การแต่งกายของพม่า การแต่งกายของพม่านั้นมีรูปแบบที่หลากหลายขึ้นอยู่กับเชื้อชาติ, สภาพภูมิศาสตร์, สภาพภูมิอากาศ, ประเพณีวัฒนธรรมของผู้คนในแต่ละภูมิภาคของประเทศพม่า การแต่งกายที่เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางของชาวพม่าคือ เป็นโสร่งแบบหนึ่งจัดเป็นการแต่งกายประจำชาติ สวมใส่ทั้งชายและหญิงทั่วประเทศ เสื้อผ้าพม่ายังมีความหลากหลายในแง่ของสิ่งทอสาน เส้นใย สี และวัสดุ เช่น ผ้ากำมะหยี่ ผ้าไหม ผ้าลูกไม้ ผ้ามัสลิน และผ้าฝ้าย
ประวัติ
สมัยพุกาม
ในสมัยพุกามแม้ว่าผ้าฝ้ายจะเป็นวัสดุสิ่งทอที่ใช้กันมากที่สุด แต่สิ่งทอนำเข้าอื่น ๆ เช่น ผ้าไหม ผ้าซาติน และกำมะหยี่ ก็ถูกนำมาใช้ในเครื่องแต่งกายของชาวพม่าเช่นกัน การค้าขายกับดินแดนใกล้เคียงมีมาตั้งแต่สมัยปยู และได้เสริมสร้างวัฒนธรรมทางวัตถุด้วยสิ่งทอนำเข้าที่ใช้สำหรับพิธีกรรมและการแต่งกาย ตัวอย่างเช่น มีนกะลาเซดี สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้านรสีหบดี ภายในบรรจุสิ่งของที่ทำด้วยผ้าซาตินและผ้ากำมะหยี่ซึ่งไม่ได้ผลิตในท้องถิ่น
กษัตริย์และเจ้าชายในสมัยพุกามสวมเสื้อคลุมที่เรียกว่า วุทโลน (ဝတ်လုံ), ดุยิน (ဒုယင်), และ โตยีน (သိုရင်း) เป็นเครื่องแต่งกายชั้นสูง ขณะที่การสวมผ้าเตี่ยวคล้าย เป็นเครื่องแต่งกายชั้นต่ำ สตรีชนชั้นสูงสวมเสื้อเกาะอกท่อนบนที่เรียกว่า ยีนซิ (ရင်စေ့) ทับเสื้อชั้นในสตรี ก่อนที่จะสวมชุดคลุมกายหลวม ๆ ซึ่งมีลักษณะคล้ายส่าหรีที่ยาวกว่าและกางเกงทรงหลวม ซึ่งได้รับความนิยมในสมัยพุกามตอนหลัง มีการปักทองและเงินตามยศทางสังคม เครื่องแต่งกายและลายดอกไม้คุณภาพสูงสวมใส่โดยชนชั้นสูงและชนชั้นปกครอง
สมัยโก้นบอง
การแต่งกายถือเป็นวัฒนธรรมที่สำคัญของชีวิตในพม่าก่อนสมัยอาณานิคม นักเดินทางชาวต่างชาติรายงานว่ามีเครื่องทอผ้าในทุกครัวเรือน ซึ่งช่วยให้ผู้หญิงทุกคนสามารถทอเสื้อผ้าใช้ในชีวิตประจำวันของครอบครัวได้ บาทหลวงชาวอิตาลีซึ่งประจำการอยู่ในอาณาจักรโก้นบอง ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 สังเกตว่าคนในท้องถิ่นแต่งกายงดงามและฟุ่มเฟือย พิธีเจาะหูสำหรับเด็กผู้หญิงถือเป็นพิธีกรรมสำคัญ ชาวบ้านเหล่านั้นประดับด้วยทองคำและเงิน รวมทั้งแหวนที่ตกแต่งด้วยอัญมณี สร้อยคอ กำไล และกำไลข้อเท้า เครื่องประดับเหล่านี้มาพร้อมกับเครื่องแต่งกายแบบดั้งเดิม ประกอบด้วย ปาโซ ซึ่งสวมใส่โดยผู้ชาย และ ทะเมียน ซึ่งสวมใส่โดยผู้หญิง ทั้งสองอย่างทำจากผ้าฝ้ายหรือผ้าไหม สวมรองเท้าแตะไม้หรือรองเท้าหนัง ชายและหญิงแต่งกายด้วยเครื่องแต่งกายที่ดีที่สุด รวมทั้งเสื้อคลุมที่มีการประดับเพื่อไปเยี่ยมชมเจดีย์และงานสำคัญอื่น ๆ
กฎหมายป้องกันความฟุ่มเฟือย ที่เรียกว่า ยาซาไกง์ กำหนดวิถีชีวิตและการบริโภคสำหรับชาวพม่าในสมัยราชวงศ์โก้นบอง ทุกอย่างตั้งแต่รูปแบบของที่พักอาศัยไปจนถึงเสื้อผ้าให้เหมาะสมกับสถานะทางสังคมของคน ๆ นั้น กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับพิธีศพและโลงศพ รวมไปถึงการใช้รูปแบบการพูดต่าง ๆ ตามลำดับสถานภาพทางสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งกฎระเบียบการแต่งกายในเมืองหลวงของราชวงศ์เป็นสิ่งที่เข้มงวดและมีความซับซ้อนมากที่สุด กฎเกณฑ์ที่ควบคุมการแต่งกายและการประดับตกแต่งได้รับการปฏิบัติอย่างเคร่งครัดเพื่อเป็นแนวทางในการจัดลำดับชั้นทางสังคม
