บทความนี้ไม่มีจาก |
การเป็นพิษจากพาราเซตามอลเกิดจากการได้รับยาพาราเซตามอลเกินขนาด อาจเกิดจากการใช้ยาเกินขนาดในครั้งเดียวหรือใช้ยาสะสมต่อเนื่องก็ได้ ผู้ป่วยส่วนใหญ่ไม่มีอาการในช่วง 24 ชั่วโมงแรกหลังได้รับยาเกินขนาด บางรายอาจมีอาการแบบไม่จำเพาะ เช่น ปวดท้องเล็กน้อย หรือคลื่นไส้ หลังจากนั้นจะตามมาด้วยระยะที่ไม่มีอาการใดๆ ประมาณ 2-3 วัน ตามด้วยอาการของภาวะตับวาย ได้แก่ดีซ่าน การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ และเพ้อสับสน ภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ ได้แก่ ไตวาย น้ำตาลในเลือดต่ำ และเลือดเป็นกรดจากแลกติก ในกรณีผู้ป่วยไม่เสียชีวิตมักฟื้นตัวได้ในเวลา 2-3 สัปดาห์ หากไม่ได้รับการรักษาผู้ป่วยบางรายอาจมีอาการดีขึ้นได้เองในขณะที่บางรายจะเสียชีวิต
การเป็นพิษจากพาราเซตามอล Paracetamol poisoning | |
---|---|
ชื่ออื่น | Acetaminophen toxicity, paracetamol toxicity, acetaminophen poisoning, paracetamol overdose, acetaminophen overdose, Tylenol toxicity |
Paracetamol | |
สาขาวิชา | พิษวิทยา |
อาการ | ระยะแรก: ไม่จำเพาะ, อ่อนเพลีย, ปวดท้อง, คลื่นไส้ ระยะหลัง: ตัวเหลือง, การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ, เพ้อสับสน |
ภาวะแทรกซ้อน | ไตวาย, , น้ำตาลในเลือดต่ำ, เลือดเป็นกรดจากแลกติก. |
การตั้งต้น | เกิดภาวะเป็นพิษหลังได้รับยา 24 ชั่วโมง |
สาเหตุ | การได้รับยาพาราเซตามอลเกินขนาด ส่วนใหญ่คือมากกว่า 7 กรัม |
ปัจจัยเสี่ยง | Alcoholism, malnutrition, certain other medications |
วิธีวินิจฉัย | Blood levels at specific times following use |
โรคอื่นที่คล้ายกัน | Alcoholism, viral hepatitis, gastroenteritis |
การรักษา | Activated charcoal, , liver transplant |
พยากรณ์โรค | Death occurs in ~0.1% |
ความชุก | >100,000 per year (US) |
ภาวะนี้อาจเกิดจากการกินยาผิดขนาดโดยไม่ได้ตั้งใจหรือเป็นการฆ่าตัวตายก็ได้ ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษได้แก่การติดสุรา การขาดสารอาหาร หรือการใช้ยาอื่นร่วมด้วยที่เกิดขึ้นนั้นไม่ได้เกิดจากตัวยาพาราเซตามอลโดยตรง แต่เกิดจากสารเมตาบอไลต์ชื่อ ซึ่งเป็นสารที่ร่างกายสร้างมาจากตัวยา สารนี้จะลดปริมาณกลูตาไทโอนในตับ และทำลายเซลล์ตับได้โดยตรง การวินิจฉัยทำได้โดยการซักประวัติเพื่อดูปริมาณยาที่รับเข้าสู่ร่างกาย ร่วมกับการตรวจระดับยาพาราเซตามอลในเลือดเทียบกับระยะเวลาหลังจากการรับยาเข้าสู่ร่างกาย แพทย์มักอาศัยเพื่อประเมินว่าระดับยาที่วัดได้ในเวลาที่ตรวจนั้นอยู่ในช่วงที่เป็นพิษหรือไม่ เพียงใด
การรักษาอาจทำด้วยการให้ถ่านกัมมันต์หากผู้ป่วยมาพบแพทย์ในเวลาอันสั้นหลังรับยาเข้าสู่ร่างกาย ปัจจุบันไม่แนะนำให้บังคับให้ผู้ป่วยอาเจียนเอายาออกมา หากประเมินแล้วพบว่ามีความเสี่ยงที่จะเกิดพิษ แพทย์มักให้ยาเพื่อต้านพิษ ซึ่งมักให้ต่อเนื่องกันอย่างน้อย 24 ชั่วโมง หลังจากฟื้นตัวแล้วผู้ป่วยอาจจำเป็นต้องได้รับการดูแลทางจิตเวชร่วมด้วย ในบางรายหากมีอาการตับวายขั้นรุนแรงอาจจำเป็นต้องรักษาด้วยการผ่าตัดปลูกถ่ายตับ ซึ่งข้อบ่งชี้ของการปลูกถ่ายตับมักดูจากความเป็นกรดของเลือด ค่าแลกเตตในเลือดที่สูง การแข็งตัวของเลือดที่ผิดปกติ หรือมีโรคสมองจากตับอย่างรุนแรง หากได้รับการรักษาในระยะแรกจะมีโอกาสเกิดตับวายน้อยมาก โดยรวมผู้ป่วยภาวะพิษจากพาราเซตามอลจะมีอัตราการเสียชีวิตอยู่ที่ 0.1%
มีการบรรยายภาวะพิษจากพาราเซตามอลเป็นครั้งแรกในช่วงคริสตทศวรรษ 1960 อัตราการเกิดภาวะเป็นพิษนี้แตกต่างกันไปในแต่ละพื้นที่ของโลก ในสหรัฐอเมริกาพบผู้ป่วยภาวะนี้ประมาณ 100,000 คนต่อปี ในสหราชอาณาจักรเป็นภาวะรับยาเกินขนาดจนเกิดพิษที่พบบ่อยที่สุด ผู้ป่วยที่พบบ่อยที่สุดคือผู้ป่วยเด็ก และเป็นสาเหตุของภาวะที่พบบ่อยที่สุดในสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร
ผู้ป่วยจะมีอาการอ่อนเพลีย อาเจียน ปวดท้อง ตัวเหลือง ตาเหลือง ค่าตับ serum transaminase(ALT, AST) จะสูงมาก
- สารพิษ NAPQI จากยาพาราเซตามอล
- สารพิษ NAPQI
อาการและอาการแสดง
อาการและอาการแสดงของการเป็นพิษจากพาราเซตามอลแบ่งออกเป็นสามระยะ ระยะแรกจะเริ่มขึ้นภายในไม่กี่ชั่วโมงหลังได้รับยา อาการในระยะนี้ได้แก่ คลื่นไส้ อาเจียน เหงื่อออก และ อย่างไรก็ดีผู้ป่วยหลายรายไม่มีอาการใดๆ หรือมีอาการเพียงเล็กน้อยในช่วง 24 ชั่วโมงแรกหลังได้รับยา บางรายอาจเกิดมีเลือดเป็นกรดเมตาบอลิกและหมดสติเข้าสู่อาการโคม่าตั้งแต่ในระยะแรกของการรับยา แต่พบได้น้อยมาก
ระยะที่สองอยู่ในช่วง 24-72 ชั่วโมงหลังได้รับยา ผู้ป่วยจะมีอาการของภาวะตับอักเสบที่เป็นรุนแรงข้นเรื่อยๆ อาจมีอาการปวดท้องที่บริเวณ (บริเวณตับ) ตับที่อักเสบจะทำหน้าที่ของตับตามปกติได้แย่ลง ทำให้มีค่าเอนไซม์ตับในกลุ่มทั้ง และ ในเลือดสูงขึ้น และการแข็งตัวของเลือดแย่ลงทำให้(ค่า INR) สูงขึ้น ระยะนี้อาจเกิดไตวายเฉียบพลันได้ ซึ่งอาจเป็นจากกลุ่มอาการโรคไตเนื่องจากโรคตับ หรือกลุ่มอาการอวัยวะทำงานผิดปกติหลายอวัยวะ บางรายอาจมีภาวะไตวายเฉียบพลันเป็นอาการเด่น แสดงว่าในผู้ป่วยเช่นนี้สารผลผลิตที่เป็นพิษถูกสร้างขึ้นที่ไตมากกว่าที่ตับ
ระยะที่สามอยู่ในช่วง 3-5 วัน ผู้ป่วยระยะนี้จะมีภาวะแทรกซ้อนของภาวะตับวาย มีการแข็งตัวของเลือดผิดปกติอย่างมาก น้ำตาลในเลือดต่ำ ไตวาย เกิดโรคสมองจากตับ สมองบวม ติดเชื้อในกระแสเลือด อวัยวะล้มเหลวหลายอวัยวะ และเสียชีวิตได้ หากผู้ป่วยรอดชีวิตจากระยะนี้แสดงว่าการอักเสบรุนแรงของตับนั้นสิ้นสุดลงแล้ว การทำงานของตับและไตจะค่อยๆ ดีขึ้นภายใน 2-3 สัปดาห์ ความรุนแรงต่างๆ นี้ขึ้นอยู่กับปริมาณของยาเกินขนาดที่ได้รับ และความเหมาะสมรวดเร็วของการรักษา
พยาธิสรีรวิทยา
พาราเซตามอลจะถูกดูดซึมทันทีผ่านกระเพาะอาหารและลำไส้เล็ก โดยระดับยาในเลือดจะสูงสุดภายใน 4 ชั่วโมงหลังรับประทานยาเกินขนาด (หากกินร่วมกับยาที่เพิ่มระดับ gastric emptying หรือพาราเซตามอลแบบออกฤทธิ์เนิ่น ก็จะทำให้ระดับยาในเลือดสูงเกินกว่า 4 ชั่วโมงหลังรับประทานยาเกินขนาด) โดยระดับยาในการรักษาคือ 5-20 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร
โดยปกติแล้วค่าครึ่งชีวิตในการกำจัดยาพาราเซตามอลโดยเฉลี่ยคือ 2 ชั่วโมง แต่ในผู้ป่วยที่มีปัญหาทางตับ ค่าครึ่งชีวิตอาจยาวถึง 17 ชั่วโมง
พาราเซตามอลถูกเมตาบอไลท์ โดยปฏิกิริยาคอนจูเกชั่นในตับได้สารไม่เป็นพิษ ละลายน้ำได้ขับทางปัสสาวะ แต่หากได้รับยาเกินขนาดปฏิกิริยาคอนจูเกชั่นจะอิ่มตัว ยาจะถูกเมตาบอไลท์ผ่าน enzyme CYP2E1, 1A2, 2A6 และ 3A4 ได้สารที่เป็นพิษต่อตับ คือ N-acetyl-p-benzoquinoneimine (NAPQI)
NAPQI มีค่าครึ่งชีวิตสั้นมากๆ และถูกคอนจูเกตกับกลูต้าไธโอนในร่างกายอย่างรวดเร็ว และถูกขับออกทางปัสสาวะ แต่หากมีมากเกินไป NAPQI จะจับด้วยพันธะโคเวเลนต์กับหมู่ cysteinyl sulfhydryl ของโปรตีนที่ตับ ทำให้ไมโตคอนเดรียทำงานผิดปกติ เกิดการทำลายเซลล์ตับ
ยาถอนพิษของพาราเซตามอล คือ NAC (N-ACETYL CYSTEINE) ซึ่งเป็นสารตั้งต้นในการสร้างกลูต้าไธโอน อีกทั้งยังเพิ่มปฏิกิริยา Sulfation ได้สารที่ไม่เป็นพิษและขับออกทางปัสสาวะ และเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ อีกทั้งยังเพิ่มความเข้มข้นของไนตริกออกไซด์ เพิ่มการไหลเวียนของเลือด เพิ่มการส่งออกซิเจนไปยังเนื้อเยื่อต่างๆ ซึ่งทำให้อัตราการตายลดลง การให้ NAC ดีที่สุดควรให้ภายใน 8 ชั่วโมงหลังรับประทานยาเกินขนาด แต่หากเกิน 8 ชั่วโมงแล้ว ก็ควรให้โดยเร็วที่สุดเท่าที่ทำได้
นอกจากนี้การดื่มสุรา, บุหรี่, ยา Isoniazid, Rifampin, Phenytoin, Phenobarbital, Barbiturates, Carbamazepine, TMP-SMZ, Zidovudine ทำให้การทำงานของเอนไซม์ CYP เพิ่มขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดพิษ NAPQI มากขึ้นด้วย
การรักษา
การขจัดพิษจากกระเพาะอาหาร
ในผู้ป่วยผู้ใหญ่ ขั้นตอนแรกของการรักษาการได้รับพาราเซตามอลเกินขนาดคือการขจัดพิษจากระบบทางเดินอาหาร โดยปกติแล้วพาราเซตามอลจะถูกดูดซึมในทางเดินอาหารจนหมดภายในสองชั่วโมง ดังนั้นการขจัดพิษจะมีประโยชน์ก็ต่อเมื่อได้ทำภายในกรอบเวลาดังกล่าว อาจมีประโยชน์หากปริมาณยาที่ผู้ป่วยกินเข้าไปเป็นขนาดที่สูงจนอาจเป็นอันตรายแก่ชีวิตและสามารถทำหัตถการนี้ได้ภายใน 60 นาทีหลังผู้ป่วยกินยามา การดูดพิษด้วยผงถ่านกัมมันต์เป็นการรักษาที่ใช้บ่อยที่สุดในการลดการดูดซึมยาในทางเดินอาหาร เนื่องจากผงถ่านสามารถพาราเซตามอลได้ ข้อดีอีกอย่างหนึ่งของการใช้ผงถ่านกัมมันต์คือมีความเสี่ยงที่จะเกิดน้อยกว่าการสวนล้างกระเพาะอาหาร
การให้ NAC (N-ACETYL CYSTEINE)
