การบำบัดด้วยการรู้อาศัยสติ หรือ การบำบัดความคิดอาศัยสติ (อังกฤษ: Mindfulness-based cognitive therapy ตัวย่อ MBCT) เป็นการบำบัดทางจิตวิทยาออกแบบเพื่อไม่ให้เกิดความซึมเศร้าอีก โดยเฉพาะในบุคคลที่เป็นโรคซึมเศร้า (MDD) เป็นการบำบัดที่มุ่งโรค MDD โดยเฉพาะ ซึ่งทำให้แตกต่างจากการบำบัดที่อาศัยสติอื่น ๆ เช่น การลดความเครียดอาศัยสติ (mindfulness-based stress reduction) ซึ่งใช้ได้กับความผิดปกติหลายอย่าง และการป้องกันการกลับติดอีกอาศัยสติ (mindfulness-based relapse prevention) ซึ่งใช้ในการติด
MBCT ใช้เทคนิคของการบำบัดโดยการปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม (CBT) และเพิ่มกลยุทธ์ทางจิตวิทยาใหม่ ๆ เช่น สติ และการเจริญสติ (mindfulness meditation) และอาจจะรวมการให้การศึกษาแก่คนไข้เรื่องความซึมเศร้า การเจริญสติมุ่งที่จะสำนึกถึงความคิดและความรู้สึกทั้งหมดแล้วยอมรับ โดยไม่เข้าไปยึดติดหรือมีปฏิกิริยาต่อพวกมัน ซึ่งเป็นกระบวนการ (ที่ภาษาอังกฤษเรียกว่า Decentering จะแปลว่า ไม่ยึดว่าเป็นตน) ที่ช่วยหยุดการติตนเอง การครุ่นคิด และอารมณ์ไม่ดี ที่ล้วนอาจเกิดขึ้นเป็นปฏิกิริยาต่อรูปแบบความคิดที่ไม่ดี โดยเหมือนกับ CBT การบำบัดนี้อาศัยทฤษฎีว่า เมื่อบุคคลที่มีประวัติซึมเศร้าเกิดความทุกข์ พวกเขาจะกลับใช้กระบวนการความคิดอัตโนมัติที่สามารถจุดชนวนภาวะซึมเศร้า (depressive episode) อีก จุดมุ่งหมายของ MBCT ก็เพื่อจะระงับกระบวนการอัตโนมัติเหล่านี้และฝึกให้คนไข้มีปฏิกิริยาน้อยลงต่อสิ่งเร้าที่เข้ามา แล้วแทนที่ด้วยการยอมรับและสังเกตสิ่งเหล่านั้นโดยไม่ตัดสินความดีไม่ดี การฝึกสติเช่นนี้ทำให้สามารถสังเกตกระบวนการอัตโนมัติที่กำลังเกิดขึ้นแล้วเปลี่ยนปฏิกิริยาของตนให้เป็นความพินิจพิจารณา ซึ่งสมมุติกันว่า เป็นส่วนของ MBCT ที่เป็นเหตุของผลต่างที่ได้ทางคลินิก
นอกจากจะใช้ลดความรุนแรงของความซึมเศร้า ผลงานวิจัยยังสนับสนุนประสิทธิผลของการเจริญสติเพื่อลดความอยากสารที่บุคคลติด การติดเป็นกระบวนการที่ทำสมองส่วน prefrontal cortex (ตัวย่อ PFC) ให้อ่อนแอลง PFC ปกติจะช่วยระงับการหาความสุขในปัจจุบันเพื่อประโยชน์ในอนาคต การเจริญสติเป็นเวลา 2 อาทิตย์โดยใช้เวลาทั้งหมด 5 ชม. ช่วยคนสูบบุหรี่ให้ลดบุหรี่ได้ 60% และลดความอยาก แม้ในผู้สูบบุหรี่ที่ไม่ได้ตั้งใจเลิกบุหรี่มาตั้งแต่ต้น การสร้างภาพสมอง (Neuroimaging) ของผู้ฝึกเจริญสติพบการทำงานที่เพิ่มขึ้นใน PFC ซึ่งแสดงถึงการควบคุมตัวเองได้ดีกว่า
พื้นเพ
ในปี 1991 นักวิจัยชาวอังกฤษคู่หนึ่ง (Philip Barnard และ John D. Teasdale) ได้สร้างทฤษฎีเกี่ยวกับใจมีหลายระดับที่เรียกว่า “Interacting Cognitive Subsystems” (ICS) ที่อ้างว่า ใจมีรูปแบบ (mode) หลายอย่างที่มีหน้าที่รับและประมวลข้อมูลใหม่ ๆ ทั้งทางการรู้คิดและทางอารมณ์ ทฤษฎีนี้สัมพันธ์ความเสี่ยงต่อความซึมเศร้าของบุคคลกับระดับที่บุคคลใช้รูปแบบเดียวของใจ โดยระงับการทำงานแบบอื่น ๆ โดยไม่ได้ตั้งใจ
รูปแบบหลักสองอย่างของใจรวมทั้งแบบ "ทำ" และแบบ "เป็น" แบบ "ทำ" รู้จักอีกอย่างว่าแบบ "มีแรงจูงใจ" ซึ่งเป็นแบบที่สนใจในเป้าหมาย และจะทำงานเมื่อสิ่งที่ใจต้องการให้เป็นขัดแย้งกับเหตุการณ์จริง ๆ แบบที่สองคือแบบ "เป็น" ที่ไม่ได้สนใจการเข้าถึงเป้าหมาย แต่เน้นที่ "ยอมรับและปล่อยให้เป็นอย่างที่เป็น" โดยไม่กดดันที่จะเปลี่ยนสถานการณ์ในปัจจุบัน: 73
องค์ประกอบหลักของทฤษฎีนี้ก็คือ ความสำนึกถึงความคิด (metacognitive awareness) ซึ่งเป็นความสามารถประสบกับความคิดและความรู้สึกเชิงลบโดยเป็นเพียงเหตุการณ์ทางใจที่แค่ผ่านไป โดยไม่ใช่เป็นส่วนของบุคคลนั้น ๆ คนที่สำนึกถึงความคิดของตนเองสูงสามารถหลีกเลี่ยงความซึมเศร้าและรูปแบบความคิดเชิงลบได้ง่ายกว่าเมื่อเผชิญกับสถานการณ์เครียดในชีวิต เทียบกับบุคคลที่มีความสามารถนี้ต่ำกว่า การสำนึกถึงความคิดเห็นได้จากความสามารถของบุคคลที่จะไม่ยึดว่าเป็นตน (decenter) ซึ่งเป็นความสามารถรับรู้ความคิดและความรู้สึก ทั้งโดยความไม่เที่ยงและความเป็นเหตุการณ์ที่เป็นกลาง ๆ/เป็นปรวิสัยที่เกิดในใจ
ตามทฤษฎีนี้ สุขภาพจิตขึ้นอยู่กับความสามารถของบุคคลที่จะยุติรูปแบบการทำงานของจิต หรือที่จะเปลี่ยนจากรูปแบบหนึ่งไปยังอีกรูปแบบหนึ่ง ดังนั้น บุคคลที่สามารถเปลี่ยนรูปแบบใจอย่างยืดหยุ่นได้โดยขึ้นอยู่กับสถานการณ์สิ่งแวดล้อมจะมีสุขภาพจิตดีที่สุด ทฤษฎีนี้สมมุติว่า รูปแบบ "เป็น" จะเป็นรูปแบบที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ที่คงยืน ดังนั้น เพื่อป้องกันการเกิดความซึมเศร้าอีก การบำบัดทางประชานจะต้องโปรโหมตรูปแบบการทำงานนี้ของใจ ซึ่งนำไปสู่การพัฒนา MBCT ซึ่งโปรโหมตรูปแบบนี้
ยังมีบุคคลอื่นที่ช่วยสร้างวิธีการบำบัดนี้ (คือ Zindel Segal และ J. Mark G. Williams) และมีฐานส่วนหนึ่งจากโปรแกรมการลดความเครียดอาศัยสติ (mindfulness-based stress reduction ที่พัฒนาโดย Jon Kabat-Zinn) ทฤษฎีพื้นฐานของการแก้ปัญหาทางจิตวิทยาโดยอาศัยสติก็คือ การรู้สิ่งที่เป็นปัจจุบันโดยไม่เพ่งเรื่องในอดีตหรือในอนาคต ช่วยให้คนไข้สามารถรับมือตัวสร้างความเครียดในปัจจุบัน และกับความรู้สึกเป็นทุกข์ โดยมีใจที่สามารถยืดหยุ่นยอมรับได้ แทนที่จะหลีกเลี่ยง ซึ่งจะทำให้ปัญหายืนยาวขึ้น
การประยุกต์ใช้
โปรแกรม MBCT เป็นการแทรกแซงแบบทำเป็นกลุ่มมีระยะเวลา 8 อาทิตย์ โดยมีชั้นที่เข้าเรียนทุกอาทิตย์เป็นเวลา 2 ชม. และมีการเรียนทั้งวันครั้งหนึ่งหลังจากอาทิตย์ที่ 5 แต่ว่าการฝึกโดยมากทำนอกชั้นเรียน โดยฝึกอาศัยสื่อต่าง ๆ ช่วย และพยายามเจริญสติในชีวิตประจำวัน MBCT ให้ความสำคัญต่อการเรียนรู้ที่จะใส่ใจหรือตั้งสมาธิประกอบด้วยเป้าหมาย ในทุก ๆ ขณะ โดยสำคัญที่สุดว่าไม่ตัดสินดีชั่ว
โดยผ่านการฝึกสติ คนไข้สามารถเข้าใจได้ว่า การยึดติดกับความรู้สึกเหล่านี้ไม่ได้ผลและเป็นอันตรายต่อจิตใจ นอกจากนั้นแล้ว ยังมีแบบการสอนการเจริญสติกับผู้ให้การบำบัดเพื่อเป็นประโยชน์ในการบำบัดคนไข้: 18
MBCT เป็นโปรแกรมการแทรกแซงที่พัฒนาโดยเฉพาะเพื่อแก้ปัญหาความเสี่ยงต่อการเกิดความซึมเศร้าอีก โปรแกรมช่วยคนไข้ให้เรียนรู้ทักษะเพื่อบริหารใจที่นำไปสู่ความสำนึกถึงความคิดในระดับที่สูงขึ้น ยอมรับรูปแบบความคิดเชิงลบและตอบสนองต่อสิ่งเหล่านั้นได้อย่างเหมาะสม ในโปรแกรม คนไข้เรียนรู้ที่จะไม่ยึดติดความคิดและความรู้สึกเชิงลบว่าเป็นตน ช่วยให้ใจเปลี่ยนจากรูปแบบความคิดเชิงอัตโนมัติไปเป็นการประมวลอารมณ์ที่อยู่เหนือสำนึก (conscious emotional processing) MBCT สามารถใช้เป็นทางเลือกเพื่อดำรงสภาพ (maintenance) คนไข้แทนยาแก้ซึมเศร้า แม้ว่ามันอาจจะไม่มีประสิทธิผลที่ดีกว่า
การประเมินประสิทธิผล
แม้ว่า MBCT สามารใช้เป็นการรักษาทางเลือกหรือเพิ่มเติมสำหรับความซึมเศร้า ผลงานวิจัยแสดงว่า มีประสิทธิผลดีที่สุดในบุคคลที่มีประวัติคราวแสดงออกของโรคซึมเศร้าอย่างน้อย 3 ครั้งในอดีต ในบรรดาบุคคลเหล่านั้น บุคคลที่เกิดคราวซึมเศร้าจุดชนวนโดยเหตุการณ์ชีวิตยอมรับ MBCT ได้น้อยที่สุด ส่วนงานวิเคราะห์อภิมานปี 2559 พบว่า MBCT มีประสิทธิผลในการป้องกันการเกิดคราวซึมเศร้าอีกในคนไข้ โดยเฉพาะถ้ายิ่งมีอาการที่เหลืออยู่มาก
ผลงานวิจัยสนับสนุนว่า MBCT มีผลเพิ่มสติที่บุคคลแจ้งเอง (self-reported) ซึ่งแสดงว่า มีการสำนึกรู้ขณะปัจจุบัน การไม่ยึดว่าเป็นตน และการยอมรับมากขึ้น นอกเหนือไปจากการลดกระบวนการความคิดที่เป็นการปรับตัวผิด (maladaptive) เช่น การตัดสินดีชั่ว การไวปฏิกิริยา การครุ่นคิด และการห้ามความคิด
ดูเพิ่ม
- สติ (จิตวิทยา)
- กลไกทางประสาทของการเจริญสติ
- การทำงานในสมองกับการเข้าสมาธิ
- การบำบัดโดยการปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม
- โรคซึมเศร้า (major depressive disorder)
- คราวซึมเศร้า (major depressive episode)
- Acceptance and commitment therapy
- Dialectical behavior therapy
แหล่งข้อมูลอื่น
- Mindfulness-based cognitive therapy for depression: a new approach to preventing relapse, by Zindel V. Segal, J. Mark G. Williams, John D. Teasdale. Guilford Press, 2002. .
- Mindfulness: Finding Peace in a Frantic World by Professor Mark Williams & Dr Danny Penman" Rodale Books US (October 25, 2011). Piatkus UK (5 May 2011)
- Mindfulness-based treatment approaches: clinician's guide to evidence base and applications, by Ruth A. Baer. Academic Press, 2006. .
- Mindfulness-Based Cognitive Therapy for Anxious Children: A Manual for Treating Childhood Anxiety, by Randye Semple, Jennifer Lee. New Harbinger Pubns Inc, 2010. .
- Mindfulness Practice in the Treatment of Traumatic Stress, U.S. Department of Veterans Affairs.
- id=Mindfulnet.org The independent mindfulness information resourceInformation on MBCT., MBSR Research, applications and resources
- Your Guide to Mindfulness-Based Cognitive Therapy, MBCT.com
เชิงอรรถและอ้างอิง
- "therapy, behavior/behaviour cognitive; therapy, cognitive", ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑ ฉบับ ๒๕๔๕,
(แพทยศาสตร์) การบำบัดด้วยการรู้
- Piet, J.; Hougaard, E. (2011). "The Effect of Mindfulness-Based Cognitive Therapy for Prevention of Relapse in Recurrent Major Depressive Disorder: a Systematic Review and Meta-Analysis". Clinical Psychology Review. 31 (6): 1032–1040. doi:10.1016/j.cpr.2011.05.002.
- Hayes, Steven C.; Villatte, Matthieu; Levin, Michael; Hildebrandt, Mikaela (January 1, 2011). "Open, Aware, and Active: Contextual Approaches as an Emerging Trend in the Behavioral and Cognitive Therapies". Annual Review of Clinical Psychology. 7 (1): 141–168. doi:10.1146/annurev-clinpsy-032210-104449. PMID 21219193.
- Manicavasgar, V.; Parker, G.; Perich, T. (2011). "Mindfulness-Based Cognitive Therapy Vs. Cognitive Behaviour Therapy as a Treatment for Non-Melancholic Depression". Journal of Affective Disorders. 130 (1–2): 138–144. doi:10.1016/j.jad.2010.09.027.
- Hofmann, S. G.; Sawyer, A. T.; Fang, A. (2010). "The Empirical Status of the "New Wave" of Cognitive Behavioral Therapy". Psychiatric Clinics of North America. 33 (3): 701–710. doi:10.1016/j.psc.2010.04.006. PMC 2898899. PMID 20599141.
- Felder, J. N.; Dimidjian, S.; Segal, Z. (2012). "Collaboration in Mindfulness-Based Cognitive Therapy". Journal of Clinical Psychology. 68 (2): 179–186. doi:10.1002/jclp.21832.
- Merluzzi, A (January 2014). "Breaking Bad Habits".
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () (APS Observer. 27, 1.) - Herbert, James D; Forman, Evan M (2011). Acceptance and Mindfulness in Cognitive Behavior Therapy: Understanding and Applying New Theories. Hoboken: John Wiley & Sons.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - Segal, Z; Teasdale, J; Williams, M (2002). Mindfulness-Based Cognitive Therapy for Depression. New York: Guilford Press.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - Herbert, James D; Forman, Evan M. Acceptance and Mindfulness in Cognitive Behavior Therapy: Understanding and Applying New Theories. Hoboken: John Wiley & Sons. p. 62.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ June 11, 2016. สืบค้นเมื่อ June 11, 2016.
- Fulton, P; Germer, C; Siegel, R (2005). Mindfulness and Psychotherapy. New York: Guilford Press.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - Kuyken, Willem; Hayes, Rachel; Barrett, Barbara; Byng, Richard; Dalgleish, Tim; Kessler, David; Lewis, Glyn; Watkins, Edward; Brejcha, Claire. "Effectiveness and cost-effectiveness of mindfulness-based cognitive therapy compared with maintenance antidepressant treatment in the prevention of depressive relapse or recurrence (PREVENT) : a randomised controlled trial". The Lancet. 386 (9988): 63–73. doi:10.1016/s0140-6736(14)62222-4.
- Churchill, Rachel; Moore, Theresa HM; Furukawa, Toshi A; Caldwell, Deborah M; Davies, Philippa; Jones, Hannah; Shinohara, Kiyomi; Imai, Hissei; Lewis, Glyn (October 18, 2013). 'Third wave' cognitive and behavioural therapies versus treatment as usual for depression (ภาษาอังกฤษ). John Wiley & Sons. doi:10.1002/14651858.cd008705.pub2. ISSN 1465-1858.
- Kuyken, Willem; Warren, Fiona C.; Taylor, Rod S.; Whalley, Ben; Crane, Catherine; Bondolfi, Guido; Hayes, Rachel; Huijbers, Marloes; Ma, Helen; Schweizer, Susanne; Segal, Zindel; Speckens, Anne; Teasdale, John D.; Van Heeringen, Kees; Williams, Mark; Byford, Sarah; Byng, Richard; Dalgleish, Tim (April 27, 2016). "Efficacy of Mindfulness-Based Cognitive Therapy in Prevention of Depressive Relapse". JAMA Psychiatry. doi:10.1001/jamapsychiatry.2016.0076.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karbabddwykarruxasysti hrux karbabdkhwamkhidxasysti xngkvs Mindfulness based cognitive therapy twyx MBCT epnkarbabdthangcitwithyaxxkaebbephuximihekidkhwamsumesraxik odyechphaainbukhkhlthiepnorkhsumesra MDD epnkarbabdthimungorkh MDD odyechphaa sungthaihaetktangcakkarbabdthixasystixun echn karldkhwamekhriydxasysti mindfulness based stress reduction sungichidkbkhwamphidpktihlayxyang aelakarpxngknkarklbtidxikxasysti mindfulness based relapse prevention sungichinkartid MBCT ichethkhnikhkhxngkarbabdodykarprbepliynkhwamkhidaelaphvtikrrm CBT aelaephimklyuthththangcitwithyaihm echn sti aelakarecriysti mindfulness meditation aelaxaccarwmkarihkarsuksaaekkhnikheruxngkhwamsumesra karecriystimungthicasanukthungkhwamkhidaelakhwamrusukthnghmdaelwyxmrb odyimekhaipyudtidhruxmiptikiriyatxphwkmn sungepnkrabwnkar thiphasaxngkvseriykwa Decentering caaeplwa imyudwaepntn thichwyhyudkartitnexng karkhrunkhid aelaxarmnimdi thilwnxacekidkhunepnptikiriyatxrupaebbkhwamkhidthiimdi odyehmuxnkb CBT karbabdnixasythvsdiwa emuxbukhkhlthimiprawtisumesraekidkhwamthukkh phwkekhacaklbichkrabwnkarkhwamkhidxtonmtithisamarthcudchnwnphawasumesra depressive episode xik cudmunghmaykhxng MBCT kephuxcarangbkrabwnkarxtonmtiehlaniaelafukihkhnikhmiptikiriyanxylngtxsingerathiekhama aelwaethnthidwykaryxmrbaelasngektsingehlannodyimtdsinkhwamdiimdi karfukstiechnnithaihsamarthsngektkrabwnkarxtonmtithikalngekidkhunaelwepliynptikiriyakhxngtnihepnkhwamphinicphicarna sungsmmutiknwa epnswnkhxng MBCT thiepnehtukhxngphltangthiidthangkhlinik nxkcakcaichldkhwamrunaerngkhxngkhwamsumesra phlnganwicyyngsnbsnunprasiththiphlkhxngkarecriystiephuxldkhwamxyaksarthibukhkhltid kartidepnkrabwnkarthithasmxngswn prefrontal cortex twyx PFC ihxxnaexlng PFC pkticachwyrangbkarhakhwamsukhinpccubnephuxpraoychninxnakht karecriystiepnewla 2 xathityodyichewlathnghmd 5 chm chwykhnsubbuhriihldbuhriid 60 aelaldkhwamxyak aeminphusubbuhrithiimidtngicelikbuhrimatngaettn karsrangphaphsmxng Neuroimaging khxngphufukecriystiphbkarthanganthiephimkhunin PFC sungaesdngthungkarkhwbkhumtwexngiddikwaphunephinpi 1991 nkwicychawxngkvskhuhnung Philip Barnard aela John D Teasdale idsrangthvsdiekiywkbicmihlayradbthieriykwa Interacting Cognitive Subsystems ICS thixangwa icmirupaebb mode hlayxyangthimihnathirbaelapramwlkhxmulihm thngthangkarrukhidaelathangxarmn thvsdinismphnthkhwamesiyngtxkhwamsumesrakhxngbukhkhlkbradbthibukhkhlichrupaebbediywkhxngic odyrangbkarthanganaebbxun odyimidtngic rupaebbhlksxngxyangkhxngicrwmthngaebb tha aelaaebb epn aebb tha ruckxikxyangwaaebb miaerngcungic sungepnaebbthisnicinepahmay aelacathanganemuxsingthiictxngkarihepnkhdaeyngkbehtukarncring aebbthisxngkhuxaebb epn thiimidsnickarekhathungepahmay aetennthi yxmrbaelaplxyihepnxyangthiepn odyimkddnthicaepliynsthankarninpccubn 73 xngkhprakxbhlkkhxngthvsdinikkhux khwamsanukthungkhwamkhid metacognitive awareness sungepnkhwamsamarthprasbkbkhwamkhidaelakhwamrusukechinglbodyepnephiyngehtukarnthangicthiaekhphanip odyimichepnswnkhxngbukhkhlnn khnthisanukthungkhwamkhidkhxngtnexngsungsamarthhlikeliyngkhwamsumesraaelarupaebbkhwamkhidechinglbidngaykwaemuxephchiykbsthankarnekhriydinchiwit ethiybkbbukhkhlthimikhwamsamarthnitakwa karsanukthungkhwamkhidehnidcakkhwamsamarthkhxngbukhkhlthicaimyudwaepntn decenter sungepnkhwamsamarthrbrukhwamkhidaelakhwamrusuk thngodykhwamimethiyngaelakhwamepnehtukarnthiepnklang epnprwisythiekidinic tamthvsdini sukhphaphcitkhunxyukbkhwamsamarthkhxngbukhkhlthicayutirupaebbkarthangankhxngcit hruxthicaepliyncakrupaebbhnungipyngxikrupaebbhnung dngnn bukhkhlthisamarthepliynrupaebbicxyangyudhyunidodykhunxyukbsthankarnsingaewdlxmcamisukhphaphcitdithisud thvsdinismmutiwa rupaebb epn caepnrupaebbthinaipsukarepliynaeplngthangxarmnthikhngyun dngnn ephuxpxngknkarekidkhwamsumesraxik karbabdthangprachancatxngoprohmtrupaebbkarthangannikhxngic sungnaipsukarphthna MBCT sungoprohmtrupaebbni yngmibukhkhlxunthichwysrangwithikarbabdni khux Zindel Segal aela J Mark G Williams aelamithanswnhnungcakopraekrmkarldkhwamekhriydxasysti mindfulness based stress reduction thiphthnaody Jon Kabat Zinn thvsdiphunthankhxngkaraekpyhathangcitwithyaodyxasystikkhux karrusingthiepnpccubnodyimephngeruxnginxdithruxinxnakht chwyihkhnikhsamarthrbmuxtwsrangkhwamekhriydinpccubn aelakbkhwamrusukepnthukkh odymiicthisamarthyudhyunyxmrbid aethnthicahlikeliyng sungcathaihpyhayunyawkhunkarprayuktichopraekrm MBCT epnkaraethrkaesngaebbthaepnklummirayaewla 8 xathity odymichnthiekhaeriynthukxathityepnewla 2 chm aelamikareriynthngwnkhrnghnunghlngcakxathitythi 5 aetwakarfukodymakthanxkchneriyn odyfukxasysuxtang chwy aelaphyayamecriystiinchiwitpracawn MBCT ihkhwamsakhytxkareriynruthicaisichruxtngsmathiprakxbdwyepahmay inthuk khna odysakhythisudwaimtdsindichw odyphankarfuksti khnikhsamarthekhaicidwa karyudtidkbkhwamrusukehlaniimidphlaelaepnxntraytxcitic nxkcaknnaelw yngmiaebbkarsxnkarecriystikbphuihkarbabdephuxepnpraoychninkarbabdkhnikh 18 MBCT epnopraekrmkaraethrkaesngthiphthnaodyechphaaephuxaekpyhakhwamesiyngtxkarekidkhwamsumesraxik opraekrmchwykhnikhiheriynruthksaephuxbriharicthinaipsukhwamsanukthungkhwamkhidinradbthisungkhun yxmrbrupaebbkhwamkhidechinglbaelatxbsnxngtxsingehlannidxyangehmaasm inopraekrm khnikheriynruthicaimyudtidkhwamkhidaelakhwamrusukechinglbwaepntn chwyihicepliyncakrupaebbkhwamkhidechingxtonmtiipepnkarpramwlxarmnthixyuehnuxsanuk conscious emotional processing MBCT samarthichepnthangeluxkephuxdarngsphaph maintenance khnikhaethnyaaeksumesra aemwamnxaccaimmiprasiththiphlthidikwakarpraeminprasiththiphlaemwa MBCT samarichepnkarrksathangeluxkhruxephimetimsahrbkhwamsumesra phlnganwicyaesdngwa miprasiththiphldithisudinbukhkhlthimiprawtikhrawaesdngxxkkhxngorkhsumesraxyangnxy 3 khrnginxdit inbrrdabukhkhlehlann bukhkhlthiekidkhrawsumesracudchnwnodyehtukarnchiwityxmrb MBCT idnxythisud swnnganwiekhraahxphimanpi 2559 phbwa MBCT miprasiththiphlinkarpxngknkarekidkhrawsumesraxikinkhnikh odyechphaathayingmixakarthiehluxxyumak phlnganwicysnbsnunwa MBCT miphlephimstithibukhkhlaecngexng self reported sungaesdngwa mikarsanukrukhnapccubn karimyudwaepntn aelakaryxmrbmakkhun nxkehnuxipcakkarldkrabwnkarkhwamkhidthiepnkarprbtwphid maladaptive echn kartdsindichw kariwptikiriya karkhrunkhid aelakarhamkhwamkhidduephimsti citwithya klikthangprasathkhxngkarecriysti karthanganinsmxngkbkarekhasmathi karbabdodykarprbepliynkhwamkhidaelaphvtikrrm orkhsumesra major depressive disorder khrawsumesra major depressive episode Acceptance and commitment therapy Dialectical behavior therapyaehlngkhxmulxunMindfulness based cognitive therapy for depression a new approach to preventing relapse by Zindel V Segal J Mark G Williams John D Teasdale Guilford Press 2002 ISBN 1 57230 706 4 Mindfulness Finding Peace in a Frantic World by Professor Mark Williams amp Dr Danny Penman Rodale Books US October 25 2011 Piatkus UK 5 May 2011 Mindfulness based treatment approaches clinician s guide to evidence base and applications by Ruth A Baer Academic Press 2006 ISBN 0 12 088519 0 Mindfulness Based Cognitive Therapy for Anxious Children A Manual for Treating Childhood Anxiety by Randye Semple Jennifer Lee New Harbinger Pubns Inc 2010 ISBN 1 57224 719 3 Mindfulness Practice in the Treatment of Traumatic Stress U S Department of Veterans Affairs id Mindfulnet org The independent mindfulness information resourceInformation on MBCT MBSR Research applications and resources Your Guide to Mindfulness Based Cognitive Therapy MBCT comechingxrrthaelaxangxing therapy behavior behaviour cognitive therapy cognitive sphthbyytixngkvs ithy ithy xngkvs chbbrachbnthitysthan khxmphiwetxr run 1 1 chbb 2545 aephthysastr karbabddwykarru Piet J Hougaard E 2011 The Effect of Mindfulness Based Cognitive Therapy for Prevention of Relapse in Recurrent Major Depressive Disorder a Systematic Review and Meta Analysis Clinical Psychology Review 31 6 1032 1040 doi 10 1016 j cpr 2011 05 002 Hayes Steven C Villatte Matthieu Levin Michael Hildebrandt Mikaela January 1 2011 Open Aware and Active Contextual Approaches as an Emerging Trend in the Behavioral and Cognitive Therapies Annual Review of Clinical Psychology 7 1 141 168 doi 10 1146 annurev clinpsy 032210 104449 PMID 21219193 Manicavasgar V Parker G Perich T 2011 Mindfulness Based Cognitive Therapy Vs Cognitive Behaviour Therapy as a Treatment for Non Melancholic Depression Journal of Affective Disorders 130 1 2 138 144 doi 10 1016 j jad 2010 09 027 Hofmann S G Sawyer A T Fang A 2010 The Empirical Status of the New Wave of Cognitive Behavioral Therapy Psychiatric Clinics of North America 33 3 701 710 doi 10 1016 j psc 2010 04 006 PMC 2898899 PMID 20599141 Felder J N Dimidjian S Segal Z 2012 Collaboration in Mindfulness Based Cognitive Therapy Journal of Clinical Psychology 68 2 179 186 doi 10 1002 jclp 21832 Merluzzi A January 2014 Breaking Bad Habits a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a CS1 maint uses authors parameter APS Observer 27 1 Herbert James D Forman Evan M 2011 Acceptance and Mindfulness in Cognitive Behavior Therapy Understanding and Applying New Theories Hoboken John Wiley amp Sons a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint uses authors parameter Segal Z Teasdale J Williams M 2002 Mindfulness Based Cognitive Therapy for Depression New York Guilford Press a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint uses authors parameter Herbert James D Forman Evan M Acceptance and Mindfulness in Cognitive Behavior Therapy Understanding and Applying New Theories Hoboken John Wiley amp Sons p 62 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint uses authors parameter khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux June 11 2016 subkhnemux June 11 2016 Fulton P Germer C Siegel R 2005 Mindfulness and Psychotherapy New York Guilford Press a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint uses authors parameter Kuyken Willem Hayes Rachel Barrett Barbara Byng Richard Dalgleish Tim Kessler David Lewis Glyn Watkins Edward Brejcha Claire Effectiveness and cost effectiveness of mindfulness based cognitive therapy compared with maintenance antidepressant treatment in the prevention of depressive relapse or recurrence PREVENT a randomised controlled trial The Lancet 386 9988 63 73 doi 10 1016 s0140 6736 14 62222 4 Churchill Rachel Moore Theresa HM Furukawa Toshi A Caldwell Deborah M Davies Philippa Jones Hannah Shinohara Kiyomi Imai Hissei Lewis Glyn October 18 2013 Third wave cognitive and behavioural therapies versus treatment as usual for depression phasaxngkvs John Wiley amp Sons doi 10 1002 14651858 cd008705 pub2 ISSN 1465 1858 Kuyken Willem Warren Fiona C Taylor Rod S Whalley Ben Crane Catherine Bondolfi Guido Hayes Rachel Huijbers Marloes Ma Helen Schweizer Susanne Segal Zindel Speckens Anne Teasdale John D Van Heeringen Kees Williams Mark Byford Sarah Byng Richard Dalgleish Tim April 27 2016 Efficacy of Mindfulness Based Cognitive Therapy in Prevention of Depressive Relapse JAMA Psychiatry doi 10 1001 jamapsychiatry 2016 0076