เครื่องหมายนกยูง ถูกสงวนไว้อย่างเคร่งครัดสำหรับราชวงศ์ เสื้อคลุมยาวประกบตัวถึงสะโพกอย่าง ไทง์มะเต้น ถูกสงวนไว้ให้ใส่สำหรับเจ้าหน้าที่ในราชสำนัก ผ้าที่มีดิ้นโลหะเลื่อมและงานปักจำกัดเฉพาะราชวงศ์ เจ้าหน้าที่ระดับสูง และเจ้าประเทศราช (เจ้าฟ้า) รองเท้ากำมะหยี่ถูกสงวนไว้สำหรับราชวงศ์และภรรยาขุนนางชั้นสูง การประดับด้วยอัญมณีและหินมีค่ามีการควบคุมด้วยเช่นเดียวกัน การใช้ ฮีนตะปะด้า (ဟင်္သပဒါး) สีย้อมสีชาดที่สกัดจากซินนาบาร์ ก็มีการควบคุม
- การแต่งกายของราชสำนักพม่า
- การแต่งกายของสตรีสมัยราชวงศ์
- การแต่งกายของผู้ชายสมัยราชวงศ์
สมัยอาณานิคม
การปกครองอาณานิคมนำไปสู่การล่มสลายของกฎหมายควบคุม ซึ่งต่างจากประเทศเพื่อนบ้านอินโดจีนของฝรั่งเศส ระบอบกษัตริย์ของพม่าถูกล้มล้างอย่างสิ้นเชิง ทำให้เกิดสุญญากาศทันทีสำหรับการสนับสนุนวัฒนธรรมทางวัตถุ สถาบันต่าง ๆ และจารีตประเพณี สมัยอาณานิคมเป็นจุดเริ่มต้นของคลื่น ผู้ดีใหม่ ที่ไม่ใช่ชนชั้นสูงเก่า มีการพยายามนำรูปแบบและการแต่งกายของชนชั้นสูงสมัยก่อนอาณานิคมมาใช้
ในช่วงสมัยอาณานิคมของอังกฤษ เสื้อผ้าได้รับความหมายใหม่ในชีวิตของชาวพม่า โดยเป็นการแสดงออกถึงการต่อต้านอาณานิคม เหล่าชาตินิยมชาวพม่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับเสื้อผ้าแบบดั้งเดิมโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ยอโลนจี (ယောလုံချည်) รูปแบบหนึ่งของจากแคว้นยอ และ ปีนนีไตโปนเอ้นจี (ပင်နီတိုက်ပုံအင်္ကျီ) เสื้อคลุมคอจีนสีเหลืองอมน้ำตาล ให้ความรู้สึกต่อต้านลัทธิล่าอาณานิคมและเสริมชาตินิยม ชาวพม่าที่สวมชุดลักษณะนี้ถูกตำรวจอังกฤษจับกุม การสวมเสื้อผ้า "แบบดั้งเดิม" ถูกมองว่าเป็นรูปแบบของการต่อต้านเชิงตั้งรับในหมู่ชาวพม่า ด้วยแรงบันดาลใจจากของ คานธี ชาวพม่าชาตินิยมยังได้รณรงค์คว่ำบาตรสินค้านำเข้า รวมทั้งเสื้อผ้า เพื่อส่งเสริมการบริโภคเสื้อผ้าที่ผลิตในท้องถิ่น
รูปแบบเสื้อผ้าก็มีการพัฒนาในสมัยอาณานิคมเช่นกัน รูปแบบเสื้อผ้า ตองเช ปาโซ และ ทะเมียน หมดความนิยม มักนิยม โลนจี ที่เรียบง่ายและสวมใส่สะดวกกว่า โสร่งแบบผู้หญิง ทะเมียน หรือ ทะบี (ထဘီ) สั้นลงไม่ยาวไปถึงเท้าถึงเพียงแต่ข้อเท้า และความยาวของผ้าซิ่นช่วงบนลดลงเปิดเผยรอบเอวมากขึ้น ช่วงนี้ยังได้เห็นการนิยมเสื้อมัสลินสำหรับสตรี เผยให้เห็นชุดภายในของสตรีที่เรียกว่า ซาบอลี (ဇာဘော်လီ) การปกครองของอังกฤษยังมีอิทธิพลต่อแฟชั่นทรงผมและการแต่งกาย เครื่องประดับแบบตะวันตก เช่น เข็มขัดและรองเท้าหนัง มักสวมใส่กับเครื่องแต่งกายแบบดั้งเดิม การตัดผมทรงสั้นที่เรียกว่า โบเก (ဗိုလ်ကေ) ถูกแทนที่การไว้ผมยาวซึ่งเป็นเรื่องปกติในหมู่ผู้ชายชาวพม่า ในทำนองเดียวกันผู้หญิงเริ่มไว้ทรงผมเช่น อะเมาะ (အမောက်) ประกอบด้วยมวยผมแบบเรียบง่ายขดอยู่ด้านบนศีรษะ แทนการไว้มวยผมแบบดั้งเดิม (ဆံထုံး) การสักแบบพม่าดั้งเดิมก็ได้รับความนิยมลดลงเช่นเดียวกัน
