การทำลายถิ่นฐานธรรมชาติ (อังกฤษ: Habitat destruction) หมายถึงกระบวนการที่ถิ่นฐานธรรมชาติถูกทำให้กลายเป็นถิ่นฐานที่ไม่อาจจะสนับสนุนหรือไม่อาจจะใช้ในการการดำรงชีวิตของสปีชีส์ที่เคยดำรงชีวิต ณ ถิ่นฐานนั้นแต่เดิมได้ กระบวนการดังว่านี้เป็นการกำจัดโดยการทำให้ต้องเคลื่อนย้ายหรือทำลายสิ่งที่มีชีวิตจากถิ่นฐานที่เดิมเคยดำรงชีวิตอยู่ ซึ่งเป็นการลดความหลาหลายของชีวภาพ (biodiversity) การทำลายถิ่นฐานธรรมชาติโดยมนุษย์ส่วนใหญ่เป็นการทำเพื่อการขยายตัวทางเกษตรกรรม, การขยายตัวทางอุตสาหกรรม และ การขยายตัวของเมือง กิจการอื่นที่ทำลายถิ่นฐานธรรมชาติก็ได้แก่การทำเหมือง และ การถางป่า
การทำลายถิ่นฐานธรรมชาติเป็นสาเหตุลำดับหนึ่งในการสร้างการสูญพันธุ์ให้แก่สปีชีส์ต่างๆ ทั่วโลก ที่เป็นปัจจัยสำคัญต่อความเปลี่ยนแปลงที่มีต่อการวิวัฒนาการ และการอนุรักษ์ชีวภาพ สาเหตุอื่นๆ ที่มีผลต่อการทำลายสปีชีส์ก็ได้แก่ (habitat fragmentation), ความเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา, ความเปลี่ยนแปลงทางสภาวะอากาศ, , ความเปลี่ยนแปลงของอาหารในสิ่งแวดล้อม
คำอื่นที่มีความหมายใกล้เคียงกันที่ใช้ก็ได้แก่ “การสูญเสียถิ่นฐานธรรมชาติ” (loss of habitat) หรือ “การลดบริเวณถิ่นฐานธรรมชาติ” (habitat reduction) ที่มีความหมายที่กว้างออกไปที่รวมทั้งการสูญเสียถิ่นฐานที่เกิดจากปัจจัยอื่นๆ เช่นจาก และ noise pollution
อ้างอิง
- Pimm & Raven, 2000, pp. 843-845
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karthalaythinthanthrrmchati xngkvs Habitat destruction hmaythungkrabwnkarthithinthanthrrmchatithukthaihklayepnthinthanthiimxaccasnbsnunhruximxaccaichinkarkardarngchiwitkhxngspichisthiekhydarngchiwit n thinthannnaetedimid krabwnkardngwaniepnkarkacdodykarthaihtxngekhluxnyayhruxthalaysingthimichiwitcakthinthanthiedimekhydarngchiwitxyu sungepnkarldkhwamhlahlaykhxngchiwphaph biodiversity karthalaythinthanthrrmchatiodymnusyswnihyepnkarthaephuxkarkhyaytwthangekstrkrrm karkhyaytwthangxutsahkrrm aela karkhyaytwkhxngemuxng kickarxunthithalaythinthanthrrmchatikidaekkarthaehmuxng aela karthangpakarephapaephuxichenuxthiinkarekstrinemksiok karthalaythinthanthrrmchatiepnsaehtuladbhnunginkarsrangkarsuyphnthuihaekspichistang thwolk thiepnpccysakhytxkhwamepliynaeplngthimitxkarwiwthnakar aelakarxnurkschiwphaph saehtuxun thimiphltxkarthalayspichiskidaek habitat fragmentation khwamepliynaeplngthangthrniwithya khwamepliynaeplngthangsphawaxakas khwamepliynaeplngkhxngxaharinsingaewdlxm khaxunthimikhwamhmayiklekhiyngknthiichkidaek karsuyesiythinthanthrrmchati loss of habitat hrux karldbriewnthinthanthrrmchati habitat reduction thimikhwamhmaythikwangxxkipthirwmthngkarsuyesiythinthanthiekidcakpccyxun echncak aela noise pollutionxangxingPimm amp Raven 2000 pp 843 845 bthkhwamniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmul hmayehtu khxaenanaihcdhmwdhmuokhrngihekhakbenuxhakhxngbthkhwam duephimthi wikiphiediy okhrngkarcdhmwdhmuokhrngthiyngimsmburn dkhk