ภาวะกรดเกิน, ภาวะกระเดียดกรด หรือ ภาวะร่างกายเป็นกรด (อังกฤษ: Acidosis) เป็นกระบวนการที่ก่อให้เกิดความเป็นกรดเพิ่มขึ้นในเลือดและเนื้อเยื่อร่างกาย กล่าวคือเป็นการเพิ่มขึ้นของความเข้มข้นของ หากไม่ได้มีการระบุรายละเอียดเพิ่มเติม โดยทั่วไปมักใช้หมายถึงความเป็นกรดในพลาสมาเลือด
ภาวะกรดเกิน (Acidosis) | |
---|---|
ชื่ออื่น | ภาวะเลือดเป็นกรด |
อาการทั่วไปของภาวะเลือดเป็นกรด | |
สาขาวิชา |
คำว่า ภาวะกรดเลือดเป็นกรด หรือ เอซิเดเมีย (acidemia) ใช้อธิบายถึงสภาวะที่ซึ่งค่า pH ของเลือดต่ำ ในขณะที่เอซิดอซิส (acidosis) ใช้อธิบายกระบวนการซึ่งนำไปสู่สภาวะดังกล่าว อย่างไรก็ตามทั้งสองคำอาจใช้เปลี่ยนกันได้ใบางครั้ง เอซิเดเมียนั้นเกิดขึ้นเมื่อค่า pH ในหลอดเลือดแดง (arterial pH) ต่ำกว่า 7.35 (ยกเว้นกรณีในทารกในครรภ์; fetus) ในขณะที่อาการคู่ตรงข้าม อัลคาเลเมีย (alkalemia) เกิดขึ้นที่ค่า pH สูงกว่า 7.45 ในการประเมินผู้ป่วยนั้นต้องมีการวิเคราะห์ค่า Arterial blood gas และการทดสอบอื่น ๆ
อัตราเมแทบอลิซึมในเซลล์ (rate of cellular metabolic activity) ทั้งส่งผลและได้รับผลกระทบในเวลาเดียวกันจากค่า pH ของของเหลวในร่างกาย ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ค่า pH ปกติอยู่ที่ 7.35 ถึง 7.50 ขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ และจำกัดอยู่ที่ไม่เกินระหว่าง 6.8 ถึง 7.8 ในการดำรงชีพได้ การเปลี่ยนแปลงในค่า pH ของเลือดในหลอดเลือดแดง (ซึ่งก็ตามด้วยของเหลวนอกเซลล์) ที่เกินจากช่วงที่กำหนดนี้อาจส่งผลให้เซลล์ไดรับอันตรายแบบกู้กลับไม่ได้ (irreversible cell damage)
ภาวะกรดเกินเมแทบอลิก
ภาวะกรดเกินเมแทบอลิก (อังกฤษ: Metabolic acidosis) อาขส่งผลให้ทั้งเกิดการผลิตกรดเมแทบอลิก (เช่นกรดแลกติก) สูงขึ้น หรือรบกวนความสามารถในการขับออกผ่านทางไต เช่น (renal tubular acidosis) หรือภาวะกรดเกินของไตวาย ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสะสมของและครีทินีน (creatinine) การเพิ่มขึ้นของการผลิตกรดอื่น ๆ อาจก่อให้เกิดภาวะกรดเกินเมแทบอลิกเช่นกัน เช่น ภาวะกรดเกินกรดแลคติก
ภาวะกรดเกินจากการหายใจ
ภาวะกรดเกินจากการหายใจ (respiratory acidosis) เกิดจากการสะสมของคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือด (; hypercapnia) จาก (hypoventilation) ซึ่งส่วนใหญ่มักเกิดจากปัญหาของปอด อย่างไรก็ตาม ทั้งยา (โดยเฉพาะ และ), และเนื้องอกในสมอง ล้วนก่อให้เกิดเอซิเดเมียชนิดนี้ได้ทั้งนั้น
อ้างอิง
- ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน วิทยาศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๔๖)
- ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔
- ศัพท์พบการใช้ใน ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย จาก http://www.thaipediatrics.org/Media/media-20200122141138.pdf 2021-04-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ศัพท์พบการใช้ใน วารสารโรงพยาบาลชัยภูมิ จาก https://digitaljournals.moph.go.th/tdj/index.php/CMJ/article/view/7799[]
- Needham, A. 2004. Comparative and Environmental Physiology. Acidosis and Alkalosis.
