บทความนี้ต้องการตรวจสอบความถูกต้องจากผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนั้น ๆ โปรดเพิ่มพารามิเตอร์ reason หรือ talk ลงในแม่แบบนี้เพื่ออธิบายปัญหาของบทความ |
ในสาขาชีวเคมี การกระตุ้น หรือ การก่อกัมมันต์ (อังกฤษ: Activation) ทั่วไปหมายถึงกระบวนการที่บางสิ่ง (เช่นโปรตีนหรือหน่วยรับเป็นต้น) ได้การจัดเตรียมหรือการกระตุ้นเพื่อทำปฏิกิริยาเคมีต่อ ๆ ไป
เคมี
ในสาขาเคมี การกระตุ้นหมายถึงการแปรสภาพที่ผันกลับได้ของโมเลกุลหนึ่ง ๆ ไปเป็นสารเคมีที่คล้าย ๆ กัน หรือไปมีสภาวะทางกายภาพที่คล้าย ๆ กันอีกอย่างหนึ่ง โดยมีลักษณะเฉพาะว่า สภาพที่เป็นผลนี้มีแนวโน้มที่จะเกิดปฏิกิริยาทางเคมีโดยเฉพาะ ๆ มากยิ่งขึ้น ดังนั้น การกระตุ้นจึงเป็นแนวคิดตรงข้ามกับ "protection" ซึ่งมีผลเป็นสภาพซึ่งมีแนวโน้มที่จะเกิดปฏิกิริยาทางเคมีโดยเฉพาะ ๆ น้อยลง
พลังงานก่อกัมมันต์ คือพลังงานที่จำเป็นเพื่อกระตุ้น/ก่อกัมมันต์อาจค่อนข้างน้อย ซึ่งบ่อยครั้งอาจได้จากความร้อนที่ขึ้น ๆ ลง ๆ โดยสุ่มตามธรรมชาติที่โมเลกุลนั้นเองมี (คือ ไม่ต้องได้พลังงานจากภายนอก)
สาขาทางเคมีที่ศึกษาประเด็นนี้เรียกว่า จลนพลศาสตร์เคมี (chemical kinetics)
ชีววิทยา
ชีวเคมี
ในสาขาชีวเคมี การกระตุ้น หรือที่เรียกโดยเฉพาะว่า การกระตุ้นทางชีวภาพ (bioactivation) เป็นสภาพที่เอนไซม์หรือโมเลกุลที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพอื่น ๆ เกิดได้สมรรถภาพเพื่อออกฤทธิ์ เช่น proenzyme ที่ไม่มีฤทธิ์ได้แปลงสภาพเป็นเอนไซม์ที่มีฤทธิ์เร่งปฏิกิริยาซับสเตรตของมันให้เปลี่ยนเป็นผลผลิต การกระตุ้นทางชีวภาพอาจหมายถึงกระบวนการที่ยา prodrug ที่ไม่มีฤทธิ์ ได้เปลี่ยนอาศัยเมแทบอลิซึมในร่างกายให้เป็นเมแทบอไลต์/คือยาที่มีฤทธิ์ เช่นการเปลี่ยน protoxin ที่ยังไม่มีฤทธิ์ให้เป็นสารที่มีพิษทางชีวภาพจริง ๆ ที่พบในกระบวนการแปรเป็นสารพิษ (toxication)
เอนไซม์อาจก่อกัมมันต์ทางชีวภาพได้ทั้งโดยแบบที่ผันกลับได้ (reversible) และผันกลับไม่ได้ (irreversible) กลไกหลักของการกระตุ้นทางชีวภาพที่ผันกลับไม่ได้ก็คือ การแยกโปรตีนส่วนหนึ่งออก (cleavage) กลายเป็นเอนไซม์ที่มีฤทธิ์ ส่วนกลไกหลักของการกระตุ้นทางชีวภาพที่ผันกลับได้ก็คือ โคแฟกเตอร์จะจับกับเอนไซม์ ซึ่งก็จะมีฤทธิ์ตราบเท่าที่ยังจับกันอยู่ และหยุดมีฤทธิ์เมื่อแยกออกจากกัน
ในกระบวนการสังเคราะห์โปรตีน ทีอาร์เอ็นเอ (tRNA) จะขนส่งกรดอะมิโนไปเติมให้กับโซ่โพลีเพปไทด์ที่กำลังยาวขึ้นบนไรโบโซม โดยก่อนที่จะถ่ายโอนกรดอะมิโนไปให้ไรโบโซม tRNA จะต้องสร้างพันธะโคเวเลนต์กับกรดอะมิโนด้วยปลายที่เป็น 3' CCA ซึ่งเร่งปฏิกิริยาโดย aminoacyl-tRNA synthetase และต้องใช้อะดีโนซีนไตรฟอสเฟต (ATP) โมเลกุลหนึ่ง กรดอะมิโนที่ยึดกับ tRNA เรียกว่า aminoacyl-tRNA และจัดเป็นโมเลกุลก่อกัมมันต์ในการแปลรหัสโปรตีน เมื่อมีสภาพก่อกัมมันต์แล้ว aminoacyl-tRNA ก็อาจถ่ายโอนไปยังไรโบโซม แล้วเติมกรดอะมิโนให้กับโซ่โพลีเพปไทด์ที่กำลังยาวขึ้น
วิทยาภูมิคุ้มกัน
ในสาขาวิทยาภูมิคุ้มกัน การกระตุ้นเป็นการแปรสภาพเม็ดเลือดขาวหรือเซลล์อื่น ๆ ที่มีบทบาทในระบบภูมิคุ้มกัน ในนัยกลับกัน การหยุดกระตุ้น (deactivation) หมายถึงการแปรสภาพในทางกลับกัน ดุลของกระบวนการสองอย่างนี้จะต้องควบคุมอย่างเข้ม เพราะการกระตุ้นน้อยเกินไปจะทำให้ติดเชื้อได้ง่าย และมากเกินไปก็จะเป็นเหตุของโรคภูมิต้านตนเอง การกระตุ้นและการหยุดกระตุ้นเป็นผลของปัจจัยหลายอย่าง รวมทั้ง cytokines, soluble receptors, arachidonic acid metabolites, สเตอรอยด์, receptor antagonists, adhesion molecules, ผลผลิตของแบคทีเรียและไวรัส
สรีรวิทยาไฟฟ้า
ในสาขาสรีรวิทยาไฟฟ้า (electrophysiology) การกระตุ้นหมายถึงการเปิดคือการแปรโครงรูป (conformational change) ของช่องไอออน ที่ทำให้ไอออนไหลผ่านช่องได้
เชิงอรรถและอ้างอิง
- "Activation", ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑ ฉบับ ๒๕๔๕,
(วิทยาศาสตร์) การก่อกัมมันต์
- "The Activation Energy of Chemical Reactions". Department of Chemistry, Purdue University.
- Park, SG; Schimmel, P; Kim, S (August 2008). "Aminoacyl tRNA synthetases and their connections to disease". Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America. 105 (32): 11043–9. doi:10.1073/pnas.0802862105. PMC 2516211. PMID 18682559.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter ()
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnitxngkartrwcsxbkhwamthuktxngcakphuechiywchayineruxngnn oprdephimpharamietxr reason hrux talk lnginaemaebbniephuxxthibaypyhakhxngbthkhwamemuxwangaethkni ihphicarnaechuxmoyngkhakhxnikbokhrngkarwiki insakhachiwekhmi karkratun hrux karkxkmmnt xngkvs Activation thwiphmaythungkrabwnkarthibangsing echnoprtinhruxhnwyrbepntn idkarcdetriymhruxkarkratunephuxthaptikiriyaekhmitx ipekhmiinsakhaekhmi karkratunhmaythungkaraeprsphaphthiphnklbidkhxngomelkulhnung ipepnsarekhmithikhlay kn hruxipmisphawathangkayphaphthikhlay knxikxyanghnung odymilksnaechphaawa sphaphthiepnphlnimiaenwonmthicaekidptikiriyathangekhmiodyechphaa makyingkhun dngnn karkratuncungepnaenwkhidtrngkhamkb protection sungmiphlepnsphaphsungmiaenwonmthicaekidptikiriyathangekhmiodyechphaa nxylng phlngngankxkmmnt khuxphlngnganthicaepnephuxkratun kxkmmntxackhxnkhangnxy sungbxykhrngxacidcakkhwamrxnthikhun lng odysumtamthrrmchatithiomelkulnnexngmi khux imtxngidphlngngancakphaynxk sakhathangekhmithisuksapraednnieriykwa clnphlsastrekhmi chemical kinetics chiwwithyachiwekhmi insakhachiwekhmi karkratun hruxthieriykodyechphaawa karkratunthangchiwphaph bioactivation epnsphaphthiexnismhruxomelkulthimivththithangchiwphaphxun ekididsmrrthphaphephuxxxkvththi echn proenzyme thiimmivththiidaeplngsphaphepnexnismthimivththierngptikiriyasbsetrtkhxngmnihepliynepnphlphlit karkratunthangchiwphaphxachmaythungkrabwnkarthiya prodrug thiimmivththi idepliynxasyemaethbxlisuminrangkayihepnemaethbxilt khuxyathimivththi echnkarepliyn protoxin thiyngimmivththiihepnsarthimiphisthangchiwphaphcring thiphbinkrabwnkaraeprepnsarphis toxication exnismxackxkmmntthangchiwphaphidthngodyaebbthiphnklbid reversible aelaphnklbimid irreversible klikhlkkhxngkarkratunthangchiwphaphthiphnklbimidkkhux karaeykoprtinswnhnungxxk cleavage klayepnexnismthimivththi swnklikhlkkhxngkarkratunthangchiwphaphthiphnklbidkkhux okhaefketxrcacbkbexnism sungkcamivththitrabethathiyngcbknxyu aelahyudmivththiemuxaeykxxkcakkn inkrabwnkarsngekhraahoprtin thixarexnex tRNA cakhnsngkrdxamionipetimihkbosophliephpithdthikalngyawkhunbnirobosm odykxnthicathayoxnkrdxamionipihirobosm tRNA catxngsrangphnthaokhewelntkbkrdxamiondwyplaythiepn 3 CCA sungerngptikiriyaody aminoacyl tRNA synthetase aelatxngichxadionsinitrfxseft ATP omelkulhnung krdxamionthiyudkb tRNA eriykwa aminoacyl tRNA aelacdepnomelkulkxkmmntinkaraeplrhsoprtin emuxmisphaphkxkmmntaelw aminoacyl tRNA kxacthayoxnipyngirobosm aelwetimkrdxamionihkbosophliephpithdthikalngyawkhun withyaphumikhumkn insakhawithyaphumikhumkn karkratunepnkaraeprsphaphemdeluxdkhawhruxesllxun thimibthbathinrabbphumikhumkn innyklbkn karhyudkratun deactivation hmaythungkaraeprsphaphinthangklbkn dulkhxngkrabwnkarsxngxyangnicatxngkhwbkhumxyangekhm ephraakarkratunnxyekinipcathaihtidechuxidngay aelamakekinipkcaepnehtukhxngorkhphumitantnexng karkratunaelakarhyudkratunepnphlkhxngpccyhlayxyang rwmthng cytokines soluble receptors arachidonic acid metabolites setxrxyd receptor antagonists adhesion molecules phlphlitkhxngaebkhthieriyaelaiwrssrirwithyaiffainsakhasrirwithyaiffa electrophysiology karkratunhmaythungkarepidkhuxkaraeprokhrngrup conformational change khxngchxngixxxn thithaihixxxnihlphanchxngidechingxrrthaelaxangxing Activation sphthbyytixngkvs ithy ithy xngkvs chbbrachbnthitysthan khxmphiwetxr run 1 1 chbb 2545 withyasastr karkxkmmnt The Activation Energy of Chemical Reactions Department of Chemistry Purdue University Park SG Schimmel P Kim S August 2008 Aminoacyl tRNA synthetases and their connections to disease Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America 105 32 11043 9 doi 10 1073 pnas 0802862105 PMC 2516211 PMID 18682559 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint uses authors parameter