สมัยใหม่
หลังเอกราช ได้มีการเสริมบทบาทสำคัญของเสื้อผ้าให้เป็นอัตลักษณ์ประจำชาติพม่า ในขณะที่ประเทศอื่น ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้พยายามที่จะปรับปรุงเสื้อผ้าสำหรับพลเมืองของตน (เช่น สยามที่ได้รับจากรัฐนิยม หรืออินโดนีเซียที่สนับสนุนให้ผู้ชายสวมกางเกงขายาวแทน โสร่ง) รัฐบาลพม่าได้สนับสนุนให้ทั้งชายและหญิงสวมใส่ โลนจี ในชีวิตประจำวัน การปราศรัย ปี พ.ศ. 2494 ในการประชุมวัฒนธรรมอินเดียพม่า นายกรัฐมนตรี อู้นุ กล่าวว่าการแต่งกายเป็นสัญลักษณ์เด่นประการหนึ่งของชาติ แนวคิดวิถีพม่าสู่สังคมนิยมยังส่งเสริมการสวมเครื่องแต่งกายแบบดั้งเดิมพร้อมสนับสนุนเสื้อผ้าตะวันตก
ชุดประจำชาติ
โลนจี
ชุดประจำชาติของพม่าคือ (လုံချည်, เสียงอ่านภาษาพม่า: [lòʊ̯ɰ̃.d͡ʑì]) โสร่งยาวถึงข้อเท้าสวมใส่ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย โลนจี ในรูปแบบใหม่เป็นที่นิยมในช่วงสมัยอาณานิคมของอังกฤษแทนที่ ปาโซ การแต่งกายแบบดั้งเดิมซึ่งสวมใส่โดยผู้ชาย และ ทะเมียน ซึ่งสวมใส่โดยผู้หญิงก่อนสมัยอาณานิคม
ทะเมียน ช่วงก่อนอาณานิคมมีรูปแบบลักษณะเป็นชุดยาว เรียกว่า เยตีน่า (ရေသီနား) จะเห็นได้ในยุคปัจจุบันเฉพาะเป็นเครื่องแต่งกายในงานแต่งงานหรือชุดเต้นรำ ในทำนองเดียวกัน ปาโซ ก่อนสมัยอาณานิคมมักสวมใส่ระหว่างการแสดงบนเวที รวมถึงการเต้นรำและการแสดง ตลอดจนงานแต่งงานหรืองานสังคมชั้นสูง
ผ้าทออะเชะ
ผ้าลวดลายพื้นเมืองพม่า เรียกว่า อะเชะ (အချိတ်, [ʔə.t͡ɕʰeɪ̯ʔ]) หรือ ลู่นตะยา อะเชะ (လွန်းတစ်ရာအချိတ်) มีลักษณะเป็นลายลอนคลื่นที่สลับซับซ้อนแถบแนวนอน ที่ประดับด้วยการออกแบบคล้ายลายอาหรับ ลู่นตะยา (လွန်းတစ်ရာ, [lʊ́ɰ̃.tə.jà]) ซึ่งแปลตรงตัวว่า "กระสวยร้อยอัน" สื่อถึงกระบวนการที่ต้องใช้เวลามาก มีราคาแพงและซับซ้อน ซึ่งต้องใช้กระสวย 50 ถึง 200 อัน แต่ละอันมีสีผ้าไหมที่ต่างกัน การทอผ้าต้องใช้แรงงานคนมาก โดยต้องใช้ช่างทออย่างน้อยสองคนจัดการกระสวยเพื่อให้ได้รูปแบบคล้ายเกลียวคลื่น
อะเชะ มักใช้เป็นสิ่งทอสำหรับ ปาโซ ของผู้ชาย และ ทะเมียน ของผู้หญิง รูปแบบสีใน อะเชะ มักใช้สีที่ตัดกันเพื่อสร้างเอฟเฟกต์ ศิลปะเชิง 3 มิติ รูปแบบสำหรับผู้ชายมักเป็นลวดลายซิกแซก หรือลวดลายที่ประสานกันง่ายกว่า ในขณะที่สำหรับผู้หญิงจะผสมผสานลายเกลียวคลื่นเข้ากับการตกแต่งแบบอาหรับ เช่น ลวดลายดอกไม้หรือไม้เลื้อย
เมืองอมรปุระและ ยังคงเป็นศูนย์กลางการทอผ้า อะเชะ แบบดั้งเดิมในประเทศ แม้ว่าในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมาจะมีการเลียนแบบจากโรงงานที่มีราคาถูกกว่าจากจีน และ อินเดีย ได้ส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมสิ่งทอแบบดั้งเดิมของพม่าอย่างมาก
การทอผ้า อะเชะ มีต้นกำเนิดที่อมรปุระ ใกล้กับเจดีย์ ชื่อ อะเชะ อาจมาจากชื่อของย่านที่ช่างทออาศัยอยู่ และเชะด้าน (လက်ချိတ်တန်း) คำนี้เคยถูกเรียกมาก่อน ไวก์ (ဝိုက်) ซึ่งหมายถึงลวดลายทอซิกแซก
แม้ว่าบางแหล่งอ้างว่ารูปแบบ อะเชะ ได้รับมาจากช่างทอผ้ามณีปุระช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 17 แต่ไม่มีสิ่งทอของมณีปุระที่เทียบเคียงลักษณะคล้ายกับ อะเชะ รูปแบบคล้ายคลื่นอาจได้รับแรงบันดาลใจจากลวดลายปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ (เช่น คลื่น เมฆ พืชและสัตว์พื้นเมือง) ลวดลาย อะเชะ พบได้ในเครื่องปั้นดินเผาที่มีอายุย้อนกลับไปถึงนครรัฐปยู เช่นเดียวกับภาพวาดฝาผนังของวัดที่มีอายุย้อนกลับไปถึงสมัยอาณาจักรพุกาม ของขวัญบรรณาการที่มอบให้กับราชสำนักพม่าอาจเป็นแหล่งบันดาลใจเพิ่มเติมด้วย สิ่งทอดังกล่าวได้รับความนิยมในสมัยราชวงศ์โก้นบอง ซึ่งมีกฎหมายป้องกันความฟุ่มเฟือย ควบคุมว่าใครสามารถสวมเสื้อผ้า อะเชะ ได้ รูปแบบ อะเชะ สวมใส่โดยราชวงศ์ เจ้าหน้าที่ และผู้ติดตามเท่านั้น
เสื้อคลุมไตปอน
สำหรับงานธุรกิจและโอกาสที่เป็นทางการ ชายชาวพม่า จะแต่งชุด ที่เรียกว่า ไตปอนเอ้นจี (တိုက်ပုံအင်္ကျီ, [taɪ̯ʔ.pòʊ̯ɰ̃]) ใส่ทับเสื้อเชิ้ตคอปกแบบจีน ชุดนี้เป็นที่นิยมสมัยอาณานิคม
ชุดสตรี เอ้นจี
ผู้หญิงพม่าสวมชุดสตรีที่เรียกว่า เอ้นจี (အင်္ကျီ, [ʔéɪ̯ɰ̃.d͡ʑì]) มีสองรูปแบบที่แพร่หลายคือ ยีนเซ (ရင်စေ့) จะติดกระดุมด้านหน้าและ ยีนโพน (ရင်ဖုံး) ติดกระดุมไว้ด้านข้าง สำหรับพิธีที่เป็นทางการและทางศาสนาผู้หญิงพม่ามักสวมผ้าคลุมไหล่
เสื้อคลุมไทง์มะเต้น
การแสดงออกอย่างเป็นทางการที่สุดของเครื่องแต่งกายประจำชาติพม่าสำหรับสตรี ได้แก่ เสื้อคลุมไร้กระดุมรัดรูปความยาวถึงสะโพกที่เรียกว่า ไทง์มะเต้น (ထိုင်မသိမ်း, [tʰàɪ̯ɰ̃.mə.θéɪ̯ɰ̃]) บางครั้งอาจมีท่อนล่างบานและปักเลื่อม ไทง์มะเต้น ในภาษาพม่าแปลว่า "ไม่รวมกันขณะนั่ง" หมายถึงเสื้อคลุมรัดรูปที่ไม่ยับขณะนั่ง เสื้อคลุมนี้ได้รับความนิยมในหมู่ชนชั้นสูงสมัยราชวงศ์โก้นบอง และชนชั้นสูงในปัจจุบัน ปัจจุบันผู้หญิงมักสวมใส่เป็นชุดแต่งงาน หรือเป็นชุดเต้นรำแบบดั้งเดิม รวมถึงงานสังคมชั้นสูงในบางครั้ง ไทง์มะเต้น สวมทับเสื้อท่อนบนที่เรียกว่า ยีนคาน (ရင်ခံ, [jɪ̀ɴkʰàɴ]) ตามประวัติศาสตร์ ไทง์มะเต้น ยังมีชายที่ห้อยอยู่ทั้งสองข้างเรียกว่า กะลาโน (ကုလားနို့)
ก้องบ้อง
เครื่องแต่งกายประจำชาติของพม่าสำหรับผู้ชายประกอบด้วยผ้าโพกหัวที่เรียกว่า (ခေါင်းပေါင်း, [ɡáʊ̯ɰ̃.báʊ̯ɰ̃]) ซึ่งสวมใส่สำหรับงานที่เป็นทางการ ในสมัยอาณานิคม ก้องบ้อง ถูกพัฒนาให้เป็นเครื่องแต่งกายสามัญของชายชาวพม่า การออกแบบ ก้องบ้อง สมัยใหม่เกิดขึ้นในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษ 1900 และเรียกว่า หม่องแจะตะเย (မောင့်ကျက်သရေ) เป็นก้องบ้องทำจากผ้าที่มีโครงหวาย สามารถสวมใส่ได้เช่นสวมหมวก
ญะพะนะ
รองเท้าแตะกำมะหยี่สวมใส่ได้ทั้งสองเพศ เรียกว่า ญะพะนะ (ကတ္တီပါဖိနပ်) หรือ พะนะมัณฑะเลย์ เป็นรองเท้าที่สวมใส่เป็นทางการ
การแต่งกายตามภูมิภาค
กลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ในพม่าทุกกลุ่มล้วนมีเสื้อผ้าและประเพณีสิ่งทอที่แตกต่างกัน
อ้างอิง
- Aye Aye Than (2017-06-12). (PDF). SOAS, University of London. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-01-17. สืบค้นเมื่อ 2024-03-28.
- Green, Alexandra (2008). Eclectic Collecting: Art from Burma in the Denison Museum (ภาษาอังกฤษ). NUS Press. ISBN .
- Sangermano, Vincenzo; Sangermano, Father (1833). A Description of the Burmese Empire (ภาษาอังกฤษ). Oriental Translation Fund of Great Britain and Ireland.
- Scott 1882, p. 411.
- Scott 1882, p. 406-407.
- Andrus 1947, p. x.
- Scott 1882, p. 406.
- Scott 1882, p. 409.
- Roces, Mina; Edwards, Louise P. (2007). The Politics of Dress in Asia and the Americas (ภาษาอังกฤษ). Sussex Academic Press. ISBN .
- TARGOSZ, Tobiasz; Sławik, Zuzanna (2016). "Burmese Culture during the Colonial Period in the Years 1885-1931: The World of Burmese Values in Reaction to the Inclusion of Colonialism". Politeja. 13 (44): 277–300. doi:10.12797/Politeja.13.2016.44.18. ISSN 1733-6716. JSTOR 24920307.
- Edwards, Penny (2008). "Nationalism by design. The politics of dress in British Burma" (PDF). IIAS Newsletter. International Institute for Asian Studies (46): 11.
- (2008). "The Modern Burmese Woman and the Politics of Fashion in Colonial Burma". The Journal of Asian Studies. Cambridge University Press. 67 (4): 1277–1308. doi:10.1017/S0021911808001782. S2CID 145697944.
- Egreteau, Renaud (2019-07-01). "Fashioning Parliament: The Politics of Dress in Myanmar's Postcolonial Legislatures". Parliamentary Affairs (ภาษาอังกฤษ). 72 (3): 684–701. doi:10.1093/pa/gsy026. ISSN 0031-2290.
- Green, Gillian (2012-05-25). "Verging on Modernity: A Late Nineteenth-Century Burmese Painting on Cloth Depicting the Vessantara Jataka". Journal of Burma Studies. 16 (1): 79–121. doi:10.1353/jbs.2012.0000. ISSN 2010-314X. S2CID 162846149.
- "Silk acheik-luntaya | V&A Search the Collections". collections.vam.ac.uk (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2017-12-05.
- Lynn, Kyaw Ye (26 January 2019). "Weavers of traditional textiles in Mandalay unite". Frontier Myanmar (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-03-28.
- Hardiman, John Percy (1901). Silk in Burma (ภาษาอังกฤษ). superintendent, Government printing, Burma.
- (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-03-28. สืบค้นเมื่อ 2020-03-28.
- "Myanmar gaung baung". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-08-22. สืบค้นเมื่อ 2017-12-05.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karaetngkaykhxngphma karaetngkaykhxngphmannmirupaebbthihlakhlaykhunxyukbechuxchati sphaphphumisastr sphaphphumixakas praephniwthnthrrmkhxngphukhninaetlaphumiphakhkhxngpraethsphma karaetngkaythiepnthiruckxyangkwangkhwangkhxngchawphmakhux epnosrngaebbhnungcdepnkaraetngkaypracachati swmisthngchayaelahyingthwpraeths esuxphaphmayngmikhwamhlakhlayinaengkhxngsingthxsan esniy si aelawsdu echn phakamahyi phaihm phalukim phamslin aelaphafayprawtismyphukam phaphprakxbaesdngesuxphainsmyphukam insmyphukamaemwaphafaycaepnwsdusingthxthiichknmakthisud aetsingthxnaekhaxun echn phaihm phasatin aelakamahyi kthuknamaichinekhruxngaetngkaykhxngchawphmaechnkn karkhakhaykbdinaedniklekhiyngmimatngaetsmypyu aelaidesrimsrangwthnthrrmthangwtthudwysingthxnaekhathiichsahrbphithikrrmaelakaraetngkay twxyangechn minkalaesdi srangkhuninsmyphraecanrsihbdi phayinbrrcusingkhxngthithadwyphasatinaelaphakamahyisungimidphlitinthxngthin kstriyaelaecachayinsmyphukamswmesuxkhlumthieriykwa wutholn ဝတ လ duyin ဒ ယင aela otyin သ ရင epnekhruxngaetngkaychnsung khnathikarswmphaetiywkhlay epnekhruxngaetngkaychnta strichnchnsungswmesuxekaaxkthxnbnthieriykwa yinsi ရင စ thbesuxchninstri kxnthicaswmchudkhlumkayhlwm sungmilksnakhlaysahrithiyawkwaaelakangekngthrnghlwm sungidrbkhwamniyminsmyphukamtxnhlng mikarpkthxngaelaengintamysthangsngkhm ekhruxngaetngkayaelalaydxkimkhunphaphsungswmisodychnchnsungaelachnchnpkkhrxng smyoknbxng phramhakstriyaelakharachbripharchawphmaaetngkaydwychudphrarachphithiinphithiaerknakhwy karaetngkaythuxepnwthnthrrmthisakhykhxngchiwitinphmakxnsmyxananikhm