- "MedlinePlus Medical Encyclopedia: Respiratory acidosis". จากแหล่งเดิมเมื่อ 11 December 2008. สืบค้นเมื่อ 2008-12-06.
- "eMedicine - Respiratory Acidosis : Article by Jackie A Hayes". จากแหล่งเดิมเมื่อ October 29, 2008. สืบค้นเมื่อ 2008-12-06.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phawakrdekin phawakraediydkrd hrux phawarangkayepnkrd xngkvs Acidosis epnkrabwnkarthikxihekidkhwamepnkrdephimkhunineluxdaelaenuxeyuxrangkay klawkhuxepnkarephimkhunkhxngkhwamekhmkhnkhxng hakimidmikarraburaylaexiydephimetim odythwipmkichhmaythungkhwamepnkrdinphlasmaeluxdphawakrdekin Acidosis chuxxunphawaeluxdepnkrdxakarthwipkhxngphawaeluxdepnkrdsakhawicha khawa phawakrdeluxdepnkrd hrux exsiedemiy acidemia ichxthibaythungsphawathisungkha pH khxngeluxdta inkhnathiexsidxsis acidosis ichxthibaykrabwnkarsungnaipsusphawadngklaw xyangirktamthngsxngkhaxacichepliynknidibangkhrng exsiedemiynnekidkhunemuxkha pH inhlxdeluxdaedng arterial pH takwa 7 35 ykewnkrniintharkinkhrrph fetus inkhnathixakarkhutrngkham xlkhaelemiy alkalemia ekidkhunthikha pH sungkwa 7 45 inkarpraeminphupwynntxngmikarwiekhraahkha Arterial blood gas aelakarthdsxbxun xtraemaethbxlisuminesll rate of cellular metabolic activity thngsngphlaelaidrbphlkrathbinewlaediywkncakkha pH khxngkhxngehlwinrangkay instweliynglukdwynm kha pH pktixyuthi 7 35 thung 7 50 khunxyukbsayphnthu aelacakdxyuthiimekinrahwang 6 8 thung 7 8 inkardarngchiphid karepliynaeplnginkha pH khxngeluxdinhlxdeluxdaedng sungktamdwykhxngehlwnxkesll thiekincakchwngthikahndnixacsngphlihesllidrbxntrayaebbkuklbimid irreversible cell damage phawakrdekinemaethbxlikphawakrdekinemaethbxlik xngkvs Metabolic acidosis xakhsngphlihthngekidkarphlitkrdemaethbxlik echnkrdaelktik sungkhun hruxrbkwnkhwamsamarthinkarkhbxxkphanthangit echn renal tubular acidosis hruxphawakrdekinkhxngitway sungekiywkhxngkbkarsasmkhxngaelakhrithinin creatinine karephimkhunkhxngkarphlitkrdxun xackxihekidphawakrdekinemaethbxlikechnkn echn phawakrdekinkrdaelkhtikphawakrdekincakkarhayicphawakrdekincakkarhayic respiratory acidosis ekidcakkarsasmkhxngkharbxnidxxkisdineluxd hypercapnia cak hypoventilation sungswnihymkekidcakpyhakhxngpxd xyangirktam thngya odyechphaa aela aelaenuxngxkinsmxng lwnkxihekidexsiedemiychnidniidthngnnxangxingsphthbyytirachbnthitysthan withyasastr phimphkhrngthi 5 ph s 2546 sphthbyytirachbnthitysthan aephthysastr 6 s kh 2544 sphthphbkarichin rachwithyalykumaraephthyaehngpraethsithy cak http www thaipediatrics org Media media 20200122141138 pdf 2021 04 11 thi ewyaebkaemchchin sphthphbkarichin warsarorngphyabalchyphumi cak https digitaljournals moph go th tdj index php CMJ article view 7799 lingkesiy Needham A 2004 Comparative and Environmental Physiology Acidosis and Alkalosis MedlinePlus Medical Encyclopedia Respiratory acidosis cakaehlngedimemux 11 December 2008 subkhnemux 2008 12 06 eMedicine Respiratory Acidosis Article by Jackie A Hayes cakaehlngedimemux October 29 2008 subkhnemux 2008 12 06 bthkhwamaephthysastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk