวิทยาศาสต์ท่านอื่นนำแนวคิดจากทฤษฎีที่พลังค์นำเสนอไปใช้อธิบายปรากฏการณ์อื่นๆ ในระดับอนุภาคได้ เช่นการอธิบายปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก การกระเจิงคอมตันป์ เรียกได้ว่า มัคส์ พลังค์ ถือเป็นบิดาของวิชาควอนตัมที่ให้กำเนิดวิชาควอนตัมที่ใช้ในการศึกษาปรากฏการณ์ในระดับอนุภาคที่เป็นอยู่ในปัจจุบันนั่นเอง
อ้างอิง
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
hnanimienuxhaepnphasatangpraeths khunsamarthchwyphthnahnaniiddwykaraepl ykewnhakenuxhaekuxbthnghmdimichphasaithy ihaecnglbaethn karaephrngsikhxngwtthuda xngkvs black body radiation khux karaephrngsiaemehlkiffakhxngwtthuinsphawasmdulthangxunhphlsastremuxethiybkbsingaewdlxm sungwtthuhruxxnuphakhid thimixunhphumisungkwaxunhphumisunysmburncamikaraephrngsikhwamrxnxxkmaesmxodyprimankaraephrngsikhxngwtthunncamisepktrmaelakhwamekhmthimikhaechphaatwthimikhwamsmphnthodytrngkhunxyukbxunhphumikhxngwtthunn erasamarthxnumanwtthutang thimikaraephrngsixxkmaiddwytwexngwaepnwtthudasungodyswnihythixunhphumihxngkaraephrngsikhxngwtthuthiaephxxkmanncaxyuinchwngkhwamyawkhlunkhxngrngsixinfraerdthimikhwamekhmtathaihdwngtakhxngmnusythiiwtxkarrbrusikhawaelasidaemuxxyuinphawathimikhwamekhmaesngtamxngehnwtthuthiaephrngsiinlksnanixxkmaepnsida nxkcakniemuxwtthumixunhphumisungkhunkaraephrngsikhxngwtthukcapraktinchwngkhwamyawkhlunthiekhaiklchwngwisiebilxikdwyAs the temperature decreases the peak of the black body radiation curve moves to lower intensities and longer wavelengths The black body radiation graph is also compared with the classical model of Rayleigh and Jeans karxthibaysepktrmkhxngkaraephrngsikhxngwtthudakaraephrngsikhxngwtthudaepnkaraephrngsithimilksnaechphaatwsungkhwamthikhxngsepktrmnnkhunxyukbxunhphumikhxngwtthusungsamarthxthibayidcak Planck spectrum hrux kdkhxngphlngkh sepktrmthitaaehnngcudsungsudcamikhwamthiechphaatwodycaepliynepnkhakhwamthisungsudtamkarephimkhunkhxngxunhphumi enuxngcakthvsdifisiksaebbedimimsamarthxthibaykaraephrngsikhxngwtthuthiekidkhunid txmainpi kh s 1900 nkfisikschaweyxrmnthichuxwa mkhs phlngkh idnaesnxidnaesnxthvsdithiichxthibaykaraephrngsikhxngwtthudathiekidkhuninkarthdlxng odyidnaesnxaenwkhidwa rngsithiaephxxkmacakwtthudaekidcakkarthixnuphakhinwtthunnsndwykhwamthithikhunxyukbphlngngankhxngwtthu odyphlngnganthiekidcakkarsncamikhaimtxenuxngaetcaepncanwnetmethakhxngkhwamthimulthanechnediywkbkhlunningthiekidcakkarsninechuxk sungsmkarthiichxthibayaenwkhidkhxngphlngkhmiickhwamwa Planck in 1918 the year he received the Nobel Prize in Physics for his work on quantum theoryE nhn displaystyle E nh nu odythi E displaystyle E khuxphlngngankhxngkaraephrngsikhxngwtthu n displaystyle n khuxcanwnetmbwkid eriykwa elkhkhwxntm h displaystyle h khuxkhakhngthikhxngphlngkh mikhaethakb 6 626 069 3 11 10 34 J s displaystyle 6 626 069 3 11 times 10 34 mbox J cdot mbox s n displaystyle nu khuxkhwamthikhxngkhlunaesng thaihphayhlngminkwithyasastthanxunnaaenwkhidcakthvsdithiphlngkhnaesnxipichxthibaypraktkarnxun inradbxnuphakhid echnkarxthibaypraktkarnofotxielkthrik karkraecingkhxmtnp eriykidwa mkhs phlngkh thuxepnbidakhxngwichakhwxntmthiihkaenidwichakhwxntmthiichinkarsuksapraktkarninradbxnuphakhthiepnxyuinpccubnnnexngxangxinghttp www electron rmutphysics com science news index php option com content amp task view amp id 767 amp Itemid 4 lingkesiy http plcsanook com p 633 lingkesiy http www rmutphysics com charud virtualexperiment virtual3 blackbody index2 html lingkesiy