การสั่นพ้องของวงโคจร (อังกฤษ: orbital resonance) เป็นลักษณะทางกลศาสตร์ของเทหวัตถุบนท้องฟ้าที่เกิดขึ้นเมื่อวัตถุที่มีวงโคจรสองชิ้นส่งอิทธิพลด้านแรงโน้มถ่วงต่อกันเป็นช่วงเวลา ซึ่งมักเกิดขึ้นเมื่อวงโคจรของวัตถุทั้งสองมีความสัมพันธ์กันเป็นสัดส่วนจำนวนเต็ม การสั่นพ้องของวงโคจรจะเพิ่มพูนแรงโน้มถ่วงระหว่างกันของวัตถุเหล่านั้น โดยทั่วไปแล้วปรากฏการณ์นี้จะทำให้เกิดปฏิกิริยาที่ไม่เสถียร ทำให้วัตถุมีการแลกเปลี่ยนโมเมนตัมและเปลี่ยนวงโคจรไปจนกระทั่งการสั่นพ้องไม่เกิดขึ้นอีก ในบางสภาวการณ์ ระบบที่มีการสั่นพ้องอาจจะเสถียรและปรับแก้ตัวเองก็ได้ ทำให้วัตถุยังคงอยู่ในภาวะการสั่นพ้องต่อไป ตัวอย่างเช่นการสั่นพ้องวงโคจร 1:2:4 ของดวงจันทร์ของดาวพฤหัสบดี คือแกนีมีด ยูโรปา และไอโอ หรือการสั่นพ้อง 2:3 ระหว่างดาวพลูโตและดาวเนปจูน การสั่นพ้องที่ไม่เสถียรของดวงจันทร์รอบในของดาวเสาร์ทำให้ช่องว่างในวงแหวนของดาวเสาร์ใหญ่ขึ้น
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karsnphxngkhxngwngokhcr xngkvs orbital resonance epnlksnathangklsastrkhxngethhwtthubnthxngfathiekidkhunemuxwtthuthimiwngokhcrsxngchinsngxiththiphldanaerngonmthwngtxknepnchwngewla sungmkekidkhunemuxwngokhcrkhxngwtthuthngsxngmikhwamsmphnthknepnsdswncanwnetm karsnphxngkhxngwngokhcrcaephimphunaerngonmthwngrahwangknkhxngwtthuehlann odythwipaelwpraktkarnnicathaihekidptikiriyathiimesthiyr thaihwtthumikaraelkepliynomemntmaelaepliynwngokhcripcnkrathngkarsnphxngimekidkhunxik inbangsphawkarn rabbthimikarsnphxngxaccaesthiyraelaprbaektwexngkid thaihwtthuyngkhngxyuinphawakarsnphxngtxip twxyangechnkarsnphxngwngokhcr 1 2 4 khxngdwngcnthrkhxngdawphvhsbdi khuxaeknimid yuorpa aelaixox hruxkarsnphxng 2 3 rahwangdawphluotaeladawenpcun karsnphxngthiimesthiyrkhxngdwngcnthrrxbinkhxngdawesarthaihchxngwanginwngaehwnkhxngdawesarihykhunkarsnphxnglaplsthiekidkbdwngcnthrkalieliynsamdwng sdswntwelkhepnkhabkarokhcrbthkhwamfisiksniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk