กระเจี๊ยบ | |
---|---|
ต้นและฝักกระเจี๊ยบที่กำลังเจริญเติบโตในฮ่องกง | |
ฝักกระเจี๊ยบผ่าตามยาว | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Plantae |
ไม่ได้จัดลำดับ: | Angiosperms |
ไม่ได้จัดลำดับ: | Eudicots |
ไม่ได้จัดลำดับ: | Rosids |
อันดับ: | Malvales |
วงศ์: | Malvaceae |
สกุล: | |
สปีชีส์: | A. esculentus |
ชื่อทวินาม | |
Abelmoschus esculentus (L.) | |
ผลผลิตกระเจี๊ยบทั่วโลก | |
ชื่อพ้อง | |
|
กระเจี๊ยบ เป็นพืชล้มลุกอายุหลายปี เจริญเติบโตได้ดีในเขตอากาศกึ่งร้อน คือมีอุณหภูมิระหว่าง 18–35 องศาโดยประมาณ เป็นพืชที่สามารถนำมาเป็นสมุนไพรได้ เพราะมีสรรพคุณทางยาที่ช่วยรักษาเกี่ยวกับโรคกระเพาะอาหาร
ในประเทศอินเดียเรียกกระเจี๊ยบว่า ภิณฑี (ฮินดี: भिण्डी) ส่วนประเทศในตะวันออกกลางเรียกว่า บามียะฮ์ (อาหรับ: بامية) ส่วนในประเทศไทยนั้นเรียกแตกต่างกันไปตามภูมิภาค ภาคกลางเรียกกระเจี๊ยบเขียว กระเจี๊ยบมอญ มะเขือทวาย มะเขือมอญ ภาคเหนือเรียกมะเขือพม่า มะเขือมื่น มะเขือมอญ มะเขือละโว้ มะเขือลื่น ถิ่นกำเนิดของกระเจี๊ยบยังเป็นที่ถกเถียงระหว่างบริเวณแอฟริกาตะวันตก, เอธิโอเปีย และเอเชียใต้
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ตามลำต้นกระเจี๊ยบมีขนหยาบและมีความสูงประมาณ 1–2 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยว คล้ายฝ่ามือเรียงสลับกัน และมีขนหยาบ ดอกมีสีเหลือง ที่โคนกลีบด้านในมีสีม่วงออกแดง ออกตามซอกใบ ก้านชูเรณูรวมกันเป็นลักษณะคล้ายหลอด ฝักคล้ายนิ้วมือผู้หญิง ตามฝักมีขนอ่อน ๆ ทั่วฝัก มีสันเป็นเหลี่ยมตามยาว 5 เหลี่ยม ฝักกระเจี๊ยบมีทรงยาวสีเขียว ฝักอ่อนมีรสชาติหวาน กรอบอร่อย ส่วนฝักแก่จะมีเนื้อเหนียว
แหล่งเพาะปลูก
ในประเทศไทยนั้นพื้นที่ที่มีการปลูกกระเจี๊ยบมากส่วนใหญ่อยู่ในภาคกลาง มีหลายจังหวัด ได้แก่ นครปฐม ปทุมธานี นนทบุรี สุพรรณบุรี สมุทรสาคร พิจิตร กาญจนบุรี ราชบุรี ระยอง และนครนายก
การใช้ประโยชน์
ชาวมอญนิยมใช้กระเจี๊ยบทำแกงส้ม ในอินเดียนำไปทำอาหารได้หลายชนิด เช่น แกงกระเจี๊ยบ ผัดกระเจี๊ยบใส่เครื่องเทศ เมือกในกระเจี๊ยบเป็นสารประเภท (gum) และเพกทิน เมล็ดแก่นำไปทำเมล็ดกาแฟเทียมโดยนำไปคั่ว บดแล้วนำมาชงแทนกาแฟ นิยมดื่มในชาวอเมริกันเชื้อสายแอฟริกาที่อยู่ทางตอนใต้ของสหรัฐ ทางตะวันออกกลางนำไปแต่งกลิ่นกาแฟ
สรรพคุณทางยา
กระเจี๊ยบเป็นพืชที่มีคุณสมบัติในการช่วยรักษาโรคกระเพาะอาหารและลำไส้ เพราะในฝักกระเจี๊ยบนั้นมีสารเมือกพวกเพกทิน, เมือก (mucilage) ซึ่งเกิดจากสารประกอบ acetylated acidic polysaccharide และ (galactulonic acid) และกัมช่วยเคลือบแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้ไม่ให้ลุกลาม รักษาความดันให้เป็นปกติ เป็นยาบำรุงสมอง มีสรรพคุณเป็นยาระบาย
อ้างอิง
- กรมส่งเสริมการเกษตร 2009-08-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- กระเจี๊ยบเขียว แห่งรสชาติและคุณค่า
- แหล่งข้อมูลกระเจี๊ยบเขียว 2009-06-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-02-07. สืบค้นเมื่อ 3 October 2014.
- ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 25.
- นิดดา หงษ์วิวัฒน์. กระเจี๊ยบเขียว กระเจี๊ยบมอญ. ครัว. ปีที่ 18 ฉบับที่ 200 สิงหาคม 2554 หน้า 18 - 26
- สมุนไพรรักษาโรคกระเพาะ
- (คมชัดลึก)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
kraeciybtnaelafkkraeciybthikalngecriyetibotinhxngkngfkkraeciybphatamyawkarcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Plantaeimidcdladb Angiospermsimidcdladb Eudicotsimidcdladb Rosidsxndb Malvaleswngs Malvaceaeskul spichis A esculentuschuxthwinamAbelmoschus esculentus L phlphlitkraeciybthwolkchuxphxngAbelmoschus bammia Webb Abelmoschus longifolius Willd Kostel Abelmoschus officinalis DC Endl Abelmoschus praecox Sickenb Abelmoschus tuberculatus Pal amp Singh Hibiscus esculentus L Hibiscus hispidissimus A Chev nom illeg Hibiscus longifolius Willd Hibiscus praecox Forssk kraeciyb epnphuchlmlukxayuhlaypi ecriyetibotiddiinekhtxakaskungrxn khuxmixunhphumirahwang 18 35 xngsaodypraman epnphuchthisamarthnamaepnsmuniphrid ephraamisrrphkhunthangyathichwyrksaekiywkborkhkraephaaxahar inpraethsxinediyeriykkraeciybwa phinthi hindi भ ण ड swnpraethsintawnxxkklangeriykwa bamiyah xahrb بامية swninpraethsithynneriykaetktangkniptamphumiphakh phakhklangeriykkraeciybekhiyw kraeciybmxy maekhuxthway maekhuxmxy phakhehnuxeriykmaekhuxphma maekhuxmun maekhuxmxy maekhuxlaow maekhuxlun thinkaenidkhxngkraeciybyngepnthithkethiyngrahwangbriewnaexfrikatawntk exthioxepiy aelaexechiyitlksnathangphvkssastrtamlatnkraeciybmikhnhyabaelamikhwamsungpraman 1 2 emtr ibepnibediyw khlayfamuxeriyngslbkn aelamikhnhyab dxkmisiehluxng thiokhnklibdaninmisimwngxxkaedng xxktamsxkib kanchuernurwmknepnlksnakhlayhlxd fkkhlayniwmuxphuhying tamfkmikhnxxn thwfk misnepnehliymtamyaw 5 ehliym fkkraeciybmithrngyawsiekhiyw fkxxnmirschatihwan krxbxrxy swnfkaekcamienuxehniywaehlngephaaplukinpraethsithynnphunthithimikarplukkraeciybmakswnihyxyuinphakhklang mihlaycnghwd idaek nkhrpthm pthumthani nnthburi suphrrnburi smuthrsakhr phicitr kaycnburi rachburi rayxng aelankhrnaykkarichpraoychnchawmxyniymichkraeciybthaaekngsm inxinediynaipthaxaharidhlaychnid echn aekngkraeciyb phdkraeciybisekhruxngeths emuxkinkraeciybepnsarpraephth gum aelaephkthin emldaeknaipthaemldkaaefethiymodynaipkhw bdaelwnamachngaethnkaaef niymduminchawxemriknechuxsayaexfrikathixyuthangtxnitkhxngshrth thangtawnxxkklangnaipaetngklinkaaef srrphkhunthangya kraeciybepnphuchthimikhunsmbtiinkarchwyrksaorkhkraephaaxaharaelalais ephraainfkkraeciybnnmisaremuxkphwkephkthin emuxk mucilage sungekidcaksarprakxb acetylated acidic polysaccharide aela galactulonic acid aelakmchwyekhluxbaephlinkraephaaxaharaelalaisimihluklam rksakhwamdnihepnpkti epnyabarungsmxng misrrphkhunepnyarabayxangxingkrmsngesrimkarekstr 2009 08 13 thi ewyaebkaemchchin kraeciybekhiyw aehngrschatiaelakhunkha aehlngkhxmulkraeciybekhiyw 2009 06 07 thi ewyaebkaemchchin khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2019 02 07 subkhnemux 3 October 2014 rachbnthitysthan phcnanukrm chbbrachbnthitysthan ph s 2554 echlimphraekiyrtiphrabathsmedcphraecaxyuhw enuxnginoxkasphrarachphithimhamngkhlechlimphrachnmphrrsa 7 rxb 5 thnwakhm 2554 krungethph rachbnthitysthan 2556 hna 25 nidda hngswiwthn kraeciybekhiyw kraeciybmxy khrw pithi 18 chbbthi 200 singhakhm 2554 hna 18 26 smuniphrrksaorkhkraephaa khmchdluk