การอนุรักษ์ทางทะเล หมายถึงการศึกษาการอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลทางกายภาพ และทรัพยากรทางทะเลทางชีวภาพตลอดจนระบบนิเวศ โดยเป็นการป้องกันและรักษาระบบนิเวศในมหาสมุทรและทะเลผ่านการจัดการตามแผนเพื่อป้องกันการแสวงประโยชน์จากทรัพยากรเหล่านี้ การอนุรักษ์ทางทะเลเป็นผลมาจากผลกระทบที่เกิดขึ้นในสิ่งแวดล้อมของเรา เช่น การสูญพันธุ์, การทำลายถิ่นฐานธรรมชาติ และการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศ รวมถึงมุ่งเน้นไปที่การจำกัดความเสียหายของมนุษย์ต่อระบบนิเวศทางทะเล, ทางทะเลที่เสียหาย และรักษา ตลอดจนระบบนิเวศของ การอนุรักษ์ทางทะเลเป็นระเบียบวินัยที่ค่อนข้างใหม่ซึ่งได้พัฒนาขึ้นเพื่อตอบสนองต่อประเด็นทางชีววิทยา เช่น การสูญพันธุ์ และที่อยู่อาศัยใต้ทะเลที่เปลี่ยนไป
นักอนุรักษ์ทางทะเลพึ่งพาหลักการทางวิทยาศาสตร์ที่ได้จากชีววิทยาทางทะเล, สมุทรศาสตร์ และวิทยาศาสตร์การประมง ตลอดจนปัจจัยต่าง ๆ ของมนุษย์ เช่น ความต้องการทรัพยากรทางทะเลและกฎหมายทางทะเล, เศรษฐศาสตร์และนโยบาย เพื่อกำหนดวิธีการที่ดีที่สุดในการปกป้องและอนุรักษ์สายพันธุ์รวมถึงระบบนิเวศทางทะเล การอนุรักษ์ทางทะเลอาจอธิบายได้ว่าเป็นสาขาย่อยของ การอนุรักษ์ทางทะเลได้รับการกล่าวถึงใน เพื่อให้แน่ใจว่ามีการใช้ทรัพยากรทางทะเลอย่างยั่งยืนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ผลกระทบของมนุษย์ต่อระบบนิเวศทางทะเล
การเพิ่มจำนวนประชากรมนุษย์ส่งผลให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศของมนุษย์เพิ่มขึ้น กิจกรรมของมนุษย์ส่งผลให้อัตราการสูญพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งทำให้ความหลากหลายทางชีวภาพของพืชและสัตว์ลดลงอย่างมากในสิ่งแวดล้อมของเรา ผลกระทบเหล่านี้รวมถึงแรงกดดันที่เพิ่มขึ้นจากการประมง ตลอดจนความเสื่อมโทรมของแนวปะการัง และการประมงเกินขีดจำกัด รวมถึงแรงกดดันจากอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้นในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา การเสื่อมสภาพของพืดหินปะการังส่วนใหญ่เชื่อมโยงกับกิจกรรมของมนุษย์ – 88 เปอร์เซนต์ของแนวปะการังถูกคุกคามด้วยเหตุผลต่าง ๆ ที่ระบุไว้ข้างต้น รวมถึงการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ในปริมาณที่มากเกินไป มหาสมุทรดูดกลืนคาร์บอนไดออกไซต์ประมาณ 1 ใน 3 ของที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์ ซึ่งมีผลกระทบที่เป็นอันตรายต่อสภาพแวดล้อมทางทะเล ระดับที่เพิ่มขึ้นของคาร์บอนไดออกไซด์ในมหาสมุทรเปลี่ยนเคมีของน้ำทะเลโดยการลดค่าพีเอช ซึ่งเป็นที่รู้จักกันในฐานะการกลายเป็นกรดของมหาสมุทร
ก็ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมทางทะเลเช่นกัน ซึ่งมีส่วนทำให้เกิดอันเป็นผลมาจากกิจกรรมของมนุษย์ โดยได้รับการศึกษาตามการรั่วไหลที่สำคัญในสหรัฐ
การขนส่งทางเรือเป็นตัวนำโรคที่สำคัญสำหรับการการนำสู่ของสายพันธุ์สัตว์ทะเลต่างถิ่น ซึ่งบางส่วนสามารถกลายเป็นระบบนิเวศที่มากเกินไปและเปลี่ยนแปลง การชนกันกับอาจเป็นอันตรายถึงชีวิตสำหรับวาฬ และสามารถส่งผลกระทบต่อความมีชีวิตของกลุ่มพืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่ในบริเวณหนึ่งทั้งหมด รวมถึงประชากรนอกชายฝั่งตะวันออกของสหรัฐ
พืดหินปะการัง
พืดหินปะการังเป็นศูนย์กลางของความหลากหลายทางชีวภาพ และเป็นนักแสดงหลักในการอยู่รอดของระบบนิเวศทั้งหมด พวกมันให้อาหารสัตว์ทะเลต่าง ๆ, ป้องกัน และที่พักพิงซึ่งทำให้สายพันธุ์ดำรงอยู่หลายชั่วอายุ ยิ่งกว่านั้น พืดหินปะการังยังเป็นส่วนสำคัญของการดำรงชีวิตของมนุษย์ผ่านการใช้เป็นแหล่งอาหาร (เช่น ปลา และหอย) เช่นเดียวกับพื้นที่ทางทะเลสำหรับการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ที่ให้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ มนุษย์กำลังทำการวิจัยเกี่ยวกับการใช้ปะการังเป็นแหล่งศักยภาพใหม่สำหรับยา (เช่น สเตอรอยด์ และยาแก้อักเสบ)
น่าเสียดาย เนื่องจากต่อพืดหินปะการัง, ระบบนิเวศเหล่านี้กำลังเสื่อมโทรมมากขึ้นเรื่อย ๆ และต้องการการอนุรักษ์ ภัยคุกคามที่ใหญ่ที่สุด ได้แก่ การประมงเกินขีดจำกัด, การทำประมงแบบทำลายล้าง, การตกตะกอน และมลพิษจากแหล่งที่ดิน นอกจากนี้ เมื่อร่วมกับคาร์บอนที่เพิ่มขึ้นในมหาสมุทร, ปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว และเชื้อโรค นั่นหมายความว่าไม่มีแนวปะการังอันบริสุทธิ์ในโลกนี้ ขณะนี้มีแนวปะการังมากถึง 88 เปอร์เซนต์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ถูกคุกคาม กับ 50 เปอร์เซนต์ของแนวปะการังเหล่านั้นที่ความเสี่ยง "สูง" หรือ "สูงมาก" ที่สูญหายไป ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อความหลากหลายทางชีวภาพและการอยู่รอดของสิ่งมีชีวิตอาศัยที่ต้องพึ่งพาปะการัง
สิ่งนี้เป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อประเทศที่เป็นเกาะ เช่น ประเทศซามัว, อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ เพราะคนจำนวนมากพึ่งพาอาศัยระบบนิเวศพืดหินปะการังเพื่อเลี้ยงครอบครัวและทำมาหากิน อย่างไรก็ตาม ชาวประมงจำนวนมากไม่สามารถจับปลาได้มากเท่าที่เคยเป็นมา ดังนั้นพวกเขาจึงใช้ไซยาไนด์และไดนาไมต์ในการจับปลามากขึ้น ซึ่งจะทำลายระบบนิเวศของแนวปะการังขยายออกไปอีก ลักษณะวิสัยที่ไม่ดีนี้นำไปสู่การลดลงของพืดหินปะการังและทำให้ปัญหานี้ยาวนานขึ้น วิธีหนึ่งในการหยุดวงจรนี้ คือการให้ความรู้แก่ชุมชนท้องถิ่นว่าเหตุใดการอนุรักษ์พื้นที่ทางทะเลที่มีแนวปะการังจึงมีความสำคัญ
การประมงเกินขีดจำกัด
การประมงเกินขีดจำกัดเป็นหนึ่งในสาเหตุหลักที่ทำให้กลุ่มพืชและสัตว์ในมหาสมุทรลดลงในช่วงหลายปีที่ผ่านมา องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติรายงานว่าอัตราร้อยละของสายพันธุ์ปลาของโลกที่อยู่ในระดับยั่งยืนทางชีวภาพได้ลดลงจาก 90 เปอร์เซ็นต์ในปี ค.ศ. 1974 เป็น 65.8 เปอร์เซ็นต์ในปี ค.ศ. 2017 การประมงเกินขีดจำกัดของการประมงขนาดใหญ่เหล่านี้ทำลายสภาพแวดล้อมทางทะเลและคุกคามการดำรงชีวิตของหลายพันล้านคน ที่อาศัยปลาในฐานะโปรตีนหรือเป็นแหล่งรายได้สำหรับการจับและขาย
ตามที่องค์การกองทุนสัตว์ป่าโลกระบุ การประมงที่ผิดกฎหมาย, ไม่ได้รับรายงาน และไม่มีการควบคุม เป็นปัจจัยหลักในการประมงเกินขีดจำกัด การประมงที่ผิดกฎหมายคาดว่าจะมีสัดส่วนมากถึง 30 เปอร์เซ็นต์ของการจับสัตว์น้ำบางชนิดที่มีมูลค่าสูง และอุตสาหกรรมนี้คาดว่าจะมีมูลค่า 36,000 ล้านดอลลาร์ต่อปี
ความมากเกินไป
ความมากเกินไปอาจเกิดขึ้นได้เมื่อไม่สามารถควบคุมจำนวนประชากรของสัตว์บางชนิดได้ตามธรรมชาติ หรือโดยการแทรกแซงของมนุษย์ การครอบงำของสปีชีส์หนึ่งสามารถสร้างความไม่สมดุลในระบบนิเวศ ซึ่งอาจนำไปสู่การตายของสปีชีส์อื่นและแหล่งที่อยู่ ทั้งนี้ ความมากเกินไปเกิดขึ้นอย่างเด่นชัดในหมู่
ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น
การค้าโดยระหว่างประเทศได้นำไปสู่การตั้งถิ่นฐานสัตว์ทะเลหลายชนิดที่อยู่นอกขอบเขตของพวกมัน สิ่งเหล่านี้บางส่วนอาจมีผลเสีย เช่น ซึ่งเข้าสู่รัฐแทสเมเนีย ประเทศออสเตรียเลีย เวกเตอร์สำหรับการเคลื่อนย้ายของสิ่งมีชีวิต ได้แก่ ของตัวเรือ, การทิ้ง และการทิ้งน้ำจากพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำทางทะเล โดยคาดว่าถังเก็บน้ำอับเฉาเรือจะมีสปีชีส์ที่ไม่ใช่พื้นเมืองประมาณ 3,000 ชนิด เมื่อตั้งถิ่นฐานแล้ว เป็นการยากที่จะกำจัดสิ่งมีชีวิตที่แปลกใหม่ออกจากระบบนิเวศ
อ่าวซานฟรานซิสโกเป็นหนึ่งในสถานที่ในโลกที่ได้รับผลกระทบจากสายพันธุ์ต่างถิ่นและรุกรานมากที่สุด ตามที่องค์การเบย์คีปเปอร์ระบุ 97 เปอร์เซ็นต์ของสิ่งมีชีวิตในอ่าวซานฟรานซิสโกได้รับความเสียหายจาก 240 สายพันธุ์ที่รุกรานซึ่งถูกนำเข้าสู่ระบบนิเวศ สายพันธุ์ที่รุกรานในอ่าว เช่น ได้เปลี่ยนใยอาหารของระบบนิเวศโดยการลดจำนวนประชากรของสายพันธุ์พื้นเมือง เช่น แพลงก์ตอน หอยกาบเอเชียอุดตันท่อและขัดขวางการไหลของน้ำในโรงงานผลิตไฟฟ้า การปรากฏตัวของพวกมันในอ่าวซานฟรานซิสโกทำให้สหรัฐเสียหายประมาณหนึ่งพันล้านดอลลาร์
ชนิดสูญพันธุ์และใกล้สูญพันธุ์
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมทางทะเล
วาฬบาลีนถูกล่าอย่างเด่นชัดตั้งแต่ ค.ศ. 1600 จนถึงกลางคริสต์ทศวรรษ 1900 และใกล้จะสูญพันธุ์เมื่อการห้ามล่าวาฬเชิงพาณิชย์ทั่วโลกมีผลบังคับใช้ใน ค.ศ. 1986 โดย (อนุสัญญาการล่าวาฬระหว่างประเทศ) ส่วนวาฬสีเทาแอตแลนติกที่เห็นครั้งสุดท้ายใน ค.ศ. 1740 ได้สูญพันธุ์ไปแล้ว เนื่องจากการล่าวาฬของชาวยุโรปและชนพื้นเมืองอเมริกัน และตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1960 จำนวนประชากรทั่วโลกลดลงอย่างรวดเร็ว แมวน้ำมังก์ฮาวายและเมดิเตอร์เรเนียนถือเป็นหนึ่งในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทางทะเลที่ใกล้สูญพันธุ์มากที่สุดในโลก ตามรายงานของหน่วยงานโนอา รวมทั้งการพบเห็นแมวน้ำมังก์แคริบเบียนครั้งสุดท้ายเกิดขึ้นใน ค.ศ. 1952 และขณะนี้ได้รับการยืนยันว่าสูญพันธุ์โดยหน่วยงานโนอา นอกจากนี้ โลมา ซึ่งค้นพบใน ค.ศ. 1958 ได้กลายเป็นสัตว์ทะเลที่ใกล้สูญพันธุ์มากที่สุด ประชากรดังกล่าวกว่าครึ่งหายไปตั้งแต่ ค.ศ. 2012 ซึ่งเหลือ 100 ตัวใน ค.ศ. 2014 วากีตามักจมน้ำตายในอวนจับปลา ซึ่งถูกใช้อย่างผิดกฎหมายในนอกอ่าวเม็กซิโก
เต่าทะเล
ใน ค.ศ. 2004 กลุ่มผู้เชี่ยวชาญเต่าทะเล (MTSG) จากองค์การระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN) ได้ทำการประเมินซึ่งระบุว่าเต่าตนุทั่วโลกใกล้สูญพันธุ์ การลดลงของประชากรเต่าตนุในแอ่งมหาสมุทรแสดงผ่านข้อมูลที่รวบรวมโดยกลุ่มผู้เชี่ยวชาญเต่าทะเลซึ่งวิเคราะห์ความอุดมสมบูรณ์และข้อมูลทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับสายพันธุ์ ข้อมูลนี้ได้ตรวจสอบประชากรเต่าตนุทั่วโลกในพื้นที่ทำรัง 32 แห่ง และระบุว่าในช่วง 100–150 ปีที่ผ่านมามีจำนวนตัวเมียที่ทำรังที่โตเต็มที่ลดลง 48–65 เปอร์เซ็นต์ ส่วนประชากรลดลงใน ค.ศ. 1947 เมื่อชาวบ้านรวบรวมและขายรัง 33,000 รัง ซึ่งคิดเป็น 80 เปอร์เซ็นต์ของประชากรนี้ทั้งหมด โดยชาวบ้านในรันโชนัวโบ ประเทศเม็กซิโก ครั้นในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1960 เหลือเพียง 5,000 ตัว และระหว่าง ค.ศ. 1978 ถึง 1991 เต่าหญ้าแอตแลนติก 200 ตัวทำรังเป็นประจำทุกปี ทั้งนี้ ใน ค.ศ. 2015 องค์การกองทุนสัตว์ป่าโลกสากล และนิตยสารเนชั่นแนล จีโอกราฟิก ยกให้เต่าหญ้าแอตแลนติกเป็นมากที่สุดในโลก โดยมีตัวเมีย 1,000 ตัวทำรังทุกปี
ปลา
ใน ค.ศ. 2014 องค์การระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติได้เปลี่ยนสถานะจาก "มีความเสี่ยงต่ำต่อการสูญพันธุ์" เป็น "เกือบอยู่ในข่ายใกล้การสูญพันธุ์" ในระดับที่แสดงถึงระดับความเสี่ยงที่จะสูญพันธุ์ ซึ่งปลาทูน่าครีบน้ำเงินแปซิฟิกเป็นเป้าหมายของอุตสาหกรรมการประมงส่วนใหญ่เพื่อใช้ในซูชิ ส่วนการประเมินสภาวะทรัพยากรที่เผยแพร่ใน ค.ศ. 2013 โดยคณะกรรมการวิทยาศาสตร์ระหว่างประเทศว่าด้วยสายพันธุ์ปลาทูน่าและสายพันธุ์คล้ายปลาทูน่าในมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ (ISC) แสดงให้เห็นว่าประชากรปลาทูน่าครีบน้ำเงินแปซิฟิกลดลงถึง 96 เปอร์เซ็นต์ในมหาสมุทรแปซิฟิก และจากการประเมินของคณะกรรมการวิทยาศาสตร์ระหว่างประเทศว่าด้วยสายพันธุ์ปลาทูน่าและสายพันธุ์คล้ายปลาทูน่าในมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ ระบุว่าร้อยละ 90 ของปลาทูน่าครีบน้ำเงินแปซิฟิกที่จับได้นั้นเป็นรุ่นเยาว์ที่ยังไม่ขยายพันธุ์
เทคนิค
กลยุทธ์และเทคนิคการอนุรักษ์ทางทะเลมีแนวโน้มที่จะรวมสาขาวิชาทางทฤษฎี เช่น ชีววิทยาประชากร เข้ากับกลยุทธ์การอนุรักษ์เชิงปฏิบัติ เช่น การจัดตั้งพื้นที่คุ้มครอง เช่นเดียวกับ (เอ็มพีเอ) หรือ พื้นที่คุ้มครองเหล่านี้อาจได้รับการจัดตั้งขึ้นด้วยเหตุผลหลายประการ และมุ่งที่จะจำกัดผลกระทบจากกิจกรรมของมนุษย์ พื้นที่คุ้มครองเหล่านี้ปฏิบัติการแตกต่างกัน ซึ่งรวมถึงอาเรสที่มีการปิดตามฤดูกาล และ/หรือ การปิดถาวร เช่นเดียวกับการแบ่งเขตหลายระดับที่อนุญาตให้ราษฎรดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ในพื้นที่แยกต่างหาก ตลอดจนโซนส่งเสริม, ไม่มีการใช้ และที่ใช้งานได้หลากหลาย เทคนิคอื่น ๆ รวมถึงการพัฒนา และฟื้นฟูประชากรสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ด้วยวิธีการเทียม
จุดสนใจของนักอนุรักษ์อีกประการหนึ่งอยู่ในการกำจัดกิจกรรมของมนุษย์ที่เป็นอันตรายต่อทั้งระบบนิเวศทางทะเลหรือสปีชีส์ผ่านนโยบาย เทคนิคต่าง ๆ เช่น เช่นเดียวกับที่ตั้งขึ้นโดย หรือกฎหมายเช่นที่ระบุไว้ด้านล่าง การตระหนักถึงเศรษฐศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ระบบนิเวศทางทะเลของมนุษย์เป็นสิ่งสำคัญเช่นเดียวกับการให้ความรู้แก่สาธารณชนเกี่ยวกับปัญหาการอนุรักษ์ ซึ่งรวมถึงการให้ความรู้แก่นักท่องเที่ยวที่มาในพื้นที่ที่อาจไม่คุ้นเคยกับกฎระเบียบบางประการเกี่ยวกับแหล่งที่อยู่ทางทะเล ตัวอย่างหนึ่งของโครงการนี้คือโครงการที่เรียกว่าในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ใช้อุตสาหกรรมการดำน้ำสกูบาเพื่อให้ความรู้แก่ประชาชน โครงการนี้ดำเนินการโดยยูเนป ซึ่งสนับสนุนผู้ดำเนินงานการดำน้ำสกูบา เพื่อให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับความสำคัญของการอนุรักษ์ทางทะเล และส่งเสริมให้พวกเขาดำน้ำในลักษณะที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมที่ไม่ทำลายพืดหินปะการัง หรือระบบนิเวศทางทะเลที่เกี่ยวข้อง
นักวิทยาศาสตร์แบ่งกระบวนการออกเป็นสองสามส่วน และมีเทคนิคต่างๆ ในแต่ละส่วน ในการทำเครื่องหมายและการจับ, เทคนิคปกติรวมถึงเทคนิคการจับบังคับในสัตว์ตีนครีบ, การจับบังคับและการตรึงในสัตว์ตีนครีบทางเคมี, เทคนิคสำหรับการจับและการปล่อยของสัตว์จำพวกวาฬ ตลอดจนเทคนิคการจับบังคับและการควบคุม เมื่อไม่นานนี้ แนวทางใหม่บางวิธีรวมถึงเทคนิคการสำรวจระยะไกล เพื่อสร้างแบบจำลองการเปิดรับระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง สู่กระแสน้ำที่ท่วมท้น ตลอดจนประติมานวิทยาขั้นสูง
เทคโนโลยีและเทคโนโลยีครึ่งทาง
เทคโนโลยีการอนุรักษ์ทางทะเลถูกนำมาใช้เพื่อปกป้องสิ่งมีชีวิต และ/หรือแหล่งที่อยู่อาศัยที่ถูกคุกคาม เทคโนโลยีเหล่านี้เป็นนวัตกรรมและการปฏิวัติเพราะลดการดักจับ, เพิ่มการรอดชีวิตและสุขภาพของสิ่งมีชีวิตในทะเลรวมถึงที่อยู่อาศัย ตลอดจนให้ประโยชน์แก่ชาวประมงที่ต้องพึ่งพาทรัพยากรเพื่อผลกำไร ตัวอย่างของเทคโนโลยีประกอบด้วยพื้นที่คุ้มครองทางทะเล (MPAs), เครื่องมือแยกเต่าทะเล (TED), , และระบบระบุลักษณะของวัตถุด้วยคลื่นความถี่วิทยุ (RFID) การปฏิบัติจริงในเชิงพาณิชย์มีบทบาทสำคัญในความสำเร็จของการอนุรักษ์ทางทะเล เพราะมันเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อตอบสนองความต้องการของชาวประมงในขณะที่ยังปกป้องชีวิตทางทะเล
แท็กจดหมายเหตุดาวเทียมแบบป๊อปอัพ (PSAT หรือ PAT) มีบทบาทสำคัญในการอนุรักษ์ทางทะเล โดยให้นักชีววิทยาทางทะเลมีโอกาสศึกษาสัตว์ในสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ สิ่งเหล่านี้ถูกใช้เพื่อติดตามการเคลื่อนไหวของสัตว์ทะเล (ปกติสำหรับขนาดใหญ่ ซึ่งย้ายถิ่น) แท็กจดหมายเหตุดาวเทียมแบบป๊อปอัพเป็นแท็กจดหมายเหตุ (หรือ) ที่ติดตั้งด้วยวิธีการในการส่งข้อมูลที่รวบรวมผ่านดาวเทียม แม้ว่าข้อมูลจะได้รับการเก็บไว้ในแท็ก ข้อได้เปรียบที่สำคัญของมันคือมันไม่จำเป็นต้องดึงข้อมูลทางกายภาพเหมือนแท็กจดหมายเหตุสำหรับข้อมูลเพื่อให้พร้อมใช้งาน ทำให้มันเป็นเครื่องมืออิสระที่ทำงานได้สำหรับการศึกษาพฤติกรรมสัตว์ แท็กเหล่านี้ใช้เพื่อติดตามการเคลื่อนไหวของปลาแสงอาทิตย์,วงศ์ปลากระโทง, , , ปลากระโทงดาบ และเต่าทะเล ข้อมูลตำแหน่ง, ความลึก, อุณหภูมิ และการเคลื่อนไหวของร่างกายใช้เพื่อตอบคำถามเกี่ยวกับรูปแบบการย้ายถิ่น, การเคลื่อนที่ของอาหารการกินตามฤดูกาล, กิจวัตรประจำวัน รวมถึงความอยู่รอดหลังจากการจับและปล่อย
อุปกรณ์แยกเต่าทะเล (TEDs) กำจัดภัยคุกคามที่สำคัญต่อเต่าในสภาพแวดล้อมทางทะเล เต่าทะเลหลายตัวถูกจับโดยไม่ได้ตั้งใจ ซึ่งบาดเจ็บหรือเสียชีวิตจากการตกปลา ในการตอบสนองต่อภัยคุกคามนี้ องค์การบริหารสมุทรศาสตร์และบรรยากาศแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (NOAA) ได้ทำงานร่วมกับอุตสาหกรรมการวางอวนกุ้งเพื่อสร้างอุปกรณ์แยกเต่าทะเล โดยการทำงานกับอุตสาหกรรมพวกเขาประกันความมีชีวิตเชิงพาณิชย์โดยอุปกรณ์ อุปกรณ์แยกเต่าทะเลเป็นชุดของแถบที่วางไว้ที่ด้านบนหรือด้านล่างของตาข่ายอวนลาก โดยติดตั้งราวขวางไว้ใน "คอ" ของอวนลากกุ้ง และทำหน้าที่เป็นตัวกรองเพื่อให้แน่ใจว่ามีเพียงสัตว์ตัวเล็ก ๆ เท่านั้นที่สามารถผ่านได้ กุ้งจะถูกจับ แต่สัตว์ที่มีขนาดใหญ่กว่า เช่น เต่าทะเลที่ถูกดักจับโดยอวนลากจะถูกถ่ายออกโดยบทบาทการกรองของราว
ในทำนองเดียวกัน เทคโนโลยีครึ่งทางจะช่วยเพิ่มจำนวนประชากรสิ่งมีชีวิตในทะเล อย่างไรก็ตาม พวกเขาทำเช่นนั้นโดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และจัดการกับอาการ แต่ไม่ใช่สาเหตุของการลดลง ตัวอย่างของเทคโนโลยีครึ่งทาง ได้แก่ สถานที่ฟักไข่และบันไดปลา
กฎหมายและสนธิสัญญา
กฎหมายและสนธิสัญญาระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทางทะเล ได้แก่ ค.ศ. 1966 ส่วนกฎหมายของสหรัฐที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทางทะเล ได้แก่ ค.ศ. 1972 ตลอดจน ค.ศ. 1972 ซึ่งได้จัดตั้งโครงการ
ใน ค.ศ. 2010 รัฐสภาสกอตแลนด์ได้ออกกฎหมายใหม่เพื่อคุ้มครองสัตว์ทะเลด้วย บทบัญญัติดังกล่าวประกอบด้วยการวางแผนทางทะเล, การออกใบอนุญาตทางทะเล, การอนุรักษ์ทางทะเล, การอนุรักษ์ และการบังคับใช้
ตั้งแต่ ค.ศ. 2006 ทางสหประชาชาติได้แนะนำแนวคิดเกี่ยวกับระบบนิเวศทางทะเลที่เปราะบางสำหรับการจัดการการประมงน้ำลึกในพื้นที่นอกเหนือเขตอำนาจศาลของประเทศ แนวคิดนี้ได้รับการสลับเปลี่ยนโดยรัฐสภายุโรปสำหรับน่านน้ำยุโรปแอตแลนติก นอกจากนี้ การอนุรักษ์ทางทะเลยังรวมอยู่ในกรอบเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs) ของสหประชาชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
อ้างอิง
- Carleton., Ray, G. (2014). Marine conservation : science, policy, and management. McCormick-Ray, Jerry. Hoboken, NJ: Wiley-Blackwell. ISBN . OCLC 841199230.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-12-14. สืบค้นเมื่อ 2020-12-17.