การให้ NAC มี 2 รูปแบบคือ แบบกิน และแบบฉีด
การให้ NAC โดยฉีดให้ทางหลอดเลือด (IV infusion) 20 ชั่วโมง ในผู้ใหญ่
เริ่มต้นด้วย NAC ขนาด 150 mg/kg IV 15นาที
ตามด้วย 50 mg/kg อีก 4 ชั่วโมง (อัตรา 12.5 mg/kg/h)
และตามด้วย 100 mg/kg อีก16 ชั่วโมง (อัตรา 6.25 mg/kg/h)
การให้ NAC โดยการรับประทาน
เริ่มต้นด้วย NAC ขนาด 140 mg/kg
และตามด้วย 70 mg/kg ทุกๆ 4 ชั่วโมง 18รอบ รวมทั้งหมด 72 ชั่วโมง
การผ่าตัดปลูกถ่ายตับ
ในผู้ป่วยที่มีตับวายเฉียบพลันหรือมีตับวายรุนแรงจนอาจเสียชีวิต แนวทางการรักษาหลักคือการผ่าตัดปลูกถ่ายตับ
อ้างอิง
- Yoon, E; Babar, A; Choudhary, M; Kutner, M; Pyrsopoulos, N (28 June 2016). "Acetaminophen-Induced Hepatotoxicity: a Comprehensive Update". Journal of clinical and translational hepatology. 4 (2): 131–42. PMID 27350943.
- Ferri, Fred F. (2016). Ferri's Clinical Advisor 2017 E-Book: 5 Books in 1 (ภาษาอังกฤษ). Elsevier Health Sciences. p. 11. ISBN . จากแหล่งเดิมเมื่อ กันยายน 10, 2017. สืบค้นเมื่อ กรกฎาคม 6, 2017.
- Woolley, David; Woolley, Adam (2017). Practical Toxicology: Evaluation, Prediction, and Risk, Third Edition (ภาษาอังกฤษ). CRC Press. p. 330. ISBN . จากแหล่งเดิมเมื่อ กันยายน 10, 2017. สืบค้นเมื่อ กรกฎาคม 5, 2017.
- Webb, Andrew; Gattinoni, Luciano (2016). Oxford Textbook of Critical Care (ภาษาอังกฤษ). Oxford University Press. p. 1518. ISBN . จากแหล่งเดิมเมื่อ กันยายน 10, 2017. สืบค้นเมื่อ กรกฎาคม 6, 2017.
- Prout, Jeremy; Jones, Tanya; Martin, Daniel (2014). Advanced Training in Anaesthesia (ภาษาอังกฤษ). OUP Oxford. p. 166. ISBN . จากแหล่งเดิมเมื่อ กันยายน 10, 2017.
- Yamada, Tadataka (2011). Textbook of Gastroenterology (ภาษาอังกฤษ). John Wiley & Sons. p. PT4008. ISBN . จากแหล่งเดิมเมื่อ กันยายน 10, 2017.
- Ryder SD, Beckingham IJ (February 2001). "Other causes of parenchymal liver disease". BMJ (Clinical research ed.). 322 (7281): 290–2. doi:10.1136/bmj.322.7281.290. PMC 1119531. PMID 11157536.
- Rumack B, Matthew H (1975). "Acetaminophen poisoning and toxicity". Pediatrics. 55 (6): 871–76. PMID 1134886.
- Zezulka A, Wright N (September 1982). "Severe metabolic acidosis early in paracetamol poisoning". British Medical Journal (Clinical research ed.). 285 (6345): 851–2. doi:10.1136/bmj.285.6345.851. PMC 1499688. PMID 6811039.
- Roth B, Woo O, Blanc P (April 1999). "Early metabolic acidosis and coma after acetaminophen ingestion". Annals of Emergency Medicine. 33 (4): 452–6. doi:10.1016/S0196-0644(99)70312-4. PMID 10092726.
- Heard KJ (July 2008). "Acetylcysteine for Acetaminophen Poisoning". The New England Journal of Medicine. 359 (3): 285–92. doi:10.1056/NEJMct0708278. PMC 2637612. PMID 18635433.
- Boutis K, Shannon M (2001). "Nephrotoxicity after acute severe acetaminophen poisoning in adolescents". Journal of Toxicology: Clinical Toxicology. 39 (5): 441–5. doi:10.1081/CLT-100105413. PMID 11545233.
- Linden CH, Rumack BH (February 1984). "Acetaminophen overdose". Emergency medicine clinics of North America. 2 (1): 103–19. PMID 6394298.
- Vale JA, Kulig K; American Academy of Clinical Toxicology; European Association of Poisons Centres and Clinical Toxicologists (2004). "Position paper: gastric lavage". Journal of Toxicology: Clinical Toxicology. 42 (7): 933–43. doi:10.1081/CLT-200045006. PMID 15641639.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Spiller HA, Sawyer TS (August 2007). "Impact of activated charcoal after acute acetaminophen overdoses treated with N-acetylcysteine". The Journal of Emergency Medicine. 33 (2): 141–4. doi:10.1016/j.jemermed.2007.02.016. PMID 17692765.
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อoverdose1
- Buckley NA, Whyte IM, O'Connell DL, Dawson AH (1999). "Activated charcoal reduces the need for N-acetylcysteine treatment after acetaminophen (paracetamol) overdose". Journal of Toxicology: Clinical Toxicology. 37 (6): 753–7. doi:10.1081/CLT-100102452. PMID 10584587.
- Prescott LF. Treatment of severe acetaminophen poisoning with intravenous acetylcysteine. Arch Intern Med 1981;141(3 Spec No):386–9.
- Smilkstein MJ, Knapp GL, Kulig KW, et al. Efficacy of oral N-acetylcysteine in the treatment of acetaminophen overdose. Analysis of the national multicenter study (1976 to 1985). N Engl J Med 1988;319(24):1557–62
- Dargan PI, Jones AL (April 2003). "Management of paracetamol poisoning". Trends in Pharmacological Sciences. 24 (4): 154–7. doi:10.1016/S0165-6147(03)00053-1. PMID 12706999.
แหล่งข้อมูลอื่น
การจำแนกโรค | D |
---|---|
ทรัพยากรภายนอก |
|
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir karepnphiscakpharaestamxlekidcakkaridrbyapharaestamxlekinkhnad xacekidcakkarichyaekinkhnadinkhrngediywhruxichyasasmtxenuxngkid phupwyswnihyimmixakarinchwng 24 chwomngaerkhlngidrbyaekinkhnad bangrayxacmixakaraebbimcaephaa echn pwdthxngelknxy hruxkhlunis hlngcaknncatammadwyrayathiimmixakarid praman 2 3 wn tamdwyxakarkhxngphawatbway idaekdisan karaekhngtwkhxngeluxdphidpkti aelaephxsbsn phawaaethrksxnxun thixacekidkhunid idaek itway natalineluxdta aelaeluxdepnkrdcakaelktik inkrniphupwyimesiychiwitmkfuntwidinewla 2 3 spdah hakimidrbkarrksaphupwybangrayxacmixakardikhunidexnginkhnathibangraycaesiychiwitkarepnphiscakpharaestamxl Paracetamol poisoningchuxxunAcetaminophen toxicity paracetamol toxicity acetaminophen poisoning paracetamol overdose acetaminophen overdose Tylenol toxicityParacetamolsakhawichaphiswithyaxakarrayaaerk imcaephaa xxnephliy pwdthxng khlunis rayahlng twehluxng karaekhngtwkhxngeluxdphidpkti ephxsbsnphawaaethrksxnitway natalineluxdta eluxdepnkrdcakaelktik kartngtnekidphawaepnphishlngidrbya 24 chwomngsaehtukaridrbyapharaestamxlekinkhnad swnihykhuxmakkwa 7 krmpccyesiyngAlcoholism malnutrition certain other medicationswithiwinicchyBlood levels at specific times following useorkhxunthikhlayknAlcoholism viral hepatitis gastroenteritiskarrksaActivated charcoal liver transplantphyakrnorkhDeath occurs in 0 1 khwamchuk gt 100 000 per year US phawanixacekidcakkarkinyaphidkhnadodyimidtngichruxepnkarkhatwtaykid pccyesiyngkhxngkarekidphisidaekkartidsura karkhadsarxahar hruxkarichyaxunrwmdwythiekidkhunnnimidekidcaktwyapharaestamxlodytrng aetekidcaksaremtabxiltchux sungepnsarthirangkaysrangmacaktwya sarnicaldprimanklutaithoxnintb aelathalayeslltbidodytrng karwinicchythaidodykarskprawtiephuxduprimanyathirbekhasurangkay rwmkbkartrwcradbyapharaestamxlineluxdethiybkbrayaewlahlngcakkarrbyaekhasurangkay aephthymkxasyephuxpraeminwaradbyathiwdidinewlathitrwcnnxyuinchwngthiepnphishruxim ephiyngid karrksaxacthadwykarihthankmmnthakphupwymaphbaephthyinewlaxnsnhlngrbyaekhasurangkay pccubnimaenanaihbngkhbihphupwyxaeciynexayaxxkma hakpraeminaelwphbwamikhwamesiyngthicaekidphis aephthymkihyaephuxtanphis sungmkihtxenuxngknxyangnxy 24 chwomng hlngcakfuntwaelwphupwyxaccaepntxngidrbkarduaelthangcitewchrwmdwy inbangrayhakmixakartbwaykhnrunaerngxaccaepntxngrksadwykarphatdplukthaytb sungkhxbngchikhxngkarplukthaytbmkducakkhwamepnkrdkhxngeluxd khaaelkettineluxdthisung karaekhngtwkhxngeluxdthiphidpkti hruxmiorkhsmxngcaktbxyangrunaerng hakidrbkarrksainrayaaerkcamioxkasekidtbwaynxymak odyrwmphupwyphawaphiscakpharaestamxlcamixtrakaresiychiwitxyuthi 0 1 mikarbrryayphawaphiscakpharaestamxlepnkhrngaerkinchwngkhristthswrrs 1960 xtrakarekidphawaepnphisniaetktangknipinaetlaphunthikhxngolk inshrthxemrikaphbphupwyphawanipraman 100 000 khntxpi inshrachxanackrepnphawarbyaekinkhnadcnekidphisthiphbbxythisud phupwythiphbbxythisudkhuxphupwyedk aelaepnsaehtukhxngphawathiphbbxythisudinshrthxemrikaaelashrachxanackr phupwycamixakarxxnephliy xaeciyn pwdthxng twehluxng taehluxng khatb serum transaminase ALT AST casungmaksarphis NAPQI cakyapharaestamxl sarphis NAPQIxakaraelaxakaraesdngxakaraelaxakaraesdngkhxngkarepnphiscakpharaestamxlaebngxxkepnsamraya rayaaerkcaerimkhunphayinimkichwomnghlngidrbya xakarinrayaniidaek khlunis xaeciyn ehnguxxxk aela xyangirkdiphupwyhlayrayimmixakarid hruxmixakarephiyngelknxyinchwng 24 chwomngaerkhlngidrbya bangrayxacekidmieluxdepnkrdemtabxlikaelahmdstiekhasuxakarokhmatngaetinrayaaerkkhxngkarrbya aetphbidnxymak rayathisxngxyuinchwng 24 72 chwomnghlngidrbya phupwycamixakarkhxngphawatbxkesbthiepnrunaerngkhneruxy xacmixakarpwdthxngthibriewn briewntb tbthixkesbcathahnathikhxngtbtampktiidaeylng thaihmikhaexnismtbinklumthng aela ineluxdsungkhun aelakaraekhngtwkhxngeluxdaeylngthaihkha INR sungkhun rayanixacekiditwayechiybphlnid sungxacepncakklumxakarorkhitenuxngcakorkhtb hruxklumxakarxwywathanganphidpktihlayxwywa bangrayxacmiphawaitwayechiybphlnepnxakaredn aesdngwainphupwyechnnisarphlphlitthiepnphisthuksrangkhunthiitmakkwathitb rayathisamxyuinchwng 3 5 wn phupwyrayanicamiphawaaethrksxnkhxngphawatbway mikaraekhngtwkhxngeluxdphidpktixyangmak natalineluxdta itway ekidorkhsmxngcaktb smxngbwm tidechuxinkraaeseluxd xwywalmehlwhlayxwywa aelaesiychiwitid hakphupwyrxdchiwitcakrayaniaesdngwakarxkesbrunaerngkhxngtbnnsinsudlngaelw karthangankhxngtbaelaitcakhxy dikhunphayin 2 3 spdah khwamrunaerngtang nikhunxyukbprimankhxngyaekinkhnadthiidrb aelakhwamehmaasmrwderwkhxngkarrksaphyathisrirwithyapharaestamxlcathukdudsumthnthiphankraephaaxaharaelalaiselk odyradbyaineluxdcasungsudphayin 4 chwomnghlngrbprathanyaekinkhnad hakkinrwmkbyathiephimradb gastric emptying hruxpharaestamxlaebbxxkvththienin kcathaihradbyaineluxdsungekinkwa 4 chwomnghlngrbprathanyaekinkhnad odyradbyainkarrksakhux 5 20 imokhrkrmtxmillilitr odypktiaelwkhakhrungchiwitinkarkacdyapharaestamxlodyechliykhux 2 chwomng aetinphupwythimipyhathangtb khakhrungchiwitxacyawthung 17 chwomng pharaestamxlthukemtabxilth odyptikiriyakhxncuekchnintbidsarimepnphis lalaynaidkhbthangpssawa aethakidrbyaekinkhnadptikiriyakhxncuekchncaximtw yacathukemtabxilthphan enzyme CYP2E1 1A2 2A6 aela 3A4 idsarthiepnphistxtb khux N acetyl p benzoquinoneimine NAPQI NAPQI mikhakhrungchiwitsnmak aelathukkhxncuektkbklutaithoxninrangkayxyangrwderw aelathukkhbxxkthangpssawa aethakmimakekinip NAPQI cacbdwyphnthaokhewelntkbhmu cysteinyl sulfhydryl khxngoprtinthitb thaihimotkhxnedriythanganphidpkti ekidkarthalayeslltb yathxnphiskhxngpharaestamxl khux NAC N ACETYL CYSTEINE sungepnsartngtninkarsrangklutaithoxn xikthngyngephimptikiriya Sulfation idsarthiimepnphisaelakhbxxkthangpssawa aelaepnsartanxnumulxisra xikthngyngephimkhwamekhmkhnkhxngintrikxxkisd ephimkarihlewiynkhxngeluxd ephimkarsngxxksiecnipyngenuxeyuxtang sungthaihxtrakartayldlng karih NAC dithisudkhwrihphayin 8 chwomnghlngrbprathanyaekinkhnad aethakekin 8 chwomngaelw kkhwrihodyerwthisudethathithaid nxkcaknikardumsura buhri ya Isoniazid Rifampin Phenytoin Phenobarbital Barbiturates Carbamazepine TMP SMZ Zidovudine thaihkarthangankhxngexnism CYP ephimkhun sungkxihekidphis NAPQI makkhundwy karrksakarkhcdphiscakkraephaaxahar inphupwyphuihy khntxnaerkkhxngkarrksakaridrbpharaestamxlekinkhnadkhuxkarkhcdphiscakrabbthangedinxahar odypktiaelwpharaestamxlcathukdudsuminthangedinxaharcnhmdphayinsxngchwomng dngnnkarkhcdphiscamipraoychnktxemuxidthaphayinkrxbewladngklaw xacmipraoychnhakprimanyathiphupwykinekhaipepnkhnadthisungcnxacepnxntrayaekchiwitaelasamarththahtthkarniidphayin 60 nathihlngphupwykinyama kardudphisdwyphngthankmmntepnkarrksathiichbxythisudinkarldkardudsumyainthangedinxahar enuxngcakphngthansamarthpharaestamxlid khxdixikxyanghnungkhxngkarichphngthankmmntkhuxmikhwamesiyngthicaekidnxykwakarswnlangkraephaaxahar karih NAC N ACETYL CYSTEINE karih NAC mi 2 rupaebbkhux aebbkin aelaaebbchid karih NAC odychidihthanghlxdeluxd IV infusion 20 chwomng inphuihy erimtndwy NAC khnad 150 mg kg IV 15nathi tamdwy 50 mg kg xik 4 chwomng xtra 12 5 mg kg h aelatamdwy 100 mg kg xik16 chwomng xtra 6 25 mg kg h karih NAC odykarrbprathan erimtndwy NAC khnad 140 mg kg aelatamdwy 70 mg kg thuk 4 chwomng 18rxb rwmthnghmd 72 chwomng karphatdplukthaytb inphupwythimitbwayechiybphlnhruxmitbwayrunaerngcnxacesiychiwit aenwthangkarrksahlkkhuxkarphatdplukthaytbxangxingYoon E Babar A Choudhary M Kutner M Pyrsopoulos N 28 June 2016 Acetaminophen Induced Hepatotoxicity a Comprehensive Update Journal of clinical and translational hepatology 4 2 131 42 PMID 27350943 Ferri Fred F 2016 Ferri s Clinical Advisor 2017 E Book 5 Books in 1 phasaxngkvs Elsevier Health Sciences p 11 ISBN 9780323448383 cakaehlngedimemux knyayn 10 2017 subkhnemux krkdakhm 6 2017 Woolley David Woolley Adam 2017 Practical Toxicology Evaluation Prediction and Risk Third Edition phasaxngkvs CRC Press p 330 ISBN 9781498709309 cakaehlngedimemux knyayn 10 2017 subkhnemux krkdakhm 5 2017 Webb Andrew Gattinoni Luciano 2016 Oxford Textbook of Critical Care phasaxngkvs Oxford University Press p 1518 ISBN 9780199600830 cakaehlngedimemux knyayn 10 2017 subkhnemux krkdakhm 6 2017 Prout Jeremy Jones Tanya Martin Daniel 2014 Advanced Training in Anaesthesia phasaxngkvs OUP Oxford p 166 ISBN 9780191511776 cakaehlngedimemux knyayn 10 2017 Yamada Tadataka 2011 Textbook of Gastroenterology phasaxngkvs John Wiley amp Sons p PT4008 ISBN 9781444359411 cakaehlngedimemux knyayn 10 2017 Ryder SD Beckingham IJ February 2001 Other causes of parenchymal liver disease BMJ Clinical research ed 322 7281 290 2 doi 10 1136 bmj 322 7281 290 PMC 1119531 PMID 11157536 Rumack B Matthew H 1975 Acetaminophen poisoning and toxicity Pediatrics 55 6 871 76 PMID 1134886 Zezulka A Wright N September 1982 Severe metabolic acidosis early in paracetamol poisoning British Medical Journal Clinical research ed 285 6345 851 2 doi 10 1136 bmj 285 6345 851 PMC 1499688 PMID 6811039 Roth B Woo O Blanc P April 1999 Early metabolic acidosis and coma after acetaminophen ingestion Annals of Emergency Medicine 33 4 452 6 doi 10 1016 S0196 0644 99 70312 4 PMID 10092726 Heard KJ July 2008 Acetylcysteine for Acetaminophen Poisoning The New England Journal of Medicine 359 3 285 92 doi 10 1056 NEJMct0708278 PMC 2637612 PMID 18635433 Boutis K Shannon M 2001 Nephrotoxicity after acute severe acetaminophen poisoning in adolescents Journal of Toxicology Clinical Toxicology 39 5 441 5 doi 10 1081 CLT 100105413 PMID 11545233 Linden CH Rumack BH February 1984 Acetaminophen overdose Emergency medicine clinics of North America 2 1 103 19 PMID 6394298 Vale JA Kulig K American Academy of Clinical Toxicology European Association of Poisons Centres and Clinical Toxicologists 2004 Position paper gastric lavage Journal of Toxicology Clinical Toxicology 42 7 933 43 doi 10 1081 CLT 200045006 PMID 15641639 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Spiller HA Sawyer TS August 2007 Impact of activated charcoal after acute acetaminophen overdoses treated with N acetylcysteine The Journal of Emergency Medicine 33 2 141 4 doi 10 1016 j jemermed 2007 02 016 PMID 17692765 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux overdose1 Buckley NA Whyte IM O Connell DL Dawson AH 1999 Activated charcoal reduces the need for N acetylcysteine treatment after acetaminophen paracetamol overdose Journal of Toxicology Clinical Toxicology 37 6 753 7 doi 10 1081 CLT 100102452 PMID 10584587 Prescott LF Treatment of severe acetaminophen poisoning with intravenous acetylcysteine Arch Intern Med 1981 141 3 Spec No 386 9 Smilkstein MJ Knapp GL Kulig KW et al Efficacy of oral N acetylcysteine in the treatment of acetaminophen overdose Analysis of the national multicenter study 1976 to 1985 N Engl J Med 1988 319 24 1557 62 Dargan PI Jones AL April 2003 Management of paracetamol poisoning Trends in Pharmacological Sciences 24 4 154 7 doi 10 1016 S0165 6147 03 00053 1 PMID 12706999 aehlngkhxmulxunkarcaaenkorkhDICD 10 T39 1ICD 965 4thrphyakrphaynxk 002598 ped 7