กระโจมเรดาร์ (อังกฤษ: radar beacon, racon) หรือ กระโจมตอบเรดาร์ คือวัตถุตามมาตรา 1.103 ตามข้อบังคับวิทยุระหว่างประเทศ (ITU Radio Regulations: RR) ของสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ กำหนดให้เป็น เครื่องส่ง-เครื่องรับที่เกี่ยวข้องกับเครื่องหมายเดินเรือที่ติดตั้งประจำที่ ซึ่งหากถูกกระตุ้นด้วยเรดาร์ จะส่งสัญญาณปรากฏเป็นรูปแบบที่กำหนดออกมาโดยอัตโนมัติซึ่งปรากฏบนจอแสดงผลเรดาร์ ซึ่งจะให้ข้อมูลระยะ ทิศทาง และข้อมูลตัวตน" โดยแต่ละสถานี (เครื่องส่ง-เครื่องรับ เครื่องรับสัญญาณ หรือเครื่องรับส่งสัญญาณ) โดยจะจำแนกตามการให้บริการว่าเป็นบริการแบบถาวรหรือชั่วคราว
หลักการทำงาน
เมื่อกระโจมเรดาร์ได้รับพัลส์เรดาร์ ระบบจะตอบสนองด้วยสัญญาณบนความถี่เดียวกันกับเรดาร์ คือความถี่ 9 และ 3 กิกะเฮิร์ตซ์ ทำให้เกิดภาพบนหน้าจอเรดาร์ ในรูปแบบของจุดและขีดซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของรหัสมอร์สแผ่ออกมาจากที่ตั้งของกระโจมเรดาร์บนหน้าจอตำแหน่งของเป้าหมายในแนวระนาบ (Plan position indicator) โดยความยาวของเส้นจะสอดคล้องกับระยะทางประมาณสองสามไมล์ทะเลบนจอแสดงผล
คุณสมบัติเหล่านี้ได้รับการกำหนดไว้ใน ข้อเสนอแนะของ ITU-R M.824 พารามิเตอร์ทางเทคนิคของกระโจมเรดาร์ (เรคอนส์) (ITU-R Recommendation M.824, Technical Parameters of Radar Beacons (RACONS)) โดยปกติกระโจมเรดาร์จะทำงานบนย่านเรดาร์ทางทะเล (X-band) ความถี่ 9320 MHz ถึง 9500 MHz และย่านเรดาร์ทางทะเล (S-band) ความถี่ 2920 MHz ถึง 3100 MHz ในขณะที่กระโจมเรดาร์รุ่นใหม่มีความอ่อนตัวด้านความถี่ โดยมีตัวรับสัญญาณความถี่กว้างที่สามารถตรวจจับพัลส์เรดาร์ที่เข้ามา แล้วตอบสนองต่อสัญญาณดังกล่าวแล้วตอบสนองด้วยสัญญาณความยาว 25 ไมโครวินาที ภายใน 700 นาโนวินาที
กระโจมเรดาร์แบบเก่าทำงานในโหมดกวาดช้า โดยที่เครื่องรังส่งเรดาร์จะกวาดผ่านย่านเอกซ์แบนด์ในช่วง 1 หรือ 2 นาที โดยมันจะตอบสนองก็ต่อเมื่อมีการปรับคลื่นความถี่สัญญาณเรดาร์ในขาเข้าตรงกับขณะที่การกวาดสัญญาณมาถึง ซึ่งในทางปฏิบัติแปลว่ามันจะตอบสนองต่อสัญญาณเรดาร์เพียงประมาณ 5 เปอร์เซ็นต์เท่านั้นจากเวลาทั้งหมดที่มันกวาด
เพื่อหลีกเลี่ยงการตอบสนองต่อสัญญาณหลังจากการผ่านหลังกระโจมไปแล้ว กระโจมเรดาร์จะทำงานเพียงบางเวลาเท่านั้น ในสหราชอาณาจักร มี (duty cycle) เพียง 30 เปอร์เซ็นต์เท่านั้นที่ถูกใช้งาน — โดยปกติแล้วกระโจมเรดาร์จะใช้เวลา 20 วินาทีในการตอบสนองต่อสัญญาณเรดาร์ ตามมาด้วยระยะเวลา 40 วินาทีหลังที่ไม่มีการตอบสนอง หรือในบางครั้งตอบสนองเพียง 9 วินาที และไม่ตอบสนองอีก 21 วินาที (อย่างในกรณีเรือไฟเซเว่นสโตน) ในสหรัฐ มีการใช้งานดิวตี่ไซเคิลที่ยาวนานกว่า โดย 50 เปอร์เซ็นต์ สำหรับทุ่นที่ใช้พลังงานจากแบตเตอรี่ (เปิด 20 วินาที ปิด 20 วินาที) และ 75 เปอร์เซ็นต์สำหรับกระโจมบนฝั่ง
เครื่องหมายด้วยเรดาร์ หรือ เรมาร์ค (Ramarks) คือกระโจมย่านความถี่กว้างที่ส่งสัญญาณอย่างต่อเนื่องบนย่านความถี่เรดาร์โดยไม่ต้องมีการกระตุ้นโดยสัญญาณเรดาร์ที่ส่งเข้ามาแบบกระโจมเรดาร์แบบเดิม การส่งสัญญาณจะสร้างเส้นอักขระของรหัสมอร์สขึ้นมาบนหน้าจอแสดงผลที่แผ่ออกจากกึ่งกลางของจอไปยังขอบของหน้าจอ
เรคอนที่ตอบสนองไวต่อความถี่
กระโจมเรดาร์ที่ตอบสนองไวต่อความถี่ (Frequency - agile Racon) จะตอบรับกับความถี่วิทยุที่สามารถรับได้และตอบกลับไปในรูปแบบของการ "ป้ายสีซ้ำ" ในทุกครั้งของการกวาดคลื่นสัญญาณ โดยการตอบสนองไวมีวัตถุประสงค์เพื่อให้สัญญาณตอบกลับไปยังเรดาร์ที่อยู่ในความถี่นั้น ๆ ซึ่งเพื่อป้องกันปัญหาการเกิดการบดบัง (Masking) ในรูปลักษณ์อื่น ๆ บนจอเรดาร์ การตอบโต้กลับไปโดยปกติจึงตั้งเป็นวงรอบเปิดและปิดสลับกันไป
คุณลักษณะของสัญญาณ
กระโจมเรดาร์จะทำงานที่ความถี่ 9 กิกะเฮิรตซ์ ด้วยกระบวนการโพลาไรเซชันในแนวราบ และ/หรือ ย่านความถี่ 3 กิกะเฮิรตซ์ด้วยการโพลาไรเซชันในแนวราบ และสามารถเลือกให้เป็นในแนวดิ่งได้เช่นกัน
ตารางเปรียบเทียบคำเรียกและคำอธิบายความถี่ในการทำงานของกระโจมเรดาร์
คำที่ใช้เรียก | การเรียก/เขียนแบบอื่น | ||
---|---|---|---|
9 GHz | 9300 - 9500 MHz | X - Band | 3 cm |
3 GHz | 2900 - 3100 MHz | S - Band | 10 cm |
การประยุกต์ใช้
โดยทั่วไป กระโจมเรดาร์ถือเป็นอุปกรณ์เสริมจากเครื่องหมายทางเรือที่มีการติดตั้งไฟนำอยู่ในตัวเอง โดยที่กระโจมเรดาร์สามารถนำมาใช้ในการ
- ใช้ในการวัดระยะและพิสูจน์ทราบตำบลที่ตั้งในสภาวะน้ำแข็งหรือชายฝั่งที่ไม่มีที่หมายชัดเจน
- ใช้ในการพิสูจน์ทราบเครื่องหมายทางเรือที่ตั้งอยู่ในทะเลและบนฝั่ง
- ใช้ในการหมายรู้การเข้าสู่ฝั่ง (Landfall)
- ใช้ในการแสดงศูนย์กลางและจุดหันเลี้ยวในพื้นที่ที่ต้องใช้ความระวังสูงในการเดินเรือ หรือแผนแบ่งแนวจราจร (TSS)
- ใช้ในการทำเครื่องหมายที่อันตราย
- ใช้ในการแสดงช่วงความกว้างใต้สะพานที่ใช้ในการเดินเรือผ่าน
- ใช้ในการแสดงเครื่องหมายรู้ในแนวนำ
ดูเพิ่ม
- เครื่องทวนสัญญาณเพื่อการค้นหาและช่วยเหลือผ่านระบบระบุบ่งชี้อัตโนมัติ (AIS-SART)
- (EPIRB)
- วิทยุทางทะเล ย่านความถี่วีเอชเอฟ
- สถานีวิทยุ
- กิจการวิทยุคมนาคม
- (Search and Rescue Transponder: SART)
อ้างอิง
- คู่มือปฏิบัติการสร้างแผนที่เดินเรือ กองสร้างแผนที่ กรมอุทกศาสตร์ (PDF). กรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ.
- คู่มือเครื่องหมายทางเรือ (PDF). กรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ. 2560. p. 113.
- ITU Radio Regulations, Section IV. Radio Stations and Systems – Article 1.103, definition: radar beacon (racon)
- International Telecommunication Union (ITU)
- US Coast Guard website page
แหล่งข้อมูลอื่น
racon
- IALA website
- EfficienSea project website
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
kraocmerdar xngkvs radar beacon racon hrux kraocmtxberdar khuxwtthutammatra 1 103 tamkhxbngkhbwithyurahwangpraeths ITU Radio Regulations RR khxngshphaphothrkhmnakhmrahwangpraeths kahndihepn ekhruxngsng ekhruxngrbthiekiywkhxngkbekhruxnghmayedineruxthitidtngpracathi sunghakthukkratundwyerdar casngsyyanpraktepnrupaebbthikahndxxkmaodyxtonmtisungpraktbncxaesdngphlerdar sungcaihkhxmulraya thisthang aelakhxmultwtn odyaetlasthani ekhruxngsng ekhruxngrb ekhruxngrbsyyan hruxekhruxngrbsngsyyan odycacaaenktamkarihbrikarwaepnbrikaraebbthawrhruxchwkhrawsyyancakkraocmtxberdarbnhnacxerdar syyancakkraocmnisngtwxksr Q inrhsmxrsiklkbthaeruxbxstn nahnt emuxwnthi 17 mkrakhm ph s 2528hlkkarthanganemuxkraocmerdaridrbphlserdar rabbcatxbsnxngdwysyyanbnkhwamthiediywknkberdar khuxkhwamthi 9 aela 3 kikaehirts thaihekidphaphbnhnacxerdar inrupaebbkhxngcudaelakhidsungepnsylksnkhxngrhsmxrsaephxxkmacakthitngkhxngkraocmerdarbnhnacxtaaehnngkhxngepahmayinaenwranab Plan position indicator odykhwamyawkhxngesncasxdkhlxngkbrayathangpramansxngsamimlthaelbncxaesdngphl khunsmbtiehlaniidrbkarkahndiwin khxesnxaenakhxng ITU R M 824 pharamietxrthangethkhnikhkhxngkraocmerdar erkhxns ITU R Recommendation M 824 Technical Parameters of Radar Beacons RACONS odypktikraocmerdarcathanganbnyanerdarthangthael X band khwamthi 9320 MHz thung 9500 MHz aelayanerdarthangthael S band khwamthi 2920 MHz thung 3100 MHz inkhnathikraocmerdarrunihmmikhwamxxntwdankhwamthi odymitwrbsyyankhwamthikwangthisamarthtrwccbphlserdarthiekhama aelwtxbsnxngtxsyyandngklawaelwtxbsnxngdwysyyankhwamyaw 25 imokhrwinathi phayin 700 naonwinathichangethkhnikhkhxngyamfngshrthkalngetriymkraocmerdarsahrbtidtng n ofwiy rxkhs ilth thangtawnxxkechiyngitkhxngimaexmi kraocmerdaraebbekathanganinohmdkwadcha odythiekhruxngrngsngerdarcakwadphanyanexksaebndinchwng 1 hrux 2 nathi odymncatxbsnxngktxemuxmikarprbkhlunkhwamthisyyanerdarinkhaekhatrngkbkhnathikarkwadsyyanmathung sunginthangptibtiaeplwamncatxbsnxngtxsyyanerdarephiyngpraman 5 epxresntethanncakewlathnghmdthimnkwad ephuxhlikeliyngkartxbsnxngtxsyyanhlngcakkarphanhlngkraocmipaelw kraocmerdarcathanganephiyngbangewlaethann inshrachxanackr mi duty cycle ephiyng 30 epxresntethannthithukichngan odypktiaelwkraocmerdarcaichewla 20 winathiinkartxbsnxngtxsyyanerdar tammadwyrayaewla 40 winathihlngthiimmikartxbsnxng hruxinbangkhrngtxbsnxngephiyng 9 winathi aelaimtxbsnxngxik 21 winathi xyanginkrnieruxifesewnsotn inshrth mikarichngandiwtiisekhilthiyawnankwa ody 50 epxresnt sahrbthunthiichphlngngancakaebtetxri epid 20 winathi pid 20 winathi aela 75 epxresntsahrbkraocmbnfng ekhruxnghmaydwyerdar hrux ermarkh Ramarks khuxkraocmyankhwamthikwangthisngsyyanxyangtxenuxngbnyankhwamthierdarodyimtxngmikarkratunodysyyanerdarthisngekhamaaebbkraocmerdaraebbedim karsngsyyancasrangesnxkkhrakhxngrhsmxrskhunmabnhnacxaesdngphlthiaephxxkcakkungklangkhxngcxipyngkhxbkhxnghnacxerkhxnthitxbsnxngiwtxkhwamthikraocmerdarthitxbsnxngiwtxkhwamthi Frequency agile Racon catxbrbkbkhwamthiwithyuthisamarthrbidaelatxbklbipinrupaebbkhxngkar paysisa inthukkhrngkhxngkarkwadkhlunsyyan odykartxbsnxngiwmiwtthuprasngkhephuxihsyyantxbklbipyngerdarthixyuinkhwamthinn sungephuxpxngknpyhakarekidkarbdbng Masking inruplksnxun bncxerdar kartxbotklbipodypkticungtngepnwngrxbepidaelapidslbknip khunlksnakhxngsyyan kraocmerdarcathanganthikhwamthi 9 kikaehirts dwykrabwnkarophlaireschninaenwrab aela hrux yankhwamthi 3 kikaehirtsdwykarophlaireschninaenwrab aelasamartheluxkihepninaenwdingidechnkn tarangepriybethiybkhaeriykaelakhaxthibaykhwamthiinkarthangankhxngkraocmerdar khathiicheriyk kareriyk ekhiynaebbxun9 GHz 9300 9500 MHz X Band 3 cm3 GHz 2900 3100 MHz S Band 10 cmkarprayuktichodythwip kraocmerdarthuxepnxupkrnesrimcakekhruxnghmaythangeruxthimikartidtngifnaxyuintwexng odythikraocmerdarsamarthnamaichinkar ichinkarwdrayaaelaphisucnthrabtablthitnginsphawanaaekhnghruxchayfngthiimmithihmaychdecn ichinkarphisucnthrabekhruxnghmaythangeruxthitngxyuinthaelaelabnfng ichinkarhmayrukarekhasufng Landfall ichinkaraesdngsunyklangaelacudhneliywinphunthithitxngichkhwamrawngsunginkaredinerux hruxaephnaebngaenwcracr TSS ichinkarthaekhruxnghmaythixntray ichinkaraesdngchwngkhwamkwangitsaphanthiichinkaredineruxphan ichinkaraesdngekhruxnghmayruinaenwnaduephimsthaniyxyphumisastrekhruxngthwnsyyanephuxkarkhnhaaelachwyehluxphanrabbrabubngchixtonmti AIS SART EPIRB withyuthangthael yankhwamthiwiexchexf sthaniwithyu kickarwithyukhmnakhm Search and Rescue Transponder SART xangxingkhumuxptibtikarsrangaephnthiedinerux kxngsrangaephnthi krmxuthksastr PDF krmxuthksastr kxngthpherux khumuxekhruxnghmaythangerux PDF krmxuthksastr kxngthpherux 2560 p 113 ITU Radio Regulations Section IV Radio Stations and Systems Article 1 103 definition radar beacon racon International Telecommunication Union ITU US Coast Guard website pageaehlngkhxmulxunwikiphcnanukrm wikiphcnanukrm mikhwamhmaykhxngkhawa racon IALA website EfficienSea project website