- Capt. Paul Watson docking in the city ahead of documentary premiere amNewYorkMetro, April 2019.
- Derraik, José G.B (2002-09-01). "The pollution of the marine environment by plastic debris: a review". Marine Pollution Bulletin (ภาษาอังกฤษ). 44 (9): 842–852. doi:10.1016/S0025-326X(02)00220-5. ISSN 0025-326X.
- Lloret, Josep; Riera, Victòria (2008-12-01). "Evolution of a Mediterranean Coastal Zone: Human Impacts on the Marine Environment of Cape Creus". Environmental Management (ภาษาอังกฤษ). 42 (6): 977–988. doi:10.1007/s00267-008-9196-1. ISSN 0364-152X. PMID 18800202.
- . tamu.edu. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-05-10. สืบค้นเมื่อ 2019-07-31.
- Trist, Carolyn. "Recreating Ocean Space: Recreational Consumption and Representation of the Caribbean Marine." Professional Geographer. 51.3 (1999). Print.
- Ngoc, Ninh Thi; Huong, Pham Thi Mai; Thanh, Nguyen Van; Cuong, Nguyen Xuan; Nam, Nguyen Hoai; Thung, Do Cong; Kiem, Phan Van; Minh, Chau Van (1 September 2016). "Steroid Constituents from the Soft Coral Sinularia nanolobata". Chemical & Pharmaceutical Bulletin. 64 (9): 1417–1419. doi:10.1248/cpb.c16-00385. PMID 27321426.
- Yin, Chen-Ting; Wen, Zhi-Hong; Lan, Yu-Hsuan; Chang, Yu-Chia; Wu, Yang-Chang; Sung, Ping-Jyun (1 January 2015). "New Anti-inflammatory Norcembranoids from the Soft Coral Sinularia numerosa". Chemical & Pharmaceutical Bulletin. 63 (9): 752–756. doi:10.1248/cpb.c15-00414. PMID 26329871.
- Burke, Lauretta, Liz Selig, and Mark Spalding (2001). "Reefs At Risk in Southeast Asia." World Resources Institute, p. 72.
- Pandolfi, J. M.; Bradbury, R. H.; Sala, E; Hughes, T. P.; Bjorndal, K. A.; Cooke, R. G.; McArdle, D; McClenachan, L; Newman, M. J.; Paredes, G; Warner, R. R.; Jackson, J. B. (2003). "Global trajectories of the long-term decline of coral reef ecosystems". Science. 301 (5635): 955–8. doi:10.1126/science.1085706. PMID 12920296.
- "Coral reef destruction and conservation" 2014-03-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. tamu.edu (18 May 2011).
- Rodrigo, Raul (1998). Resource at Risk: Philippine Coral Reefs.
- "The State of World Fisheries and Aquaculture 2020". Food and Agriculture Organization of the United Nations. สืบค้นเมื่อ 13 October 2020.
- "Overfishing". World Wildlife Fund (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-04-15.
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อRay, G. Carleton 2004
- "IUCN, the International Union for Conservation of Nature." 19 กุมภาพันธ์ 2015 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน IUCN. 12 February 2015.
- Smith, David. "Ballast Water" MITSG CCR: Marine Bioinvasions (1 January 2006).
- Choksi, Sejal. "The Hostile Takeover of San Francisco Bay" 1 May 2009. 19 February 2015.
- Martin, Glen (5 February 2006). "The Great Invaders / A New Ecosystem Is Evolving in San Francisco Bay. We Have No Idea What It Is, or Where It's Going". SFGate.
- "Foreign Species Invade San Francisco Bay". NPR (11 May 2011).
- Foster, A.M., P. Fuller, A. Benson, S. Constant, D. Raikow, J. Larson, and A. Fusaro. (2014). Corbicula fluminea USGS Non-indigenous Aquatic Species Database, Gainesville, FL.
- "Ending Commercial Whaling." 19 กุมภาพันธ์ 2015 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ifaw.org (19 February 2015).
- Carleton, Ray G.; McCormick, Jerry (1 April 2009). Coastal-Marine Conservation: Science and Policy. John Wiley & Sons. ISBN .
- Noakes, Scott (19 February 2015). "Atlantic Gray Whale: Research: Science: Gray's Reef National Marine Sanctuary" 1 เมษายน 2018 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. graysreef.noaa.gov
- "Hawaiian Monk Seal (Neomonachus Schauinslandi)" 13 มกราคม 2016 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. NOAA Fisheries (15 January 2016).
- "Caribbean Monk Seal Gone Extinct From Human Causes, NOAA Confirms" 17 กรกฎาคม 2018 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. ScienceDaily (9 June 2008).
- Bodeo-Lomicky, Aidan (4 February 2015). The Vaquita: The Biology of an Endangered Porpoise. Createspace Independent Pub. ISBN .
- "Vaquita" 19 กุมภาพันธ์ 2015 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. World Wildlife Fund (12 February 2015).
- "Green Turtle (Chelonia mydas)" 15 มกราคม 2013 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน NOAA Fisheries. 19 February 2015.
- "Kemp's Ridley Turtle (Lepidochelys Kempii)." NOAA Fisheries (19 February 2015).
- "Sushi Edging Pacific Bluefin Tuna Toward Extinction" 28 กุมภาพันธ์ 2015 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน DNews 19 February 2015.
- Satran, Joe (19 February 2015). "Pacific Bluefin Tuna Overfishing Has Led To 96 Percent Population Reduction, Study Says" 19 กุมภาพันธ์ 2015 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน The Huffington Post
- "Marine Protected Areas".
- Boyd, I. L. Bowen, W. D. Iverson, Sara J. (12 August 2010). Marine mammal ecology and conservation : a handbook of techniques. ISBN . OCLC 861692953.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Álvarez-Romero, Jorge Gabriel; Devlin, Michelle; da Silva, Eduardo Teixeira; Petus, Caroline; Ban, Natalie; Pressey, Robert L.; Kool, Johnathan; Roberts, Jason Jeffrey; Cerdeira-Estrada, Sergio (2018-06-09). "A novel approach to model exposure of coastal-marine ecosystems to riverine flood plumes based on remote sensing techniques". doi:10.31230/osf.io/kh7aw. จากแหล่งเดิมเมื่อ 5 December 2020. สืบค้นเมื่อ 23 October 2020.
{{}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
((help)) - CORKERON, PETER J. (June 2004). "Whale Watching, Iconography, and Marine Conservation". Conservation Biology. 18 (3): 847–849. doi:10.1111/j.1523-1739.2004.00255.x. ISSN 0888-8892.
- Jenkins, Lekeliad (2010). "Profile and influence of the successful fisher-Inventor of marine conservation technology". Conservation and Society. 8: 44. doi:10.4103/0972-4923.62677.
- Thys, Tierney (30 November 2003). "Tracking Ocean Sunfish, Mola mola with Pop-Up Satellite Archival Tags in California Waters". OceanSunfish.org. สืบค้นเมื่อ 14 June 2007.
- Block, Barbara A.; Dewar, Heidi; Farwell, Charles; Prince, Eric D. (4 August 1998). "A new satellite technology for tracking the movements of Atlantic bluefin tuna". Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America. 95 (16): 9384–9389. doi:10.1073/pnas.95.16.9384. PMC 21347. PMID 9689089.
- Hoolihan, John P. (16 November 2004). "Horizontal and vertical movements of sailfish (Istiophorus platypterus) in the Arabian Gulf, determined by ultrasonic and pop-up satellite tagging". Marine Biology. 146 (5): 1015–1029. doi:10.1007/s00227-004-1488-2.
- Stokesbury, Michael J. W.; Harvey-Clark, Chris; Gallant, Jeffrey; Block, Barbara A.; Myers, Ransom A. (21 July 2005). "Movement and environmental preferences of Greenland sharks (Somniosus microcephalus) electronically tagged in the St. Lawrence Estuary, Canada". Marine Biology. 148 (1): 159–165. doi:10.1007/s00227-005-0061-y.
- "Turtle Excluder Devices". noaa.gov.
- Turtle Excluder Device ที่ยูทูบ
- Meffe, Gary K. (1992). (PDF). Conservation Biology. 6 (3): 350–354. doi:10.1046/j.1523-1739.1992.06030350.x. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 March 2016.
{{}}
: CS1 maint: bot: original URL status unknown () - "Background | Vulnerable Marine Ecosystems | Food and agriculture organisation of the united nations". www.fao.org (ภาษาอังกฤษ). จากแหล่งเดิมเมื่อ 19 November 2018. สืบค้นเมื่อ 2018-01-09.
- REGULATION (EU) 2016/2336 OF THE EUROPEAN PARLIAMENT AND OF THE COUNCIL of 14 December 2016 establishing specific conditions for fishing for deep-sea stocks in the north-east Atlantic and provisions for fishing in international waters of the north-east Atlantic and repealing Council Regulation (EC) No 2347/2002 5 มกราคม 2017 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
- "Goal 14 targets". UNDP (ภาษาอังกฤษ). จากแหล่งเดิมเมื่อ 30 September 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-09-24.
บรรณานุกรม
- McCauley, Douglas; และคณะ (16 January 2015). "Marine defaunation: Animal loss in the global ocean". Science (Submitted manuscript). 347 (6219): 1255641. doi:10.1126/science.1255641. PMID 25593191. Ocean Life Faces Mass Extinction, Broad Study Says – review of the Science article in the New York Times
- Koslow, Tony; Koslow, Julian Anthony (2009). The Silent Deep: The Discovery, Ecology, and Conservation of the Deep Sea. University of Chicago Press. ISBN .
- Lang, Michael A., Ian G. Macintyre, and Klaus Rützler, eds.Proceedings of the Smithsonian Marine Science Symposium. Smithsonian Contributions to the Marine Sciences, no. 38. Washington, D.C.: Smithsonian Institution Scholarly Press, 2009.
- Marine Conservation Institute bibliography of resources
- Soulé, Michael E. (9 May 2005). Marine Conservation Biology: The Science of Maintaining the Sea's Biodiversity. Island Press. ISBN .
- Ray, G. Carleton; McCormick-Ray, Jerry (1 April 2009). Coastal-Marine Conservation: Science and Policy. John Wiley Sons. ISBN .
- Primack, Richard B. (2014). Essentials of Conservation Biology. Sinauer Associates, Incorporated. ISBN .
แหล่งข้อมูลอื่น
- Advancing Marine Conservation in Cambodia
- Deep Sea Conservation Coalition
- IUCN Global Marine and Polar Programme
- Marine conservation ที่เว็บไซต์ Curlie
- Marine Conservation Organisation in the Philippines
- Marine Conservation Society UK
- Oceana
- Sea Shepherd Conservation Society
- Marine Conservation
- Zoox Marine Conservation 2018-09-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karxnurksthangthael hmaythungkarsuksakarxnurksthrphyakrthangthaelthangkayphaph aelathrphyakrthangthaelthangchiwphaphtlxdcnrabbniews odyepnkarpxngknaelarksarabbniewsinmhasmuthraelathaelphankarcdkartamaephnephuxpxngknkaraeswngpraoychncakthrphyakrehlani karxnurksthangthaelepnphlmacakphlkrathbthiekidkhuninsingaewdlxmkhxngera echn karsuyphnthu karthalaythinthanthrrmchati aelakarepliynaeplngkhxngrabbniews rwmthungmungennipthikarcakdkhwamesiyhaykhxngmnusytxrabbniewsthangthael thangthaelthiesiyhay aelarksa tlxdcnrabbniewskhxng karxnurksthangthaelepnraebiybwinythikhxnkhangihmsungidphthnakhunephuxtxbsnxngtxpraednthangchiwwithya echn karsuyphnthu aelathixyuxasyitthaelthiepliynipphudhinpakarngmikhwamhlakhlaythangchiwphaphepncanwnmak nkxnurksthangthaelphungphahlkkarthangwithyasastrthiidcakchiwwithyathangthael smuthrsastr aelawithyasastrkarpramng tlxdcnpccytang khxngmnusy echn khwamtxngkarthrphyakrthangthaelaelakdhmaythangthael esrsthsastraelanoybay ephuxkahndwithikarthidithisudinkarpkpxngaelaxnurkssayphnthurwmthungrabbniewsthangthael karxnurksthangthaelxacxthibayidwaepnsakhayxykhxng karxnurksthangthaelidrbkarklawthungin ephuxihaenicwamikarichthrphyakrthangthaelxyangyngyunephuxkarphthnathiyngyun thamhasmuthrtay erathukkhnktay phlkrathbkhxngmnusytxrabbniewsthangthaelkarephimcanwnprachakrmnusysngphlihekidphlkrathbtxrabbniewskhxngmnusyephimkhun kickrrmkhxngmnusysngphlihxtrakarsuyphnthukhxngsingmichiwitephimsungkhun sungthaihkhwamhlakhlaythangchiwphaphkhxngphuchaelastwldlngxyangmakinsingaewdlxmkhxngera phlkrathbehlanirwmthungaerngkddnthiephimkhuncakkarpramng tlxdcnkhwamesuxmothrmkhxngaenwpakarng aelakarpramngekinkhidcakd rwmthungaerngkddncakxutsahkrrmkarthxngethiywthiephimkhuninchwngimkipithiphanma karesuxmsphaphkhxngphudhinpakarngswnihyechuxmoyngkbkickrrmkhxngmnusy 88 epxresntkhxngaenwpakarngthukkhukkhamdwyehtuphltang thirabuiwkhangtn rwmthungkarplxykharbxnidxxkisd CO2 inprimanthimakekinip mhasmuthrdudklunkharbxnidxxkistpraman 1 in 3 khxngthiekidcakkarkrathakhxngmnusy sungmiphlkrathbthiepnxntraytxsphaphaewdlxmthangthael radbthiephimkhunkhxngkharbxnidxxkisdinmhasmuthrepliynekhmikhxngnathaelodykarldkhaphiexch sungepnthiruckkninthanakarklayepnkrdkhxngmhasmuthr swnthiehluxcakkarrwihlkhxngnamnexksxnwledshlngcakkarthaihkhunsphaphodyphnkngannamnrwihlinrthxaaelska ksngphlkrathbtxsingaewdlxmthangthaelechnkn sungmiswnthaihekidxnepnphlmacakkickrrmkhxngmnusy odyidrbkarsuksatamkarrwihlthisakhyinshrth karkhnsngthangeruxepntwnaorkhthisakhysahrbkarkarnasukhxngsayphnthustwthaeltangthin sungbangswnsamarthklayepnrabbniewsthimakekinipaelaepliynaeplng karchnknkbxacepnxntraythungchiwitsahrbwal aelasamarthsngphlkrathbtxkhwammichiwitkhxngklumphuchaelastwthixasyxyuinbriewnhnungthnghmd rwmthungprachakrnxkchayfngtawnxxkkhxngshrth phudhinpakarng phudhinpakarngepnsunyklangkhxngkhwamhlakhlaythangchiwphaph aelaepnnkaesdnghlkinkarxyurxdkhxngrabbniewsthnghmd phwkmnihxaharstwthaeltang pxngkn aelathiphkphingsungthaihsayphnthudarngxyuhlaychwxayu yingkwann phudhinpakarngyngepnswnsakhykhxngkardarngchiwitkhxngmnusyphankarichepnaehlngxahar echn pla aelahxy echnediywkbphunthithangthaelsahrbkarthxngethiywechingxnurksthiihpraoychnthangesrsthkic nxkcakni mnusykalngthakarwicyekiywkbkarichpakarngepnaehlngskyphaphihmsahrbya echn setxrxyd aelayaaekxkesb naesiyday enuxngcaktxphudhinpakarng rabbniewsehlanikalngesuxmothrmmakkhuneruxy aelatxngkarkarxnurks phykhukkhamthiihythisud idaek karpramngekinkhidcakd karthapramngaebbthalaylang kartktakxn aelamlphiscakaehlngthidin nxkcakni emuxrwmkbkharbxnthiephimkhuninmhasmuthr praktkarnpakarngfxkkhaw aelaechuxorkh nnhmaykhwamwaimmiaenwpakarngxnbrisuththiinolkni khnanimiaenwpakarngmakthung 88 epxresntinexechiytawnxxkechiyngitthithukkhukkham kb 50 epxresntkhxngaenwpakarngehlannthikhwamesiyng sung hrux sungmak thisuyhayip sungsngphlodytrngtxkhwamhlakhlaythangchiwphaphaelakarxyurxdkhxngsingmichiwitxasythitxngphungphapakarng singniepnxntrayxyangyingtxpraethsthiepnekaa echn praethssamw xinodniesiy aelafilippins ephraakhncanwnmakphungphaxasyrabbniewsphudhinpakarngephuxeliyngkhrxbkhrwaelathamahakin xyangirktam chawpramngcanwnmakimsamarthcbplaidmakethathiekhyepnma dngnnphwkekhacungichisyaindaelaidnaimtinkarcbplamakkhun sungcathalayrabbniewskhxngaenwpakarngkhyayxxkipxik lksnawisythiimdininaipsukarldlngkhxngphudhinpakarngaelathaihpyhaniyawnankhun withihnunginkarhyudwngcrni khuxkarihkhwamruaekchumchnthxngthinwaehtuidkarxnurksphunthithangthaelthimiaenwpakarngcungmikhwamsakhy karpramngekinkhidcakd karpramngekinkhidcakdepnhnunginsaehtuhlkthithaihklumphuchaelastwinmhasmuthrldlnginchwnghlaypithiphanma xngkhkarxaharaelakarekstraehngshprachachatiraynganwaxtrarxylakhxngsayphnthuplakhxngolkthixyuinradbyngyunthangchiwphaphidldlngcak 90 epxresntinpi kh s 1974 epn 65 8 epxresntinpi kh s 2017 karpramngekinkhidcakdkhxngkarpramngkhnadihyehlanithalaysphaphaewdlxmthangthaelaelakhukkhamkardarngchiwitkhxnghlayphnlankhn thixasyplainthanaoprtinhruxepnaehlngrayidsahrbkarcbaelakhay tamthixngkhkarkxngthunstwpaolkrabu karpramngthiphidkdhmay imidrbrayngan aelaimmikarkhwbkhum epnpccyhlkinkarpramngekinkhidcakd karpramngthiphidkdhmaykhadwacamisdswnmakthung 30 epxresntkhxngkarcbstwnabangchnidthimimulkhasung aelaxutsahkrrmnikhadwacamimulkha 36 000 landxllartxpi khwammakekinip khwammakekinipxacekidkhunidemuximsamarthkhwbkhumcanwnprachakrkhxngstwbangchnididtamthrrmchati hruxodykaraethrkaesngkhxngmnusy karkhrxbngakhxngspichishnungsamarthsrangkhwamimsmdulinrabbniews sungxacnaipsukartaykhxngspichisxunaelaaehlngthixyu thngni khwammakekinipekidkhunxyangednchdinhmu chnidphnthutangthin karkhaodyrahwangpraethsidnaipsukartngthinthanstwthaelhlaychnidthixyunxkkhxbekhtkhxngphwkmn singehlanibangswnxacmiphlesiy echn sungekhasurthaethsemeniy praethsxxsetriyeliy ewketxrsahrbkarekhluxnyaykhxngsingmichiwit idaek khxngtwerux karthing aelakarthingnacakphiphithphnthstwnathangthael odykhadwathngekbnaxbechaeruxcamispichisthiimichphunemuxngpraman 3 000 chnid emuxtngthinthanaelw epnkaryakthicakacdsingmichiwitthiaeplkihmxxkcakrabbniews xawsanfransisokepnhnunginsthanthiinolkthiidrbphlkrathbcaksayphnthutangthinaelarukranmakthisud tamthixngkhkarebykhipepxrrabu 97 epxresntkhxngsingmichiwitinxawsanfransisokidrbkhwamesiyhaycak 240 sayphnthuthirukransungthuknaekhasurabbniews sayphnthuthirukraninxaw echn idepliyniyxaharkhxngrabbniewsodykarldcanwnprachakrkhxngsayphnthuphunemuxng echn aephlngktxn hxykabexechiyxudtnthxaelakhdkhwangkarihlkhxngnainorngnganphlitiffa karprakttwkhxngphwkmninxawsanfransisokthaihshrthesiyhaypramanhnungphnlandxllarchnidsuyphnthuaelaiklsuyphnthuhmikhwolkbnnaaekhngthaelkhxngmhasmuthrxarktik iklkhwolkehnuxstweliynglukdwynanmthangthael aemwnamngkkhnanxnphnukbnhadthraythimimhasmuthrxyuebuxnghlng walbalinthuklaxyangednchdtngaet kh s 1600 cnthungklangkhristthswrrs 1900 aelaiklcasuyphnthuemuxkarhamlawalechingphanichythwolkmiphlbngkhbichin kh s 1986 ody xnusyyakarlawalrahwangpraeths swnwalsiethaaextaelntikthiehnkhrngsudthayin kh s 1740 idsuyphnthuipaelw enuxngcakkarlawalkhxngchawyuorpaelachnphunemuxngxemrikn aelatngaetkhristthswrrs 1960 canwnprachakrthwolkldlngxyangrwderw aemwnamngkhawayaelaemdietxrereniynthuxepnhnunginstweliynglukdwynmthangthaelthiiklsuyphnthumakthisudinolk tamrayngankhxnghnwynganonxa rwmthngkarphbehnaemwnamngkaekhribebiynkhrngsudthayekidkhunin kh s 1952 aelakhnaniidrbkaryunynwasuyphnthuodyhnwynganonxa nxkcakni olma sungkhnphbin kh s 1958 idklayepnstwthaelthiiklsuyphnthumakthisud prachakrdngklawkwakhrunghayiptngaet kh s 2012 sungehlux 100 twin kh s 2014 wakitamkcmnatayinxwncbpla sungthukichxyangphidkdhmayinnxkxawemksiok etathael in kh s 2004 klumphuechiywchayetathael MTSG cakxngkhkarrahwangpraethsephuxkarxnurksthrrmchati IUCN idthakarpraeminsungrabuwaetatnuthwolkiklsuyphnthu karldlngkhxngprachakretatnuinaexngmhasmuthraesdngphankhxmulthirwbrwmodyklumphuechiywchayetathaelsungwiekhraahkhwamxudmsmburnaelakhxmulthangprawtisastrekiywkbsayphnthu khxmulniidtrwcsxbprachakretatnuthwolkinphunthitharng 32 aehng aelarabuwainchwng 100 150 pithiphanmamicanwntwemiythitharngthiotetmthildlng 48 65 epxresnt swnprachakrldlngin kh s 1947 emuxchawbanrwbrwmaelakhayrng 33 000 rng sungkhidepn 80 epxresntkhxngprachakrnithnghmd odychawbaninrnochnwob praethsemksiok khrninchwngtnkhristthswrrs 1960 ehluxephiyng 5 000 tw aelarahwang kh s 1978 thung 1991 etahyaaextaelntik 200 twtharngepnpracathukpi thngni in kh s 2015 xngkhkarkxngthunstwpaolksakl aelanitysarenchnaenl cioxkrafik ykihetahyaaextaelntikepnmakthisudinolk odymitwemiy 1 000 twtharngthukpi pla in kh s 2014 xngkhkarrahwangpraethsephuxkarxnurksthrrmchatiidepliynsthanacak mikhwamesiyngtatxkarsuyphnthu epn ekuxbxyuinkhayiklkarsuyphnthu inradbthiaesdngthungradbkhwamesiyngthicasuyphnthu sungplathunakhribnaenginaepsifikepnepahmaykhxngxutsahkrrmkarpramngswnihyephuxichinsuchi swnkarpraeminsphawathrphyakrthiephyaephrin kh s 2013 odykhnakrrmkarwithyasastrrahwangpraethswadwysayphnthuplathunaaelasayphnthukhlayplathunainmhasmuthraepsifikehnux ISC aesdngihehnwaprachakrplathunakhribnaenginaepsifikldlngthung 96 epxresntinmhasmuthraepsifik aelacakkarpraeminkhxngkhnakrrmkarwithyasastrrahwangpraethswadwysayphnthuplathunaaelasayphnthukhlayplathunainmhasmuthraepsifikehnux rabuwarxyla 90 khxngplathunakhribnaenginaepsifikthicbidnnepnruneyawthiyngimkhyayphnthuethkhnikhklyuththaelaethkhnikhkarxnurksthangthaelmiaenwonmthicarwmsakhawichathangthvsdi echn chiwwithyaprachakr ekhakbklyuththkarxnurksechingptibti echn karcdtngphunthikhumkhrxng echnediywkb exmphiex hrux phunthikhumkhrxngehlanixacidrbkarcdtngkhundwyehtuphlhlayprakar aelamungthicacakdphlkrathbcakkickrrmkhxngmnusy phunthikhumkhrxngehlaniptibtikaraetktangkn sungrwmthungxaersthimikarpidtamvdukal aela hrux karpidthawr echnediywkbkaraebngekhthlayradbthixnuyatihrasdrdaeninkickrrmtang inphunthiaeyktanghak tlxdcnosnsngesrim immikarich aelathiichnganidhlakhlay ethkhnikhxun rwmthungkarphthna aelafunfuprachakrstwiklsuyphnthudwywithikarethiym cudsnickhxngnkxnurksxikprakarhnungxyuinkarkacdkickrrmkhxngmnusythiepnxntraytxthngrabbniewsthangthaelhruxspichisphannoybay ethkhnikhtang echn echnediywkbthitngkhunody hruxkdhmayechnthirabuiwdanlang kartrahnkthungesrsthsastrthiekiywkhxngkbkarichrabbniewsthangthaelkhxngmnusyepnsingsakhyechnediywkbkarihkhwamruaeksatharnchnekiywkbpyhakarxnurks sungrwmthungkarihkhwamruaeknkthxngethiywthimainphunthithixacimkhunekhykbkdraebiybbangprakarekiywkbaehlngthixyuthangthael twxyanghnungkhxngokhrngkarnikhuxokhrngkarthieriykwainexechiytawnxxkechiyngitthiichxutsahkrrmkardanaskubaephuxihkhwamruaekprachachn okhrngkarnidaeninkarodyyuenp sungsnbsnunphudaeninngankardanaskuba ephuxihkhwamruaeknkeriynekiywkbkhwamsakhykhxngkarxnurksthangthael aelasngesrimihphwkekhadanainlksnathiepnmitrkbsingaewdlxmthiimthalayphudhinpakarng hruxrabbniewsthangthaelthiekiywkhxng nkwithyasastraebngkrabwnkarxxkepnsxngsamswn aelamiethkhnikhtang inaetlaswn inkarthaekhruxnghmayaelakarcb ethkhnikhpktirwmthungethkhnikhkarcbbngkhbinstwtinkhrib karcbbngkhbaelakartrunginstwtinkhribthangekhmi ethkhnikhsahrbkarcbaelakarplxykhxngstwcaphwkwal tlxdcnethkhnikhkarcbbngkhbaelakarkhwbkhum emuximnanni aenwthangihmbangwithirwmthungethkhnikhkarsarwcrayaikl ephuxsrangaebbcalxngkarepidrbrabbniewsthangthaelaelachayfng sukraaesnathithwmthn tlxdcnpratimanwithyakhnsungethkhonolyiaelaethkhonolyikhrungthangethkhonolyikarxnurksthangthaelthuknamaichephuxpkpxngsingmichiwit aela hruxaehlngthixyuxasythithukkhukkham ethkhonolyiehlaniepnnwtkrrmaelakarptiwtiephraaldkardkcb ephimkarrxdchiwitaelasukhphaphkhxngsingmichiwitinthaelrwmthungthixyuxasy tlxdcnihpraoychnaekchawpramngthitxngphungphathrphyakrephuxphlkair twxyangkhxngethkhonolyiprakxbdwyphunthikhumkhrxngthangthael MPAs ekhruxngmuxaeyketathael TED aelarabbrabulksnakhxngwtthudwykhlunkhwamthiwithyu RFID karptibticringinechingphanichymibthbathsakhyinkhwamsaerckhxngkarxnurksthangthael ephraamnepnsingcaepnephuxtxbsnxngkhwamtxngkarkhxngchawpramnginkhnathiyngpkpxngchiwitthangthael aethkcdhmayehtudawethiymaebbpxpxph PSAT hrux PAT mibthbathsakhyinkarxnurksthangthael odyihnkchiwwithyathangthaelmioxkassuksastwinsphaphaewdlxmtamthrrmchati singehlanithukichephuxtidtamkarekhluxnihwkhxngstwthael pktisahrbkhnadihy sungyaythin aethkcdhmayehtudawethiymaebbpxpxphepnaethkcdhmayehtu hrux thitidtngdwywithikarinkarsngkhxmulthirwbrwmphandawethiym aemwakhxmulcaidrbkarekbiwinaethk khxidepriybthisakhykhxngmnkhuxmnimcaepntxngdungkhxmulthangkayphaphehmuxnaethkcdhmayehtusahrbkhxmulephuxihphrxmichngan thaihmnepnekhruxngmuxxisrathithanganidsahrbkarsuksaphvtikrrmstw aethkehlaniichephuxtidtamkarekhluxnihwkhxngplaaesngxathity wngsplakraothng plakraothngdab aelaetathael khxmultaaehnng khwamluk xunhphumi aelakarekhluxnihwkhxngrangkayichephuxtxbkhathamekiywkbrupaebbkaryaythin karekhluxnthikhxngxaharkarkintamvdukal kicwtrpracawn rwmthungkhwamxyurxdhlngcakkarcbaelaplxy xupkrnaeyketathael TEDs kacdphykhukkhamthisakhytxetainsphaphaewdlxmthangthael etathaelhlaytwthukcbodyimidtngic sungbadecbhruxesiychiwitcakkartkpla inkartxbsnxngtxphykhukkhamni xngkhkarbriharsmuthrsastraelabrryakasaehngchatishrthxemrika NOAA idthanganrwmkbxutsahkrrmkarwangxwnkungephuxsrangxupkrnaeyketathael odykarthangankbxutsahkrrmphwkekhapraknkhwammichiwitechingphanichyodyxupkrn xupkrnaeyketathaelepnchudkhxngaethbthiwangiwthidanbnhruxdanlangkhxngtakhayxwnlak odytidtngrawkhwangiwin khx khxngxwnlakkung aelathahnathiepntwkrxngephuxihaenicwamiephiyngstwtwelk ethannthisamarthphanid kungcathukcb aetstwthimikhnadihykwa echn etathaelthithukdkcbodyxwnlakcathukthayxxkodybthbathkarkrxngkhxngraw inthanxngediywkn ethkhonolyikhrungthangcachwyephimcanwnprachakrsingmichiwitinthael xyangirktam phwkekhathaechnnnodyimmikarepliynaeplngphvtikrrm aelacdkarkbxakar aetimichsaehtukhxngkarldlng twxyangkhxngethkhonolyikhrungthang idaek sthanthifkikhaelabnidplakdhmayaelasnthisyyakdhmayaelasnthisyyarahwangpraethsthiekiywkhxngkbkarxnurksthangthael idaek kh s 1966 swnkdhmaykhxngshrththiekiywkhxngkbkarxnurksthangthael idaek kh s 1972 tlxdcn kh s 1972 sungidcdtngokhrngkar in kh s 2010 rthsphaskxtaelndidxxkkdhmayihmephuxkhumkhrxngstwthaeldwy bthbyytidngklawprakxbdwykarwangaephnthangthael karxxkibxnuyatthangthael karxnurksthangthael karxnurks aelakarbngkhbich tngaet kh s 2006 thangshprachachatiidaenanaaenwkhidekiywkbrabbniewsthangthaelthiepraabangsahrbkarcdkarkarpramngnalukinphunthinxkehnuxekhtxanacsalkhxngpraeths aenwkhidniidrbkarslbepliynodyrthsphayuorpsahrbnannayuorpaextaelntik nxkcakni karxnurksthangthaelyngrwmxyuinkrxbepahmaykarphthnaxyangyngyun SDGs khxngshprachachati odyechphaaxyangyingxangxingCarleton Ray G 2014 Marine conservation science policy and management McCormick Ray Jerry Hoboken NJ Wiley Blackwell ISBN 9781118714430 OCLC 841199230 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2020 12 14 subkhnemux 2020 12 17 Capt Paul Watson docking in the city ahead of documentary premiere amNewYorkMetro April 2019 Derraik Jose G B 2002 09 01 The pollution of the marine environment by plastic debris a review Marine Pollution Bulletin phasaxngkvs 44 9 842 852 doi 10 1016 S0025 326X 02 00220 5 ISSN 0025 326X Lloret Josep Riera Victoria 2008 12 01 Evolution of a Mediterranean Coastal Zone Human Impacts on the Marine Environment of Cape Creus Environmental Management phasaxngkvs 42 6 977 988 doi 10 1007 s00267 008 9196 1 ISSN 0364 152X PMID 18800202 tamu edu khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2016 05 10 subkhnemux 2019 07 31 Trist Carolyn Recreating Ocean Space Recreational Consumption and Representation of the Caribbean Marine Professional Geographer 51 3 1999 Print Ngoc Ninh Thi Huong Pham Thi Mai Thanh Nguyen Van Cuong Nguyen Xuan Nam Nguyen Hoai Thung Do Cong Kiem Phan Van Minh Chau Van 1 September 2016 Steroid Constituents from the Soft Coral Sinularia nanolobata Chemical amp Pharmaceutical Bulletin 64 9 1417 1419 doi 10 1248 cpb c16 00385 PMID 27321426 Yin Chen Ting Wen Zhi Hong Lan Yu Hsuan Chang Yu Chia Wu Yang Chang Sung Ping Jyun 1 January 2015 New Anti inflammatory Norcembranoids from the Soft Coral Sinularia numerosa Chemical amp Pharmaceutical Bulletin 63 9 752 756 doi 10 1248 cpb c15 00414 PMID 26329871 Burke Lauretta Liz Selig and Mark Spalding 2001 Reefs At Risk in Southeast Asia World Resources Institute p 72 Pandolfi J M Bradbury R H Sala E Hughes T P Bjorndal K A Cooke R G McArdle D McClenachan L Newman M J Paredes G Warner R R Jackson J B 2003 Global trajectories of the long term decline of coral reef ecosystems Science 301 5635 955 8 doi 10 1126 science 1085706 PMID 12920296 Coral reef destruction and conservation 2014 03 28 thi ewyaebkaemchchin tamu edu 18 May 2011 Rodrigo Raul 1998 Resource at Risk Philippine Coral Reefs The State of World Fisheries and Aquaculture 2020 Food and Agriculture Organization of the United Nations subkhnemux 13 October 2020 Overfishing World Wildlife Fund phasaxngkvs subkhnemux 2020 04 15 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux Ray G Carleton 2004 IUCN the International Union for Conservation of Nature 19 kumphaphnth 2015 thi ewyaebkaemchchin IUCN 12 February 2015 Smith David Ballast Water MITSG CCR Marine Bioinvasions 1 January 2006 Choksi Sejal The Hostile Takeover of San Francisco Bay 1 May 2009 19 February 2015 Martin Glen 5 February 2006 The Great Invaders A New Ecosystem Is Evolving in San Francisco Bay We Have No Idea What It Is or Where It s Going SFGate Foreign Species Invade San Francisco Bay NPR 11 May 2011 Foster A M P Fuller A Benson S Constant D Raikow J Larson and A Fusaro 2014 Corbicula fluminea USGS Non indigenous Aquatic Species Database Gainesville FL Ending Commercial Whaling 19 kumphaphnth 2015 thi ewyaebkaemchchin ifaw org 19 February 2015 Carleton Ray G McCormick Jerry 1 April 2009 Coastal Marine Conservation Science and Policy John Wiley amp Sons ISBN 978 1 4443 1124 2 Noakes Scott 19 February 2015 Atlantic Gray Whale Research Science Gray s Reef National Marine Sanctuary 1 emsayn 2018 thi ewyaebkaemchchin graysreef noaa gov Hawaiian Monk Seal Neomonachus Schauinslandi 13 mkrakhm 2016 thi ewyaebkaemchchin NOAA Fisheries 15 January 2016 Caribbean Monk Seal Gone Extinct From Human Causes NOAA Confirms 17 krkdakhm 2018 thi ewyaebkaemchchin ScienceDaily 9 June 2008 Bodeo Lomicky Aidan 4 February 2015 The Vaquita The Biology of an Endangered Porpoise Createspace Independent Pub ISBN 978 1 5077 5577 8 Vaquita 19 kumphaphnth 2015 thi ewyaebkaemchchin World Wildlife Fund 12 February 2015 Green Turtle Chelonia mydas 15 mkrakhm 2013 thi ewyaebkaemchchin NOAA Fisheries 19 February 2015 Kemp s Ridley Turtle Lepidochelys Kempii NOAA Fisheries 19 February 2015 Sushi Edging Pacific Bluefin Tuna Toward Extinction 28 kumphaphnth 2015 thi ewyaebkaemchchin DNews 19 February 2015 Satran Joe 19 February 2015 Pacific Bluefin Tuna Overfishing Has Led To 96 Percent Population Reduction Study Says 19 kumphaphnth 2015 thi ewyaebkaemchchin The Huffington Post Marine Protected Areas Boyd I L Bowen W D Iverson Sara J 12 August 2010 Marine mammal ecology and conservation a handbook of techniques ISBN 978 0 19 155079 9 OCLC 861692953 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint multiple names authors list lingk Alvarez Romero Jorge Gabriel Devlin Michelle da Silva Eduardo Teixeira Petus Caroline Ban Natalie Pressey Robert L Kool Johnathan Roberts Jason Jeffrey Cerdeira Estrada Sergio 2018 06 09 A novel approach to model exposure of coastal marine ecosystems to riverine flood plumes based on remote sensing techniques doi 10 31230 osf io kh7aw cakaehlngedimemux 5 December 2020 subkhnemux 23 October 2020 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a Cite journal txngkar journal help CORKERON PETER J June 2004 Whale Watching Iconography and Marine Conservation Conservation Biology 18 3 847 849 doi 10 1111 j 1523 1739 2004 00255 x ISSN 0888 8892 Jenkins Lekeliad 2010 Profile and influence of the successful fisher Inventor of marine conservation technology Conservation and Society 8 44 doi 10 4103 0972 4923 62677 Thys Tierney 30 November 2003 Tracking Ocean Sunfish Mola mola with Pop Up Satellite Archival Tags in California Waters OceanSunfish org subkhnemux 14 June 2007 Block Barbara A Dewar Heidi Farwell Charles Prince Eric D 4 August 1998 A new satellite technology for tracking the movements of Atlantic bluefin tuna Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America 95 16 9384 9389 doi 10 1073 pnas 95 16 9384 PMC 21347 PMID 9689089 Hoolihan John P 16 November 2004 Horizontal and vertical movements of sailfish Istiophorus platypterus in the Arabian Gulf determined by ultrasonic and pop up satellite tagging Marine Biology 146 5 1015 1029 doi 10 1007 s00227 004 1488 2 Stokesbury Michael J W Harvey Clark Chris Gallant Jeffrey Block Barbara A Myers Ransom A 21 July 2005 Movement and environmental preferences of Greenland sharks Somniosus microcephalus electronically tagged in the St Lawrence Estuary Canada Marine Biology 148 1 159 165 doi 10 1007 s00227 005 0061 y Turtle Excluder Devices noaa gov Turtle Excluder Device thiyuthub Meffe Gary K 1992 PDF Conservation Biology 6 3 350 354 doi 10 1046 j 1523 1739 1992 06030350 x khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 3 March 2016 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint bot original URL status unknown lingk Background Vulnerable Marine Ecosystems Food and agriculture organisation of the united nations www fao org phasaxngkvs cakaehlngedimemux 19 November 2018 subkhnemux 2018 01 09 REGULATION EU 2016 2336 OF THE EUROPEAN PARLIAMENT AND OF THE COUNCIL of 14 December 2016 establishing specific conditions for fishing for deep sea stocks in the north east Atlantic and provisions for fishing in international waters of the north east Atlantic and repealing Council Regulation EC No 2347 2002 5 mkrakhm 2017 thi ewyaebkaemchchin Goal 14 targets UNDP phasaxngkvs cakaehlngedimemux 30 September 2020 subkhnemux 2020 09 24 brrnanukrm McCauley Douglas aelakhna 16 January 2015 Marine defaunation Animal loss in the global ocean Science Submitted manuscript 347 6219 1255641 doi 10 1126 science 1255641 PMID 25593191 Ocean Life Faces Mass Extinction Broad Study Says review of the Science article in the New York Times Koslow Tony Koslow Julian Anthony 2009 The Silent Deep The Discovery Ecology and Conservation of the Deep Sea University of Chicago Press ISBN 978 0 226 45126 8 Lang Michael A Ian G Macintyre and Klaus Rutzler eds Proceedings of the Smithsonian Marine Science Symposium Smithsonian Contributions to the Marine Sciences no 38 Washington D C Smithsonian Institution Scholarly Press 2009 Marine Conservation Institute bibliography of resources Soule Michael E 9 May 2005 Marine Conservation Biology The Science of Maintaining the Sea s Biodiversity Island Press ISBN 978 1 59726 771 7 Ray G Carleton McCormick Ray Jerry 1 April 2009 Coastal Marine Conservation Science and Policy John Wiley Sons ISBN 978 1 4443 1124 2 Primack Richard B 2014 Essentials of Conservation Biology Sinauer Associates Incorporated ISBN 978 1 60535 289 3 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb karxnurksthangthael Advancing Marine Conservation in Cambodia Deep Sea Conservation Coalition IUCN Global Marine and Polar Programme Marine conservation thiewbist Curlie Marine Conservation Organisation in the Philippines Marine Conservation Society UK Oceana Sea Shepherd Conservation Society Marine Conservation Zoox Marine Conservation 2018 09 02 thi ewyaebkaemchchin