nkedinthangchawtangchatiraynganwamiekhruxngthxphainthukkhrweruxn sungchwyihphuhyingthukkhnsamarththxesuxphaichinchiwitpracawnkhxngkhrxbkhrwid bathhlwngchawxitalisungpracakarxyuinxanackroknbxng chwngkhriststwrrsthi 19 sngektwakhninthxngthinaetngkayngdngamaelafumefuxy phithiecaahusahrbedkphuhyingthuxepnphithikrrmsakhy chawbanehlannpradbdwythxngkhaaelaengin rwmthngaehwnthitkaetngdwyxymni srxykhx kail aelakailkhxetha ekhruxngpradbehlanimaphrxmkbekhruxngaetngkayaebbdngedim prakxbdwy paos sungswmisodyphuchay aela thaemiyn sungswmisodyphuhying thngsxngxyangthacakphafayhruxphaihm swmrxngethaaetaimhruxrxngethahnng chayaelahyingaetngkaydwyekhruxngaetngkaythidithisud rwmthngesuxkhlumthimikarpradbephuxipeyiymchmecdiyaelangansakhyxun kdhmaypxngknkhwamfumefuxy thieriykwa yasaikng kahndwithichiwitaelakarbriophkhsahrbchawphmainsmyrachwngsoknbxng thukxyangtngaetrupaebbkhxngthiphkxasyipcnthungesuxphaihehmaasmkbsthanathangsngkhmkhxngkhn nn kdraebiybthiekiywkhxngkbphithisphaelaolngsph rwmipthungkarichrupaebbkarphudtang tamladbsthanphaphthangsngkhm odyechphaaxyangyingkdraebiybkaraetngkayinemuxnghlwngkhxngrachwngsepnsingthiekhmngwdaelamikhwamsbsxnmakthisud kdeknththikhwbkhumkaraetngkayaelakarpradbtkaetngidrbkarptibtixyangekhrngkhrdephuxepnaenwthanginkarcdladbchnthangsngkhm ekhruxnghmaynkyung thuksngwniwxyangekhrngkhrdsahrbrachwngs esuxkhlumyawprakbtwthungsaophkxyang ithngmaetn thuksngwniwihissahrbecahnathiinrachsank phathimidinolhaeluxmaelanganpkcakdechphaarachwngs ecahnathiradbsung aelaecapraethsrach ecafa rxngethakamahyithuksngwniwsahrbrachwngsaelaphrryakhunnangchnsung karpradbdwyxymniaelahinmikhamikarkhwbkhumdwyechnediywkn karich hintapada ဟင သပဒ siyxmsichadthiskdcaksinnabar kmikarkhwbkhum karaetngkaykhxngrachsankphma karaetngkaykhxngstrismyrachwngs karaetngkaykhxngphuchaysmyrachwngs smyxananikhm phaphkhrxbkhrwchawphmaaetngkaydwychudphunemuxnginchwngkhriststwrrsthi 20hyingchawphmaaetngkaydwychud thaemiyn thiswmisknthwipcnthungtnkhriststwrrsthi 20 karpkkhrxngxananikhmnaipsukarlmslaykhxngkdhmaykhwbkhum sungtangcakpraethsephuxnbanxinodcinkhxngfrngess rabxbkstriykhxngphmathuklmlangxyangsineching thaihekidsuyyakasthnthisahrbkarsnbsnunwthnthrrmthangwtthu sthabntang aelacaritpraephni smyxananikhmepncuderimtnkhxngkhlun phudiihm thiimichchnchnsungeka mikarphyayamnarupaebbaelakaraetngkaykhxngchnchnsungsmykxnxananikhmmaich inchwngsmyxananikhmkhxngxngkvs esuxphaidrbkhwamhmayihminchiwitkhxngchawphma odyepnkaraesdngxxkthungkartxtanxananikhm ehlachatiniymchawphmamiswnekiywkhxngkbesuxphaaebbdngedimodyechphaaxyangying yxolnci ယ လ ခ ည rupaebbhnungkhxngcakaekhwnyx aela pinniitopnexnci ပင န တ က ပ အင က esuxkhlumkhxcinsiehluxngxmnatal ihkhwamrusuktxtanlththilaxananikhmaelaesrimchatiniym chawphmathiswmchudlksnanithuktarwcxngkvscbkum karswmesuxpha aebbdngedim thukmxngwaepnrupaebbkhxngkartxtanechingtngrbinhmuchawphma dwyaerngbndaliccakkhxng khanthi chawphmachatiniymyngidrnrngkhkhwabatrsinkhanaekha rwmthngesuxpha ephuxsngesrimkarbriophkhesuxphathiphlitinthxngthin rupaebbesuxphakmikarphthnainsmyxananikhmechnkn rupaebbesuxpha txngech paos aela thaemiyn hmdkhwamniym mkniym olnci thieriybngayaelaswmissadwkkwa osrngaebbphuhying thaemiyn hrux thabi ထဘ snlngimyawipthungethathungephiyngaetkhxetha aelakhwamyawkhxngphasinchwngbnldlngepidephyrxbexwmakkhun chwngniyngidehnkarniymesuxmslinsahrbstri ephyihehnchudphayinkhxngstrithieriykwa sabxli ဇ ဘ လ karpkkhrxngkhxngxngkvsyngmixiththiphltxaefchnthrngphmaelakaraetngkay ekhruxngpradbaebbtawntk echn ekhmkhdaelarxngethahnng mkswmiskbekhruxngaetngkayaebbdngedim kartdphmthrngsnthieriykwa obek ဗ လ က thukaethnthikariwphmyawsungepneruxngpktiinhmuphuchaychawphma inthanxngediywknphuhyingerimiwthrngphmechn xaemaa အမ က prakxbdwymwyphmaebberiybngaykhdxyudanbnsirsa aethnkariwmwyphmaebbdngedim ဆ ထ karskaebbphmadngedimkidrbkhwamniymldlngechnediywkn smyihm nkdntrididsxngekaa swmesuxaebbdngedim xaecha ithngmaetn hlngexkrach idmikaresrimbthbathsakhykhxngesuxphaihepnxtlksnpracachatiphma inkhnathipraethsxun inexechiytawnxxkechiyngitphyayamthicaprbprungesuxphasahrbphlemuxngkhxngtn echn syamthiidrbcakrthniym hruxxinodniesiythisnbsnunihphuchayswmkangekngkhayawaethn osrng rthbalphmaidsnbsnunihthngchayaelahyingswmis olnci inchiwitpracawn karprasry pi ph s 2494 inkarprachumwthnthrrmxinediyphma naykrthmntri xunu klawwakaraetngkayepnsylksnednprakarhnungkhxngchati aenwkhidwithiphmasusngkhmniymyngsngesrimkarswmekhruxngaetngkayaebbdngedimphrxmsnbsnunesuxphatawntkchudpracachatiolnci karaetngkaykhxngstrismykxnxananikhminchud thaemiyn chudpracachatikhxngphmakhux လ ခ ည esiyngxanphasaphma loʊ ɰ d ʑi osrngyawthungkhxethaswmisthngphuhyingaelaphuchay olnci inrupaebbihmepnthiniyminchwngsmyxananikhmkhxngxngkvsaethnthi paos karaetngkayaebbdngedimsungswmisodyphuchay aela thaemiyn sungswmisodyphuhyingkxnsmyxananikhm thaemiyn chwngkxnxananikhmmirupaebblksnaepnchudyaw eriykwa eytina ရ သ န caehnidinyukhpccubnechphaaepnekhruxngaetngkayinnganaetngnganhruxchudetnra inthanxngediywkn paos kxnsmyxananikhmmkswmisrahwangkaraesdngbnewthi rwmthungkaretnraaelakaraesdng tlxdcnnganaetngnganhruxngansngkhmchnsung phathxxaecha smachiksphasntiphaphaelakarphthnaaehngrthkhxngphma aetngkayinchudolncixaecha phalwdlayphunemuxngphma eriykwa xaecha အခ တ ʔe t ɕʰeɪ ʔ hrux luntaya xaecha လ န တစ ရ အခ တ milksnaepnlaylxnkhlunthislbsbsxnaethbaenwnxn thipradbdwykarxxkaebbkhlaylayxahrb luntaya လ န တစ ရ lʊ ɰ te ja sungaepltrngtwwa kraswyrxyxn suxthungkrabwnkarthitxngichewlamak mirakhaaephngaelasbsxn sungtxngichkraswy 50 thung 200 xn aetlaxnmisiphaihmthitangkn karthxphatxngichaerngngankhnmak odytxngichchangthxxyangnxysxngkhncdkarkraswyephuxihidrupaebbkhlayekliywkhlun xaecha mkichepnsingthxsahrb paos khxngphuchay aela thaemiyn khxngphuhying rupaebbsiin xaecha mkichsithitdknephuxsrangexfefkt silpaeching 3 miti rupaebbsahrbphuchaymkepnlwdlaysikaesk hruxlwdlaythiprasanknngaykwa inkhnathisahrbphuhyingcaphsmphsanlayekliywkhlunekhakbkartkaetngaebbxahrb echn lwdlaydxkimhruximeluxy emuxngxmrpuraaela yngkhngepnsunyklangkarthxpha xaecha aebbdngediminpraeths aemwainchwngimkipithiphanmacamikareliynaebbcakorngnganthimirakhathukkwacakcin aela xinediy idsngphlkrathbtxxutsahkrrmsingthxaebbdngedimkhxngphmaxyangmak karthxpha xaecha mitnkaenidthixmrpura iklkbecdiy chux xaecha xacmacakchuxkhxngyanthichangthxxasyxyu aelaechadan လက ခ တ တန khaniekhythukeriykmakxn iwk ဝ က sunghmaythunglwdlaythxsikaesk aemwabangaehlngxangwarupaebb xaecha idrbmacakchangthxphamnipurachwngplaykhriststwrrsthi 17 aetimmisingthxkhxngmnipurathiethiybekhiynglksnakhlaykb xaecha rupaebbkhlaykhlunxacidrbaerngbndaliccaklwdlaypraktkarnthangthrrmchati echn khlun emkh phuchaelastwphunemuxng lwdlay xaecha phbidinekhruxngpndinephathimixayuyxnklbipthungnkhrrthpyu echnediywkbphaphwadfaphnngkhxngwdthimixayuyxnklbipthungsmyxanackrphukam khxngkhwybrrnakarthimxbihkbrachsankphmaxacepnaehlngbndalicephimetimdwy singthxdngklawidrbkhwamniyminsmyrachwngsoknbxng sungmikdhmaypxngknkhwamfumefuxy khwbkhumwaikhrsamarthswmesuxpha xaecha id rupaebb xaecha swmisodyrachwngs ecahnathi aelaphutidtamethann esuxkhlumitpxn sahrbnganthurkicaelaoxkasthiepnthangkar chaychawphma caaetngchud thieriykwa itpxnexnci တ က ပ အင က taɪ ʔ poʊ ɰ isthbesuxechitkhxpkaebbcin chudniepnthiniymsmyxananikhm chudstri exnci phuhyingphmaswmchudstrithieriykwa exnci အင က ʔeɪ ɰ d ʑi misxngrupaebbthiaephrhlaykhux yines ရင စ catidkradumdanhnaaela yinophn ရင ဖ tidkradumiwdankhang sahrbphithithiepnthangkaraelathangsasnaphuhyingphmamkswmphakhlumihl esuxkhlumithngmaetn phaphsmyxananikhmphuhyingswmchud yinkhan esuxthxnbn aela ithngmaetn esuxkhlum karaesdngxxkxyangepnthangkarthisudkhxngekhruxngaetngkaypracachatiphmasahrbstri idaek esuxkhlumirkradumrdrupkhwamyawthungsaophkthieriykwa ithngmaetn ထ င မသ မ tʰaɪ ɰ me 8eɪ ɰ bangkhrngxacmithxnlangbanaelapkeluxm ithngmaetn inphasaphmaaeplwa imrwmknkhnanng hmaythungesuxkhlumrdrupthiimybkhnanng esuxkhlumniidrbkhwamniyminhmuchnchnsungsmyrachwngsoknbxng aelachnchnsunginpccubn pccubnphuhyingmkswmisepnchudaetngngan hruxepnchudetnraaebbdngedim rwmthungngansngkhmchnsunginbangkhrng ithngmaetn swmthbesuxthxnbnthieriykwa yinkhan ရင ခ jɪ ɴkʰaɴ tamprawtisastr ithngmaetn yngmichaythihxyxyuthngsxngkhangeriykwa kalaon က လ န kxngbxng nayphlxxngsan ophk kxngbxng aelaswm itpxn esuxkhlum ekhruxngaetngkaypracachatikhxngphmasahrbphuchayprakxbdwyphaophkhwthieriykwa ခ င ပ င ɡaʊ ɰ baʊ ɰ sungswmissahrbnganthiepnthangkar insmyxananikhm kxngbxng thukphthnaihepnekhruxngaetngkaysamykhxngchaychawphma karxxkaebb kxngbxng smyihmekidkhuninchwngklangkhriststwrrs 1900 aelaeriykwa hmxngaecataey မ င က က သရ epnkxngbxngthacakphathimiokhrnghway samarthswmisidechnswmhmwk yaphana rxngethaaetakamahyiswmisidthngsxngephs eriykwa yaphana ကတ တ ပ ဖ နပ hrux phanamnthaely epnrxngethathiswmisepnthangkar karaetngkaytamphumiphakh klumchatiphnthutang inphmathukklumlwnmiesuxphaaelapraephnisingthxthiaetktangknxangxingAye Aye Than 2017 06 12 PDF SOAS University of London khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2019 01 17 subkhnemux 2024 03 28 Green Alexandra 2008 Eclectic Collecting Art from Burma in the Denison Museum phasaxngkvs NUS Press ISBN 978 9971 69 404 3 Sangermano Vincenzo Sangermano Father 1833 A Description of the Burmese Empire phasaxngkvs Oriental Translation Fund of Great Britain and Ireland Scott 1882 p 411 sfn error no target CITEREFScott1882 Scott 1882 p 406 407 sfn error no target CITEREFScott1882 Andrus 1947 p x sfn error no target CITEREFAndrus1947 Scott 1882 p 406 sfn error no target CITEREFScott1882 Scott 1882 p 409 sfn error no target CITEREFScott1882 Roces Mina Edwards Louise P 2007 The Politics of Dress in Asia and the Americas phasaxngkvs Sussex Academic Press ISBN 978 1 84519 163 4 TARGOSZ Tobiasz Slawik Zuzanna 2016 Burmese Culture during the Colonial Period in the Years 1885 1931 The World of Burmese Values in Reaction to the Inclusion of Colonialism Politeja 13 44 277 300 doi 10 12797 Politeja 13 2016 44 18 ISSN 1733 6716 JSTOR 24920307 Edwards Penny 2008 Nationalism by design The politics of dress in British Burma PDF IIAS Newsletter International Institute for Asian Studies 46 11 2008 The Modern Burmese Woman and the Politics of Fashion in Colonial Burma The Journal of Asian Studies Cambridge University Press 67 4 1277 1308 doi 10 1017 S0021911808001782 S2CID 145697944 Egreteau Renaud 2019 07 01 Fashioning Parliament The Politics of Dress in Myanmar s Postcolonial Legislatures Parliamentary Affairs phasaxngkvs 72 3 684 701 doi 10 1093 pa gsy026 ISSN 0031 2290 Green Gillian 2012 05 25 Verging on Modernity A Late Nineteenth Century Burmese Painting on Cloth Depicting the Vessantara Jataka Journal of Burma Studies 16 1 79 121 doi 10 1353 jbs 2012 0000 ISSN 2010 314X S2CID 162846149 Silk acheik luntaya V amp A Search the Collections collections vam ac uk phasaxngkvs subkhnemux 2017 12 05 Lynn Kyaw Ye 26 January 2019 Weavers of traditional textiles in Mandalay unite Frontier Myanmar phasaxngkvs subkhnemux 2020 03 28 Hardiman John Percy 1901 Silk in Burma phasaxngkvs superintendent Government printing Burma phasaxngkvsaebbxemrikn khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2020 03 28 subkhnemux 2020 03 28 Myanmar gaung baung khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2007 08 22 subkhnemux 2017 12 05